The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทศกาล ประเพณี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เทศกาล ประเพณี

เทศกาล ประเพณี

Keywords: E-book,ประเพณี





คานา

รายงานเล่มน้ีจัดทาข้ึนเพ่ือให้ความรู้เก่ียวกับความเป็นมาเทศกาล/ประเพณี ซึ่งเป็นประเพณีประจา
ทอ้ งถนิ่ ของชาวจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประเพณีเก่าแก่ที่สืบทอดมาแต่โบราณ ว่าเกิดเหตุการณ์ใดขึ้นบ้าง ซ่ึง
ขอ้ มลู ทีผ่ ู้จดั ทานามาเผยแพร่นี้เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของประเพณีท้องถ่ิน ซึ่งมีเพียงแห่งเดียวในประเทศ
ไทย รวมไปถึงพธิ กี รรม ชว่ งเวลาในการจดั ประเพณี มีเหตกุ ารณต์ ่างๆท่ีเกิดข้นึ มาอย่างยาวนาน

สุดท้ายนี้ ขอบขอบคณุ ผูอ้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางพลี
จังหวดั สมทุ รปราการ และผเู้ ก่ียวข้อง ผู้ประสานงานซ่ึงส่งเสริมการฏิบัติงานให้ลุล่วงไปด้วยดี หากมีข้อผิดพลาด
ประการใด ขออภัยไว้ ณ ที่นี้

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบางพลี



สารบัญ

คานา............................................................................................................................................................ก
สารบญั .........................................................................................................................................................ข

ประเพณีรับบวั ของชาวอาเภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ .................................................................................1
ประวตั คิ วามเป็ นมาของประเพณีรับบวั ........................................................................................................1
ความสาคญั ...........................................................................................................................................3
พธิ ีกรรม ................................................................................................................................................3
สาระเสริ ม.............................................................................................................................................. 5
ช่วงเวลา ................................................................................................................................................ 6
ประวตั คิ วามเป็ นมาของหลวงพอ่ โต.............................................................................................................6
ความศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ........................................................................................................................................6

ประเพณีนมสั การหลวงพอ่ ปาน ......................................................................................................................8
ความสาคญั ...........................................................................................................................................8
ชว่ งเวลา................................................................................................................................................8
พธิ ีกรรม ................................................................................................................................................9

ประเพณีสงกรานต์พระประแดง.................................................................................................................... 10
ประวตั คิ วามเป็นมาประเพณีสงกรานต์พระประแดง ..................................................................................... 10
พธิ ีกรรม .............................................................................................................................................. 11

ประเพณีแห่ปลาของชาวพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ ............................................................................... 14
ความสาคญั ......................................................................................................................................... 14
ชว่ งเวลา.............................................................................................................................................. 15
สาระเสริม............................................................................................................................................ 15

ประเพณีแหผ่ ้าห่มองคพ์ ระสมทุ รเจดยี ์ (งานนมสั การองคพ์ ระสมทุ รเจดีย์) จงั หวดั สมทุ รปราการ ................................ 16
ความสาคญั ......................................................................................................................................... 16
ชว่ งเวลา.............................................................................................................................................. 16
พธิ ีกรรม .............................................................................................................................................. 17



ประเพณีการสง่ ข้าวสงกรานต์ จงั หวดั สมทุ รปราการ ........................................................................................ 18
ความสาคญั ......................................................................................................................................... 18
ชว่ งเวลา.............................................................................................................................................. 18
พธิ ีกรรม .............................................................................................................................................. 18

ประเพณีแขง่ เรือหน้าเมืองพระประแดง .......................................................................................................... 20
ความสาคญั ......................................................................................................................................... 20
ความเป็ นมาของการแขง่ เรือ .................................................................................................................... 20
พธิ ีกรรม .............................................................................................................................................. 21
สาระเสริม............................................................................................................................................ 21

บรรณานกุ รม .................................................................................................................................................ค

สารบญั

1

ประเพณรี ับบัวของชาวอาเภอบางพลี จังหวัดสมทุ รปราการ

ประวัตคิ วามเปน็ มาของประเพณีรับบวั

ประเพณีรับบัว วัดบางพลีใหญ่ใน เป็นประเพณีประจาท้องถิ่นของชาวอาเภอบางพลีจังหวัด
สมุทรปราการ เปน็ ประเพณีเก่าแก่ท่ีสืบทอดมาแต่โบราณ โดยมิได้ปรากฏหลักฐานว่ามีมาแต่ยุคใดสมัยใด ทั้ง ๓
พวกก็ปรึกษาหารือกันว่าสมควรจะช่วยกันหักล้างถางพงให้กว้างขวางย่ิงขึ้นเพื่อทาไร่ทาสวนต่อไป บริเวณนี้แต่
ก่อนเต็มไปดว้ ยปา่ พงออ้ พงแขมและไม้นานาชนดิ ข้นึ เตม็ ไปหมด ฝ่ังทางตอนใตข้ องลาคลองสาโรงก็เต็มไปด้วยป่า
แสม น้าก็เป็นน้าเค็ม ซ่ึงเต็มไปด้วยอันตรายจากสัตว์ร้ายนานาชนิดทางฝ่ังตอนเหนือก็เต็มไปด้วยบึงขนาดใหญ่
ภายในบึงแต่ละบึงก็อุดมสมบูรณ์ไปด้วยบัวหลวงมากมาย พวกคนไทย รามัญและลาว ก็พยายามหักล้างถางพง
เรอื่ ยมาจนถงึ ทางแยก ๓ ทางคอื ทาง ทศิ ตะวันตกเฉยี งเหนือเป็นคลองสลดุ ทางเหนอื เป็นคลองชวดลากข้าว และ
ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเปน็ คลองลาดกระบัง คนทง้ั ๓ พวกกต็ กลงกนั ว่าควรจะแยกยา้ ยกนั ทามาหากนิ คนละ
ทางจะดีกวา่ เพื่อทจ่ี ะได้รภู้ มู ปิ ระเทศว่าด้านไหนจะทามาหากินได้คล่องดีกว่ากัน เม่ือตกลงดังนั้นแล้วจึงแยกทาง
กันไปทามาหากนิ โดยพวกลาวไปทางคลองสลุด ไทยไปทางคลองชวดลากข้าว พวกรามัญไปทางคลองลาดกระบัง
พวกรามัญทามาหากินอย่ปู ระมาณ ๒-๓ ปี ก็ไมไ่ ดผ้ ลเพราะนก หนู ชุกชุมรบกวนพืชผลต่างๆจนเสียหายมากมาย
เมือ่ ทามาหากินไม่ได้ผลพวกรามัญกป็ รึกษาเตรียมตวั อพยพกลับถิ่นเดิมท่ีปากลัด (พระประแดง) เร่ิมอพยพกันใน
ตอนเช้ามืดของเดอื น ๑๑ ข้ึน ๑๔ ค่า ก่อนไปก็ไดไ้ ปเก็บดอกบัวในบึงบริเวณนี้มากมาย คนไทยท่ีคุ้นเคยกับ พวก
รามัญก็ไต่ถามว่าเก็บดอกบัวไปทาไมมากมายเพียงนี้พวกรามัญก็บอกว่าจะเอาไปบูชาพระคาถาพัน (เทศน์
มหาชาติ) ทป่ี ากลัด และได้ส่ังเสียกับคนไทยท่ีรักและสนิทสนมชิดชอบว่าในปีต่อมาเมื่อถึงเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่า
ให้ช่วยเกบ็ ดอกบัวรวบรวมไวท้ ว่ี ัดหลวงพ่อโตนีด้ ว้ ยพวกตนจะมารับ ด้วยนิสัยคนไทยน้ันชอบโอบอ้อมอารีรักพวก
พอ้ งจึงตอบตกลง จากน้นั พวกชาวรามัญกน็ มสั การหลวงพอ่ โตพร้อมทัง้ ขอน้ามนต์หลวงพ่อโตไปเพ่ือเป็นศิริมงคล
และลากลับถิน่ ฐานเดิมที่ปากลัดและนาดอกบัวไปบูชาพระคาถาพัน ปีต่อมาพอถึงกาหนดเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่า
คนไทยบางพลีก็รวบรวมดอกบวั ไวท้ ีว่ ัดบางพลีใหญต่ ามคาขอรอ้ งของชาวรามัญ พวกชาวรามัญก็จะมารับดอกบัว
ทุกปี การมาจะมาในเวลากลางคืน มาโดยเรือขนาดจุ ๕๐-๖๐ คน จะมาถึงวัดประมาณตี ๑-๔ ของทุกครั้งท่ีมา
และมีการตีฆ้องร้องเพลงตลอดทางอย่างสนุกสนาน พร้อมทั้งมีการละเล่นต่างๆในเรือ ผู้ที่คอยต้อนรับก็พลอย
สนกุ สนานไปด้วยไมตรีจิตอนั ดียงิ่ คนไทยได้ทาอาหารคาวหวานตา่ งๆเลยี้ งรับรองโดยใชศ้ าลาวัดเป็นที่เลี้ยงอาหาร

2

กนั เมอื่ อิ่มหนาสาราญแล้วกน็ าดอกบัวไปมนสั การหลวงพอ่ โต จากน้ันก็นาดอกบัวกลับไปบูชาพระคาถาพันที่ปาก
ลัด

ประการทสี่ อง
ชาวรามัญทป่ี ากลดั (พระประแดง) มาทานาอยทู่ ่ีอาเภอบางพลี (ตาบลบางแก้ว) ซ่ึงมีเรื่องเล่ากัน

ว่าเปน็ ชาวรามัญทอ่ี พยพเข้ามาในประเทศไทย พร้อมกบั เจา้ พระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี) ในสมัยกรุงธนบุรี การ
อพยพของชาวรามัญครัง้ น้ีเนอื่ งจากพระเจ้ามังระ คดิ จะมาตกี รุงธนบรุ ี จงึ เกณฑ์พวกรามัญซ่ึงเป็นเมืองข้ึนของพมา่
มาช่วยรบ ชาวรามัญนั้นไดร้ ับการกดขข่ี ่มเหงจติ ใจถูกฆ่าลูกเมีย ชาวรามัญจึงกบฏต่อพม่าโดยรวมตัวกันไปตีพม่า
แต่สพู้ มา่ ไม่ได้ กห็ นีมาพ่ึงพระบรมโพธิสมภารบารมีต่อพระเจ้าตากสินมหาราชและได้นาเอาป่ีพาทย์มอญเข้ามา
ด้วยเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พวกรามัญไปต้ังภูมิลาเนาที่ปากเกล็ด แขวงนนทบุรี และ
ปากโคก แขวงปทุมธานี ถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดเกล้าฯให้ย้ายครอบครัวชาว
รามัญซ่งึ อพยพมาพร้อมเจา้ พระยามหาโยธา (เจง่ ) มาอย่ทู ่ีนครเขอื่ นขนั ธ์ (จังหวัดพระประแดงในอดีต) ในปี พ.ศ.
๒๓๕๘ พร้อมโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้บุตรชายคนท่ี 3 ของเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) คือ พระยานครเข่ือนขันธ์
รามัญราชชาติเสนาบดีศรีสิทธิสงคราม (ทอมา คชเสนี) ไปเป็นเจ้าเมือง ต่อมาชาวรามัญได้ทาความดีคว ามชอบ
ได้รับพระราชทานท่ีนาท่ีบางพลี จึงเป็นเหตุให้ชาวรามัญมาทานาท่ีบางพลี ชาวรามัญน้ันจะมาเฉพาะฤดูทานา
เม่ือเสรจ็ สน้ิ การทานากจ็ ะกลับท่ีปากลัด เม่ือออกพรรษาชาวปากลัดท่ีมีเช้ือสายรามัญส่วนใหญ่เป็นผู้เคร่งครัดใน
พระพทุ ธศาสนาก็จะกลบั ไปทาบญุ ท่ีวัดบ้านของตน เมื่อกลับก็จะไปเก็บดอกบัวท่ีตาบลบางพลีใหญ่ซึ่งมีมากมาย
ในสมัยน้ันไปประกอบเป็น "ดอกไม้ธูปเทียน" ในการทาบุญท่ีมีการเทศน์คาถาพันส่งท้ายพรรษา คร้ังแรกก็เก็บ
กันเองต่อมาชาวอาเภอบางพลีเหน็ วา่ ชาวรามญั มาเก็บดอกบัวทกุ ปี ในปีต่อๆมาจึงเกบ็ ดอกบวั เตรียมไว้ให้ตามนิสัย
คนไทยทชี่ อบเอื้อเฟื้อเผอ่ื แผ่ ระยะแรกกส็ ่งให้กบั มอื มกี ารไหวข้ อบคณุ ต่อมาเกดิ ความคุ้นเคยถ้าใกล้ก็ส่งมือต่อมือ
ถา้ ไกลก็โยนให้จึง เรียกวา่ "รับบวั โยนบัว"

ประการทส่ี าม
เดิมทีเดียวทตี่ าบลบางพลีใหญ่ในเปน็ ตาบลที่มดี อกบัวมาก อาเภอต่างๆที่อยใู่ กล้เคยี งเช่น อาเภอ

เมืองสมุทรปราการ อาเภอพระประแดง และอาเภอต่างๆที่อยู่ใกล้เคียง เมื่อถึงวาระต้องบาเพ็ญกุศลในเทศกาล
ออกพรรษาก็มาเก็บดอกบวั ที่นี่ เพราะถือวา่ ดอกบวั เปน็ ดอกไมท้ างพระพุทธศาสนา เชน่ พระพุทธเจ้าเวลาประทับ
น่ังยืน เดิน จะมีดอกบัวรองรับเสมอ อีกประการหนึ่งในเร่ืองพระมาลัยได้กล่าวว่ามีชายเข็ญใจคนหน่ึงได้ถวาย
ดอกบัวแก่พระมาลัย ยังไปเกิดเป็นเทพบุตรได้ ดังน้ันในสมัยโบราณคนจึงนิยมถวายดอกบัวแก่พระในวันออก
พรรษาถือวา่ ไดบ้ ุญกศุ ลแรงมาก ถึงกับลงทุนนอนคา้ งอ้างแรมยังตาบลนี้เพ่ือเก็บดอกบัว ในสมัยแรกๆ คงเท่ียวหา
เกบ็ กนั เองแตใ่ นสมยั ต่อมาชาวบางพลีกจ็ ะเตรยี มเก็บไว้เพ่อื เปน็ การทากุศลรว่ มกนั เทา่ นน้ั

3

ความสาคัญ
ประเพณีรับบัว-โยนบัว เป็นประเพณีท้องถิ่นซ่ึงมีเพียงแห่งเดียวในประเทศไทย คือ ที่อาเภอบางพลี

จังหวัดสมุทรปราการ ด้วยเหตุที่แต่เดิมน้ัน พ้ืนท่ีในละแวกอาเภอบางพลีขึ้นช่ือว่า อุดมไปด้วยดอกบัวหลวง
(Nelumbo nucifera Gaertn.) สะพรั่งไปทั่วทุกลาคลองหนองบึง เมื่อใกล้จะถึงวันทาบุญในช่วงออกพรรษา
ชาวบ้านในอาเภอใกล้เคียงจึงมักพากันพายเรือมาเก็บดอกบัวไปถวายพระ ชาวบางพลีเห็นเช่นนั้นจึงอาสาเป็นผู้
เกบ็ ดอกบวั ให้ ตอ่ มา เม่ือใกล้จึงวนั ออกพรรษาคราใด ชาวบางพลีจะพากันเก็บดอกบัวไว้คอยท่าเผื่อมีคนต่างถ่ิน
พายเรอื มาขอรบั ดอกบัว นานวันนานปี จากนา้ ใจของชาวบ้านบางพลี ก็กลายมาเปน็ ประเพณรี ับบวั

พิธีกรรม

พอถงึ วนั ข้นึ ๑๓ คา่ เดือน ๑๑ ตงั้ แต่ตอนเย็นชาวอาเภอเมืองสมุทรปราการ ชาวพระประแดง และชาว
ตา่ งถน่ิ จะชักชวนพวกพ้องเพอ่ื นฝูงลงเรอื พรอ้ มด้วยเครื่องดนตรีนานาชนิดเช่น ซอ ป่ี กระจับ โทน รามะนาโหม่ง
กรับ ฉิ่ง ฉาบ เป็นต้น พายกันไปร้องราทาเพลงกันไปตลอดทาง ตลอดคืน ซ่ึงบางพวกจะผ่านมาทางลาน้า
เจา้ พระยา บางพวกจะผา่ นมาทางลาคลองอืน่ ๆเข้าคลองสาโรงและมุ่งหน้ามายังหมู่บ้านบางพลีใหญ่ สาหรับชาว
บางพลีน้ันจะถอื ปฏบิ ตั กิ ันเปน็ ประเพณีวา่ เมือ่ ถงึ วนั ขน้ึ ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ กจ็ ะต้องเตรียมหาดอกบวั หลวง สาหรับ
มอบให้แก่ชาวบ้านที่ต้องการและมิตรต่างถ่ินมาเยือนในโอกาสเช่นน้ี ก็คงแสดงมิตรจิตออกต้อนรับ จัดหาสุรา
อาหารมาเล้ยี งดูกนั ตัง้ แตต่ อนคา่ ของวนั ข้ึน ๑๓ ค่า เดอื น ๑๑ ส่วนพวกท่ีมารับบัวคนใดรู้จักมักคุ้นกับชาวบางพลี
ผู้เป็นเจา้ ของบา้ น กจ็ ะพาขนึ้ ไปเยย่ี มเยอื นบ้านน้นั บา้ นน้ี และตา่ งก็สนกุ สนานรอ้ งราทาเพลงและร่วมรับประทาน
อาหารสุรากันตลอดคืน พอเช้าตรู่ของวันขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ชาวบ้านต่างก็นาเรือของตนออกไปตามลาคลอง
สาโรงเพื่อไปขอรบั บวั จากชาวบ้านบางพลที ัง้ สองฝ่ังคลอง การให้และการรับดอกบัวก็จะทากันอย่างสุภาพ คือส่ง
และรบั กันมือตอ่ มอื หรือกอ่ นใหจ้ ะยกมือพนมอธิษฐาน เสยี ก่อนระหว่างชาวบา้ นบางพลกี บั ชาวตา่ งถ่ินทสี่ นิทสนม
คนุ้ เคยกันป็นพเิ ศษ บางทชี าวบางพลีก็จะโยนดอกบัวลงไปให้กันโดยไม่มีพิธีรีตอง เหตุท่ีมีการโยนบัวให้กัน แบบ
มือต่อมอื จึงเลอื นไปจนมกี ารนาไปพูดกันตอนหลังว่า รับบัว โยนบัว การรับดอกบัวของชาวต่างบ้านจากชาวบาง
พลจี ะส้ินสดุ เม่ือเวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. หรือ ๐๙.๐๐ น. และชาวบ้านก็จะพากนั กลบั ตอนขากลับจะมีการแข่ง
เรอื กันไปดว้ ยแตเ่ ป็นการแข่งขันโดยมีเส้นชยั ไม่มกี รรมการตัดสินและไม่มีการแบ่งประเภทหรือชนิดของเรือ ใคร
พอใจจะแข่งกับใครเมอื่ ไหรท่ ใ่ี ดก็แขง่ กนั ไปหรอื จะเปลีย่ นค่เู ปลี่ยนคู่แข่งกันไปเรื่อยๆ ตามแต่จะตกลงกัน ดอกบัว
ที่ชาวต่างถิ่นรับจากชาวบางพลีไปน้ันจะนาไปบูชาในเทศกาลออกพรรษาตามวัดในหมู่บ้านของตน ประเพณีท่ี

4

กล่าวมาแล้วข้างต้น ครั้นนานมาชาวต่างถ่ินที่นาเรือมารับดอกบัวจากชาวบางพลีมีปริมาณลดลงเร่ือยๆ เสียง
กระจบั ป่ี สซี อ กลองรามะนา เสียงเพลงเสยี งเฮฮาที่เคยเซง็ แซ่ตามลาคลองสาโรงในคืนวันข้ึน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑
ก็ค่อยๆเงยี บหายไป ต่อมาสมัยนายช้ืน วรศิริ (เพชรบูรณะ วรศิริ) เป็นนายอาเภอบางพลี ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๓-
๒๔๘๑ ประเพณรี บั บัวมีทีท่าว่าจะเสื่อมสูญไปนั้น ได้กลับมาฟื้นตัวอีกครั้ง เม่ือได้หารือกับพ่อค้าคหบดีตลอดจน
ขา้ ราชการเปน็ ที่เรียบร้อยแล้ว ทางอาเภอบางพลีจงึ ได้ตกลงกันดาเนินการจัดงานประเพณรี บั บัวข้นึ คือ เร่ิมงานวัน
ขึน้ ๑๓ ค่า เดอื น ๑๑ และรุง่ ขึน้ ๑๔ คา่ เดือน ๑๑ เป็นวันรับบัวอนั เป็นครงั้ แรกทีท่ างราชการเข้ามาเกี่ยวข้องกับ
ประเพณรี ับบวั ของชาวบางพลี ในการจัดงานประเพณรี ับบวั ของทางราชการอาเภอบางพลี มีการแต่งเรือประกวด
เริ่มมีมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ (แต่ก่อนชาวต่างถ่ินจะตกแต่งเรือมาเพียงเพ่ือความสวยงามแต่ไม่มีการประกวด)
ผใู้ หญ่บ้าน กานัน ชว่ ยกนั หาดอกบัวแจกข้าวต้มมัดแก่แขกต่างบ้านและผู้จัดเรือประกวดในวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน
๑๑ ประชาชนต่างถน่ิ และชาวอาเภอบางพลีจะลงเรือลอ่ งไปตามลาคลองสาโรง รอ้ งราทาเพลงกนั อย่างสนุกสนาน
ร่วมกัน ชาวบางพลีจะจัดสุราอาหารไวต้ ้อนรับแขกต่างบ้าน ชาวต่างถ่ินคนใดรู้จักมักคุ้นกับชาวอาเภอบางพลีคน
ใดบา้ นใดกจ็ ะพากนั ไปเยยี่ มเยือน สนุกสนานกับชาวบางพลีบ้านนั้นจนรุ่งเช้า วันข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ต่างก็จะ
พากันไปดูการประกวดที่คลองสาโรงหน้าท่ีว่าการอาเภอบางพลี ในการจัดงานประเพณีรับบัวมีองค์ประกอบที่
สาคัญคือ มีการแห่หลวงพ่อโต ซ่ึงแต่เดิมยังมิได้มีการแห่ดังเช่นสมัยน้ี ในราวปี พ.ศ. ๒๔๖๗ นางจ่ันกับพวกได้
พรอ้ มใจกนั สร้างพระปฐมเจดยี ์ข้นึ ในวัดบางพลีใหญ่ใน เม่ือสร้างเสร็จแลว้ กจ็ ัดให้มีการฉลองโดยแหอ่ งค์พระปฐม
เจดียน์ ี้ตามลาคลอง แล้วกลับมาห่มองคพ์ ระปฐมเจดยี ก์ ลางคนื กจ็ ัดให้มีมหรสพสมโภช แห่ไปได้ ๒-๓ ปี ก็หยุดไป
ด้วยเหตุใดไม่ปรากฏ ซึ่งเช่ือว่าการแห่ผ้าห่อองค์พระปฐมเจดีย์น้ีได้รับแบบอย่างมาจากการแห่ผ้าห่มองค์พระ
สมทุ รเจดียข์ องอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ ตอ่ มากม็ ีการแหร่ ปู หลวงพอ่ โตแทน โดยความเห็นชอบของท่านสมภาร
กุ่ย และนายฉลวย งามขา แห่รูปภาพของหลวงพ่อโตมาหลายปี จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ก็มีการทาหุ่นจาลอง
หลวงพอ่ โต สานด้วยโครงไม้ปิดกระดาษทาสที อง แล้วนาแห่แทนรูปภาพของหลวงพ่อโต ซึ่งสร้างโดยนายไสว โต
เจรญิ ตกกลางคืนก็มีงานมหรสพฉลองกันอยา่ งครึกคร้ืนจนถึงสมัยพระครูพิศาลสมณวัตต์เปน็ เจ้าอาวาสวัดบางพลี
ใหญ่ในก็ได้จัดให้ทาการหล่อรูปหลวงพ่อจาลองขึ้น สาหรับแห่ตามลาคลองด้วยอะลูมิเนียมใน พ.ศ. ๒๔๙๗ และ
ปัจจุบันแห่โดยรูปหล่อจาลองหลวงพ่อโต (รูปป้ัน) โดยจัดเป็นขบวนแห่ไปตามลาคลองสาโรงในวันข้ึน ๑๓ ค่า
เดือน ๑๑ เป็นการประกาศขา่ วงานรบั บัวใหป้ ระชาชนทราบและวิธีน้ีกลายเป็นประเพณีแหห่ ลวงพ่อโตกอ่ นวนั งาน
รบั บัว คือ วัน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ ตลอดจนถึงปัจจุบัน การแห่หลวงพ่อโตจึงเป็นส่วนหน่ึงของงานประเพณีรับบัว
ประชาชนท่อี ย่สู องฝั่งคลองสาโรงทีข่ บวนแห่หลวงพอ่ โตผา่ นจัดประดบั ธงทิว ตกแต่งบ้านเรือนและตั้งโต๊ะหมู่บูชา
พอเช้าวนั รงุ่ ขนึ้ ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ มีการประกวดเรอื ประเภทต่างๆของตาบลใกลเ้ คียงและโรงเรียนส่งเข้าประกวด
ซึง่ เริ่มตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๐๐ มีการจัดประกวด ปัจจุบันการประกวดเรือมี ๓ ประเภทด้วยกัน คือ ประเภทสวยงาม
ประเภทความคดิ และประเภทขบขันหน้าท่ีว่าการอาเภอบางพลี ซึง่ จะเรม่ิ ตงั้ แตเ่ วลา ๐๖.๐๐ น.และงานจะสิ้นสุด
ลงเวลา ๑๑.๐๐ น. ของวันเดียวกัน ในบางปีจัดให้มีการประกวดเทพีการแข่งเรือ หรืออย่างอื่นแล้วแต่
คณะกรรมการ จัดงานรับบัวแต่ละปีจะพิจารณาเห็นสมควร ส่วนการร้องราทาเพลงไปตามลาน้าดูหายๆไปจน
ปัจจบุ ันไม่มีแล้ว คงเทีย่ วสนุกสนานกนั ตามบรเิ วณที่จดั ใหม้ มี หรสพเทา่ นั้น

5

สาระเสริม

"การเป็นผู้มีน้าใจไมตรี" เป็นลักษณะเด่นของคนไทยประการหน่ึง เราคงไม่ปฏิเสธกันว่าคนไทยเป็นผู้ที่
ร่ารวยน้าใจ ยากท่ีจะหาประชากรในประเทศใดในโลกเทียมได้ แม้แต่ชาวต่างประเทศก็ยอมรับในความมีน้า ใจ
ไมตรีของคนไทยเช่นกัน จนได้ให้สมญาประเทศไทยว่า "สยามเมืองยิ้ม" ดังเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วน่ันเอง
และชาวอาเภอบางพลี จังหวัดสมทุ รปราการมสี งิ่ หน่ึงที่ชว่ ยยนื ยันถึงความเป็นผูม้ นี า้ ใจไมตรขี องคนไทยเช่นกัน ส่ิง
นั้นคือมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษของชาวบางพลีได้มอบไว้ให้ลูกหลานของตน น่ันคือ "ประเพณีรับบัว"
ประเพณีรับบัว เป็นประเพณีเก่าแก่ท่ีเกิดและจัดขึ้นในอาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มาช้านานแต่เพ่ิง
ปรากฏหลักฐานในราว พ.ศ. ๒๔๖๗ วา่ เดมิ จัดในวันขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ของทกุ ปี และจากคาบอกเล่าของผู้เฒ่า
ผแู้ กช่ าวอาเภอบางพลี ได้เล่าใหฟ้ ังเกย่ี วกบั ประเพณีรับบัวว่า "ในสมัยก่อนโน้น อาเภอบางพลี มีดอกบัวมากมาย
ตามลาคลอง หนองบงึ ต่างๆเป็นท่ตี ้องการของพทุ ธศาสนกิ ชน ในอันท่ีจะนาไปบูชาพระ เหตุท่ีเกิดประเพณีรับบัว
เกิดจากชาวอาเภอพระประแดง และชาวอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ ทเี่ ป็นชาวมอญ ตอ้ งการนาดอกบวั ไปบูชาพระ
คาถาพันและบชู าพระในเทศกาลออกพรรษา ดงั น้นั เม่อื ถึงวนั ข้ึน ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ ประชาชนทั้งสองอาเภอน้ี ได้
ชกั ชวนกนั พายเรอื มาตามลาคลองสาโรงเพ่อื มาเก็บดอกบัว เม่ือเก็บได้เพียงพอแล้วก็จะเดินทางกลับบ้านของตน
ในวนั รุ่งข้ึน (ข้นึ ๑๔ คา่ ) ต่อมาชาวอาเภอบางพลี มนี า้ ใจทจี่ ะอานวยความสะดวกให้ในฐานะทต่ี นเปน็ เจ้าของบ้าน
เมอ่ื ถึงวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ ของทกุ ปี กจ็ ะร่วมแรงร่วมใจกันเก็บดอกบวั และเตรียมอาหารคาวหวานไว้เพ่ือรอ
รับชาวอาเภอพระประแดงและชาวอาเภอเมืองฯ เช้าตรู่ของวันข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ ขบวนเรือพายของชาว
อาเภอพระประแดงและชาวอาเภอเมืองฯก็จะมาถึงหมู่บ้านบางพลีใหญ่ เม่ือรับประทานอาหารท่ีชาวอาเภอบาง
พลเี ตรียมไวต้ ้อนรบั จนอม่ิ หนาสาราญดแี ลว้ ก็จะพายเรือไปตามลาคลองสาโรง เพ่ือขอรับดอกบัวจากชาวอาเภอ
บางพลีทั้งสองฝ่ังคลอง การส่งมอบดอกบัวจะทากันอย่างสุภาพ คือส่งและรับบัวกันมือต่อมือ โดยผู้ให้และผู้รับ
พนมมอื ตงั้ จิตอธษิ ฐานอนุโมทนาผลบุญรว่ มกัน การกระทาเช่นน้ีเองจึงได้ช่ือว่าการ "รับบัว" เม่ือปฏิบัติติดต่อกัน
หลายๆปี จึงได้กลายเปน็ "ประเพณีรับบัว" ไปในท่ีสุด" นับต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๒๘ ถึงปัจจุบัน ชาวอาเภอบางพลีต่าง
ยังไม่แนใ่ จว่าตนโชคดีหรือโชคร้ายกันแน่ที่พื้นที่ท่ีตนเองอาศัยอยู่ได้กลายเป็นจุดท่ีนักลงทุน ท้ังชาวไทยและชาว
ต่างประเทศให้ความสนใจที่จะมาลงทุนทากิจการต่างๆ เน่ืองจากพวกเขาเห็นว่า อาเภอบางพลี อยู่ใกล้กับ
กรงุ เทพฯการคมนาคมสะดวกและเป็นแหลง่ ท่สี ามารถรองรับความเจริญจากกรุงเทพฯ ได้โดยตรง จึงได้พากันมา
ลงทุนต้ังโรงงานอุตสาหกรรมท้งั ขนาดเล็กและขนาดใหญ่มาก ปัจจุบันอาเภอบางพลีมีโรงงานอุตสาหกรรมเกือบ
๘๐๐ แห่ง นอกจากน้ีหมู่บ้านจัดสรรก็ผุดข้ึนราวกับดอกเห็ด สนามกอล์ฟ ขนาดใหญ่หลายแห่ง มีไว้เพื่อเป็นที่
พกั ผ่อนหยอ่ นใจของผู้มอี ันจะกินเพียงระยะเวลาไม่ถึง ๑๐ ปี สภาพของอาเภอบางพลี เปล่ียนไปราวกับหน้ามือ
เป็นหลังมือ จากสังคมชนบทที่ประชาชนมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย มีความสุขตามอัตภาพ กลายเป็นสังคมเมือง
อตุ สาหกรรม ชาวบ้านหลายครอบครัวได้กลายเป็น "เศรษฐีใหม่"ภายในพริบตา โดยการขายที่ดินให้กับนักลงทุน
ในราคาสูงลวิ่ ปจั จบุ นั สภาพสงั คมในอาเภอบางพลี ไมแ่ ตกต่างไปจากสงั คมกรงุ เทพฯเทา่ ใดนัก ทัง้ ด้านค่าครองชีพ
การจราจร การแขง่ ขันประกอบธรุ กิจ ฯลฯ ในสภาวะเชน่ น้แี มแ้ ตช่ าวบางพลที ี่เป็นคนเก่าแก่เองก็ปฏิเสธไม่ได้ว่ามี
สว่ นทาให้ประเพณรี ับบัวเปลย่ี นรปู โฉมจากเดิม กลา่ วกนั ว่า "ประเพณรี ับบวั กเ็ ปรียบเสมือนสิง่ มชี ีวิตอน่ื ๆในอาเภอ
บางพลีท่ีตอ้ งมีการปรบั ตวั ให้เหมาะสมกับสภาพสงั คมปัจจบุ ัน เพอ่ื มิให้ตนต้องสูญหายไปจากโลกน"้ี

6

ช่วงเวลา
ตัง้ แต่วนั ขนึ้ ๑๓ ค่า เดอื น ๑๑ ถึง ขึ้น ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ กอ่ นออกพรรษา

ประวตั คิ วามเปน็ มาของหลวงพ่อโต

ประวตั ิความเปน็ มาของหลวงพ่อโตนัน้ มีตานานเล่าว่าท่านเป็นพระพุทธรูปพ่ีน้องกันกับหลวงพ่อพุทธโส
ธร จ.ฉะเชงิ เทรา และหลวงพ่อวัดบา้ นแหลม จ.สมทุ รสงคราม ซึง่ พระพุทธรูปท้งั สามองค์น้ีต่างมีประวัติว่าลอยน้า
มา และได้รับการชักรั้งนิมนต์ข้ึนประดิษฐานตามวัดที่ท่านประสงค์จะประดิษฐานอยู่สาหรับหลวงพ่อโตตาม
ประวัตกิ ็ว่าท่านไดล้ อยลอ่ งมาโผลข่ ึ้นที่บรเิ วณรมิ นา้ บางปะกง ต.สัมปทวน จ.ฉะเชิงเทรา ก่อน แล้วจมหายไป มา
โผลใ่ ห้เหน็ อกี ครง้ั ในแม่นา้ เจา้ พระยา เขตตาบลสามเสน ในคร้ังนไี้ ดม้ ปี ระชาชนพยายามฉุดชักขึ้นฝ่ังเหมือนกันแต่
ไม่สาเร็จสุนทรภู่คงจะได้เห็นจึงแต่งไว้ในนิราศภูเขาทอง จากน้ันมาโผล่อีกครั้งที่บริเวณปากคลองสาโรง จ.
สมทุ รปราการ ชาวบา้ นกพ็ ยายามกราบไหว้อาราธนานิมนต์ขึ้นฝ่ังเหมือนกันก็ยังไม่สาเร็จ จนต้องต่อแพผูกไว้กับ
องคท์ า่ น เพ่อื ไมใ่ หจ้ มหายไปอกี และได้อธษิ ฐานบนบานวา่ หากท่านประสงค์จะขึ้นฝั่งท่ีใดก็ขอให้แพที่ผูกโยงท่าน
ไว้น้นั ไปหยดุ ที่นัน่ แพกไ็ ด้ลอยไปหยุดที่วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม ชาวบ้านกับพระสงฆ์ จึงร่วมกันอัญเชิญองค์
พระขน้ึ ที่ท่าน้าหนา้ วัดไดเ้ ป็นผลสาเรจ็ วดั พลับพลาชยั ชนะสงครามกค็ ือวัดบางพลใี หญ่ที่ประดิษฐานหลวงพ่อโตใน
ปัจจบุ นั นเ้ี อง

ความศักด์สิ ทิ ธ์ิ

หลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน มีเรื่องเล่าเม่ือคร้ังท่ีหลวงพ่อโตยังประดิษฐานอยู่ในพระวิหารเก่าว่า บาง
วนั ที่เปน็ วนั พระข้ึน 15 ค่า กลางคืนผ้คู นจะได้ยนิ เสยี งพมึ พาอยู่ในวิหารคล้ายเสียงสวดมนต์ คร้ันเม่ือเข้าไปดูก็ไม่
เหน็ มใี ครอยใู่ นน้นั เลยนอกจากหลวงพอ่ โต บางคราวพระภกิ ษสุ ามเณรในวดั จะเหน็ พระภิกษุชราห่มจีวรสีคร่าคร่า
ถอื ไมเ้ ท้าเดนิ ออกมายืนสงบน่ิงอย่หู น้าวิหาร ผ้ทู ่ีพบเหน็ ตา่ งก็เรียกกนั มาดู เม่ือทกุ คนเหน็ พร้อมกันดีแล้ว ภิกษุชรา
รปู นนั้ กเ็ ดนิ หายเขา้ ไปในวหิ ารตรงองค์ของหลวงพ่อ เป็นดังน้ีหลายคร้ังหลายหน บางคร้ังจะมีผู้เห็นเป็นชายชรา
รปู รา่ งสง่างาม มรี ัศมเี ปลง่ ปล่งั นุ่งขาวหม่ ขาวเขา้ มาหาหลวงพอ่ แลว้ ก็หายไปตรงพระพักตร์ของท่าน เมื่อวันท่ี 12
พฤษภาคม พ.ศ. 2520 หลวงพ่อไดก้ ระทาใหเ้ กดิ ปาฏิหาริยท์ ่ีองค์ทา่ นซึ่งเป็นทองสมั ฤทธ์ิ เกิดนุ่มนม่ิ ไปหมดทั้งองค์

7

ดังเนื้อมนุษย์ และต่อมาในปี พ.ศ. 2522 ก็เกิดปรากฏการณ์เช่นนี้อีกครั้งหน่ึง ชาวบางพลีต่างเช่ือในความ
ศักดิ์สิทธ์ิและบารมีขององค์หลวงพ่อโต ได้คุ้มครองชุมชนบางพลีให้ปลอดภัยจากอัคคีภัย เพราะชุมชนอื่นท่ีอยู่
โดยรอบ อาทิ ตลาดบางบอ่ ตลาดจระเข้ ตลาดคลองด่าน ล้วนแตเ่ คยประสบกบั อคั คภี ัยมาแล้วทั้งน้นั

แม้แต่กระท่ังรูปเหรียญหลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน ชาวบ้านทั้งใกล้ไกลต่างพากันห้อยคอให้แก่บุตร
หลานของตน เพราะกล่าวกันวา่ เมือ่ เดก็ เผลอพลัดตกน้าเด็กน้ันกลับลอยน้าได้เป็นที่น่าอัศจรรย์ ตลอดจนทั้งพระ
เครอ่ื งรางท่ที าเป็นรูปขององคห์ ลวงพ่อกม็ ีเรอื่ งเล่าอภนิ ิหารป้องกนั ภยนั ตรายได้ตา่ งๆ นานา

นอกจากน้ผี ้ทู ีเ่ จ็บไขไ้ ด้ปว่ ยทง้ั หลายต่างกพ็ ากันมาบนบานกราบนมสั การองคห์ ลวงพ่อโต กล่าวกันว่าบาง
ท่านท่ีได้นาน้ามนต์หลวงพ่อไปด่ืมกนิ เพื่อความเป็นสิริมงคล ก็กลับปรากฏว่าโรคภัยไข้เจ็บที่เป็นน้ันก็กลับหายวัน
หายคนื เปน็ ท่ีนา่ อศั จรรย์

8

ประเพณนี มสั การหลวงพอ่ ปาน

ความสาคญั
ประเพณนี มสั การหลวงพอ่ ปาน เป็นงานประจาปีของชาวอาเภอบางบ่อ ท้ัง ๘ ตาบลร่วมแรงร่วมใจกันจัด

ข้ึนเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของหลวงพ่อปาน ซ่ึงมีสมณศักด์ิในทางสงฆ์ว่า พระครูพิพัฒน์นิโรธกิจ อดีตเจ้า
อาวาสวัดมงคลโคธาวาส (วัดบางเห้ยี ) ทต่ี าบลคลองด่าน หลวงพ่อปานเกิดทต่ี าบลบางเห้ีย บิดาเป็นคนจีน มารดา
ชื่อ ตาล ได้บรรพชาเป็นสามเณรท่ีวดั อรุณราชวราราม (วัดแจง้ ) โดยมเี จา้ คุณศรศี ากยะมุณีเป็นอปุ ชั ฌาย์ หลวงพ่อ
ปานเปน็ เกจิอาจารย์ที่มชี ื่อเสยี ง เป็นพระทีเ่ มตตา มวี าจาศักด์ิสทิ ธิ์ วัตถุมงคลของท่านมีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับ
ของประชาชนทั่วไป คือ เขี้ยวเสอื จากคุณงามความดีของท่านปจั จุบันยังฝังอยู่ในจิตใจของชาวอาเภอบางบ่อ ทุก
ปีขนึ้ ๘ ค่า เดือน ๑๒ ประชาชน รว่ มกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ไดพ้ ร้อมกันจัดงานข้ึน

ช่วงเวลา
วันข้ึน ๘ คา่ เดอื น ๑๒ ของทุกปี เป็นเวลา ๒-๓ วนั

9

พิธีกรรม

เดมิ การจดั งานนจี้ ะจดั ขึน้ ทว่ี ัดมงคลโคธาวาส ตาบลคลองดา่ นก่อน ๑-๒ วนั แล้วอัญเชิญรูปเหมือนหลวง
พ่อปานลงเรือ ลอ่ งไปตามลาคลองคลองดา่ น ในเวลาเชา้ มีขบวนเรอื ตกแตง่ อย่างสวยงาม ไปที่หน้าอาเภอบางบ่อ
ซง่ึ จดั มณฑปไวเ้ ตรียมรับ หลงั จากน้นั จะเริม่ แข่งเรอื สว่ นภาคกลางคืนจะมีมหรสพสมโภชกันจนถึงสว่าง ในงานนี้
มีการละเลน่ ชนิดหนง่ึ ซึง่ เลน่ กันมานาน คอื "โจ๊ก" เปน็ ทสี่ นใจของประชาชนทีม่ ารว่ มงานเป็นอนั มาก จึงถือกันเป็น
ประเพณีเลยว่า เม่ือมีงานหลวงพ่อปาน จะต้องมีการทาย"โจ๊ก" ด้วย แต่ในปัจจุบันประมาณ ๑-๒ ปีที่ผ่านมา
"โจ๊ก" ในงานหลวงพ่อปานไม่มี แต่ไปเล่นในงานลอยกระทงแทน สาหรับงานนมัสการหลวงพ่อปานนี้ เดิมจะใช้
เวลา ในการจดั ๑ วนั ๑ คืน คือมีงานตลอดคนื จนถึงรุ่งเช้า
แตป่ ัจจุบันระยะเวลาในการจดั ใช้เวลา ๒-๓ วัน โดยเร่ิมจากวันขึ้น ๘ ค่า เดือน ๑๒ ในงานจะมีการแข่งเรือยาว
เพื่อเป็นการรักษาประเพณอี ันดีงามของท้องถิ่น เพ่อื ความสามัคคีของประชาชน นอกจากน้ียังมีการประกวดหนุ่ม
สาวพายเรือ และมหรสพตา่ ง ๆ เหมอื นงานวัดทวั่ ไป เชน่ ลเิ ก ดนตรี ภาพยนตร์ นอกจากนี้ยังมกี ารจาหนา่ ยสินค้า
พื้นบ้านท่ีเป็นสัญญลักษณ์ของอาเภอบางบ่อ คือ ปลาสลิดแห้ง รสดี คนในปัจจุบันน้ีจะเรียกหลวงพ่อปานว่า
"หลวงปปู่ าน"

10

ประเพณีสงกรานตพ์ ระประแดง

ประวตั คิ วามเป็นมาประเพณีสงกรานต์พระประแดง

อาเภอพระประแดง เดิมเป็นเมืองชื่อ เมืองนครเข่ือนขันธ์ เป็นเมืองหน้าด่านของปากแม่น้าเจ้าพระยา
สร้างโดยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย รัชกาลที่ 2 เพื่อป้องกับการรุกรานของข้าศึกที่ยกมาทางทะเล
ชาวพ้นื เมืองเดิมของเมืองนครเขื่อนขันธ์หรอื พระประแดง เปน็ ชาวรามัญหรือมอญท่ีอพยพเข้ามาพ่ึงพระบรมโพธิ
สมภารในแผน่ ดินไทยเป็นเวลากว่ารอ้ ยปมี าแลว้

สนั นฐิ านว่า ชาวรามัญเรม่ิ อพยพเข้าสู่ประเทศไทยหลังจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศอิสรภาพ
เมื่อ พ.ศ. 2127 ในสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช พ.ศ. 2318 ปรากฏว่ามีชาวมอญอพยพเข้ามาราวหม่ืนคน
ทางดา้ นจงั หวัดกาญจนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้พระราชทานที่ดินให้ต้ังบ้านเรือนอยู่ที่เมืองนนทบุรี
ต้ังแต่ปากเกร็ดถึงปุทมธานี ในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์มีพวกมอญอพยพเข้ามาพ่ึงพระบรมโพธิ
สมภารอีกเปน็ จานวนมาก เมื่อพระองคไ์ ดท้ รงสรา้ งเมอื งนครเขือ่ นขันธ์ แล้ว จงึ โปรดให้อพยพครอบครัวมอญจาก
เมืองปทุมธานี โดยมีพระยาเจ่งเป็นหัวหน้าไปอยู่ที่เมืองนครเข่ือนขันธ์ ต่อมาโปรดให้สมิงทอบุตรชายพระยาเจ่ง
เป็นเจา้ เมอื งเขอ่ื นขนั ธ์ หรอื เมืองพระประแดง

กล่าวได้ว่า ประเพณีและวัฒนธรรมมอญ จึงฝังรากแน่นแฟ้นในเมืองพระประแดงถึงแม้ว่าปัจจุบันนี้ได้
กลายเป็นคนไทย แตย่ ังรกั ษาประเพณีเดมิ ไวเ้ ปน็ อย่างดี ทางจงั หวัดสมุทรปราการและชาวอาเภอพระประแดง จึง
ไดร้ ว่ มกันจัดงานสงกรานตพ์ ระประแดงข้ึน เพอ่ื เปน็ การต้อนรับปีใหม่ของไทย และเพ่ืออนุรักษ์ประเพณีของชาว
รามญั เอาไว้ เชน่ ประเพณีการปล่อยนกปลอ่ ยปลา การเล่นสะบา้ โดยจดั ร่วมกบั งานสงกรานตท์ กุ ปี กาหนดงาน
หลงั ชว่ งเทศกาลสงกรานต์ ประมาณ 1 อาทติ ย์ ณ อาเภอพระประแดง

11

พธิ ีกรรม

เริ่มขึน้ กอ่ นวนั สงกรานต์จะมาถงึ โดยชาวบ้านจะเตรยี มบา้ นเรอื นให้สะอาด นาเงนิ ที่เกบ็ หอมรอมริบไวม้ า
ใชจ้ า่ ยเพอ่ื การรนื่ เรงิ ในวนั สงกรานต์ มีการกวนกาละแม ข้าวเหนียวแดง เพื่อทาบุญตักบาตรหรือแจกจ่ายญาติพี่
น้อง ผทู้ คี่ ุน้ เคยและเคารพนบั ถอื การกวนกาละแมเป็นเรื่องความสนุกสนานของหนุ่มๆ สาวๆ โดยบ้านใดกวนกา
ละแมกจ็ ะไปบอกเพื่อบ้านใกลเ้ คยี งใหม้ าช่วยกัน เพราะกาละแมกระทะหน่ึงต้องใช้เวลากวนถึง 6 ชั่วโมง จึงได้ที่
โดยใน 1 วัน จะกวนได้ 2 กระทะเท่านั้น หนุ่มๆ ทาหนา้ ทกี่ วน และการกวนกาละแมจะหยุดไม่ได้ เพราะจะทาให้
ไหม้ จึงต้องกวนอยู่ตลอดเวลา นอกจากน้ันยังมีการเล้ียงสุราอาหารและคุยกันระหว่างหนุ่มๆ สาวๆ เม่ือถึงวัน
สงกรานต์ มีการส่งขา้ วสงกรานต์ หรือท่ีเรยี กว่า "ข้าวแช่” ข้าวที่หุงเป็นข้าวสงกรานต์น้ันต้องใช้ข้าวเปลือก 7 กา
ใหญ่ ตาเป็นข้าวสาร ฝดั ราทิง้ 7 หน เมอ่ื เวลาจะหุงข้าวตอ้ งซาวน้าล้าง 7 คร้ังครั้นเป็นข้าวสวยแล้วต้องนามาล้าง
อีก 7 หน จึงนาไปแช่น้าสะอาดอบรา่ ดว้ ยดอกมะลิ ในภาชนะทท่ี าดว้ ยดิน เช่น อา่ งดนิ หรือหมอ้ ดนิ เพือ่ ให้เย็น ถือ
ว่าอย่เู ย็นเปน็ สุข กับข้าวที่จะรับประทานกบั ขา้ วสงกรานต์ต้องทาจากพืช เชน่ ถั่ว งา และผักต่างๆ ไม่นิยมทาจาก
เน้ือสัตว์ โดยนาขา้ วสงกรานตไ์ ปถวายพระท่ีในวัดตอนเช้าตรู่ระหว่างเวลา 6.00 – 8.00 น. ผู้ส่งนิยมใช้สาวๆ แต่
ต้องนาข้าวสงกรานต์หรือข้าวแช่และกับข้าวที่เตรียมไว้บูชาท้าวมหาสงกรานต์เสียก่อน ท่ีสาหรับบูชาท้าว
มหาสงกรานต์ปลูกเป็นศาลเพียงตา มีเสาสี่ต้นตกแต่งด้วยทางมะพร้าวและใบมะพร้าว ประดับธงเล็กๆ สีขาว
เหลือง แดง เขียว ฯลฯ ศาลเปน็ รูปสเ่ี หลย่ี มจตั ุรศั มพี ื้นทส่ี าหรบั วางเครื่องบชู า

การส่งข้าวสงกรานต์นั้น มักใช้หญิงสาวเป็นคู่ๆ คือ สาวคนหน่ึงถือภาชนะใส่ข้าวแช่ ส่วนอีกคนหนึ่งถือ
ภาชนะใส่กับข้าว ไปส่งตามวัดต่างๆ เพื่อให้พระฉันก่อนออกบิณฑบาต หรือลงศาลารับการทาบุญจากชาวบ้าน
และห้ามรดน้าสาวในเขตบริเวณวัด เพ่ือมิให้น้าที่รดผ่านผ้านุ่งของสตรีตกต้อง ธรณีสงฆ์แต่หลังจากส่งข้าว
สงกรานตท์ ่ีวัดแล้วรดนา้ ไดไ้ ม้ผิดประเพณี

นอกจากการสง่ ข้าวสงกรานตแ์ ล้ว ยงั มีการสรงน้าพระสงฆอ์ ีกดว้ ย โดยกาหนดวันที่จะไปสรงน้าพระสงฆ์
ใหเ้ จ้าอาวาสทราบ ต่อจากน้ันจะสร้างซุ้มก้ันเป็นห้องน้าด้วยทางมะพร้าว ปูพื้นด้วนแผ่นกระดานสาหรับให้พระ
เข้าไปสรงน้า รางน้าทต่ี อ่ เขา้ ไปในซมุ้ ยาวพอสมควร ทงั้ น้เี พอื่ ใหช้ าวบา้ นไดส้ รงน้าพระกันอยา่ งทั่งถงึ โดยจัดตง้ั โอ่ง
น้าไวเ้ ป็นระยะ เพอื่ ให้ชาวบา้ นใชน้ ้าในโอ่งน้สี รงนา้ พระซ่งึ จดั ขึ้นในเวลาประมาณบ่าย 2 โมง หลังจากทาบุญเล้ียง
พระเพลหรอื มีการจบั สลากภตั ถวายอาหารแด่พระสงฆ์แล้ว โดยนิมนต์พระสงฆ์ที่มีอาวุโสสูงลงสรงก่อน ชาวบ้าน
จะใช้ขันของตนตักน้าในโอ่งเทลงไปในราง น้าจะไหลตามรางเข้าไปในซุ้มที่พระสรง ในระหว่างนี้จะมีคนคอย
ตะโกนบอกชาวบ้านใหห้ ยุดเทน้า ทั้งน้ีเพอื่ ใหพ้ ระได้ถเู หงือ่ ไคลและชาวบ้านผู้ชายจะเข้าไปชว่ ยถูเหงอ่ื ไคลพระด้วย
กไ็ ด้ เมอ่ื พระสงฆอ์ งค์หนึ่งสรงนา้ เสรจ็ กน็ ิมนตพ์ ระองค์ตอ่ ๆ ไป ในการสรงน้าพระชาวบ้านจะเอาน้าอบหอมเทปน
ลงไปกบั นา้ ในรางดว้ ยกไ็ ด้ การสรงน้าพระถอื เป็นการขอพรและการกศุ ลทาใหอ้ ย่เู ยน็ เป็นสขุ

หลังจากสรงน้าพระเสร็จแล้ว เป็นการรดน้าของหนุ่มๆ สาวๆ โดยมี 3 ครั้งด้วยกัน คือ เมื่อสาวกลับมา
จากส่งขา้ วสงกรานต์ตามวัดตา่ งๆ ระหว่างวันที่ 13,14 และ 15 เมษายน ตั้งแต้เวลาประมาณ 9.00 น. การรดน้า
ในวันสงกรานตไ์ มผ่ ดิ ประเพณีและไม่ถอื โทษกัน แตต่ อ้ งเป็นการรดน้าโดยสุภาพคร้ังที่สองเมื่อสาวๆ กลับจากสรง
น้าพระสงฆ์ตามวัด และการรดน้าครั้งที่สามถือเป็นการรดน้าคร้ังพิเศษ คือ บ่ายของวันที่ 13, 14 และ 15
เมษายน เพราะบา่ ยวันนัน้ มกี ารสรงนา้ พระพทุ ธรูปในมณฑปวัดโปรดเกตเุ ชษฐาราม

12

หลังจากรดน้าสาวแล้ว ในตอนกลางคืนยังมีการเล่นสะบ้า อันเป็นธรรมเนียมเก่าแก่ของชาวรามัญ การ
เลน่ สะบ้ามี 2 ประเภท คือ สะบ้าประเภทเล่นกลางวัน เรียกว่า ทอยสะบ้าหัวช้าง และการเล่นสะบ้าบ่อนในตอน
กลางคืน
การเลน่ สะบ้าแบบหวั ช้าง เปน็ เร่ืองของชายฉกรรจ์ คนทอยอยู่คนละข้าง มีสะบ้าหัวช้างข้างละ 5 ลูก โดยมากใช้
ลูกสะบา้ จริงๆ ตั้งเป็นรูปค่ายทหารโบราณ คือ แนวนอน 3 ลูก ห่างกันพอสมควร ลูกท่ีตั้งอยู่ทางซ้ายคือปีกซ้าย
ลกู ตรงกลางคอื กองทัพหลวง ลูกทางขวาคือปีกขวา แนวต้ังสองลูกคือทัพหน้าและทัพหลัง ทั้งสองข้างอยู่ห่างกัน
ประมาณ 14 – 15 วา การทอยเหมือนโยนโบว์ล่ิง ใครทอยล้มหมดก่อนชนะ มีลูกทอยข้างละ 3 ลูก ลักษณะ
เหมือนจกั รทีใ่ ช้ในการแข่งขันกฬี าขว้างจักร
สะบา้ บ่อน ในวันสงกรานต์จะเห็นสาวๆ ชาวบ้านตามหมู่บ้านต่างๆ รวมกลุ่มกันต้ังบ่อนสะบ้าส่วนมากอยู่ตามใต้
ถุนเรือนช้นั เดยี ว และมสี าวงามอยูป่ ระจาทกุ บ่อน ก่อนเล่นต้องปรับดินให้เรียบเสียก่อนโดยใช้น้ารดหมาดๆ แล้ว
เอาตะลุมพุกสาหรับตาข้าวทุบดินให้แน่น ต่อจากน้ันใช้ขวดกลึงให้เรียบความกว้างยาวของบ่อนข้ึนอยู่กับเน้ือท่ี
ของใต้ถุนบ้าน ด้านหวั บ่อนใชก้ ระดานหนาๆ มาตงั้ โดยเอาสนั ลงด้านหลงั กระดานนี้มีม้ายาวต้ังอยู่หลายตัว เป็นท่ี
นัง่ ของผเู้ ลน่ กระดานน้ีมหี า้ ที่รบั ลูกสะบา้ ที่ผ้เู ล่นอกี ฝ่ายทอยมากระทบไวม้ ิให้ลูกสะบ้ากระเด็นไป และป้องกันเท้า
ของผู้นง่ั มิให้ถูกสะบา้ ที่ทอยมา มีการประดับประดากระดาษสายรุ้งสีต่างๆ และปักธงเสาเรือนรอบๆ บ่อนสะบ้า
นั้น ทุกบ่อนมีผู้หญิงสูงอายุเป็นหัวหน้าบ่อน และดูแลเป็นพี่เลี้ยงสาวๆ ประจาบ่อน บ่อนสะบ้าเป็นรูป
ส่ีเหลี่ยมผืนผ้า มีผู้เล่นท้ังฝ่ายชายและหญิงประมาณ 8 คน อย่างมากไม่เกิน 15 คน หญิงสาวแต่งตัวแบบสมัย
โบราณอยา่ งสวยงาม
วธิ ีเล่นสะบ้า ฝ่ายหญิงเปน็ ผู้ตง้ั ลูกสะบ้า เรียกว่า "จู” ให้ฝ่ายชายเริ่มเล่นก่อน ฝ่ายชายน่ังท่ีม้าน่ังตรงข้ามกับฝ่าย
หญิง หัวหน้าฝ่ายชายเร่ิมเล่นก่อน โดยเล่นท่าไหน คนต่อๆ ไปเล่นท่าเดียวกันน้ันจนครบทุกคน กติกาการเล่น
สะบ้าแตกต่างกันไปบ้างแล้วแต่หมู่บ้าน แต่ละท่าต้องเล่นให้ถูกคู่ของตนหากถูกสะบ้าท่ีไม่ใช่คู่ของตนถือว่าเสีย
"อยุ ” ต้องเปลีย่ นใหฝ้ ่ายต้ังรบั กลบั มาเล่นบา้ ง ช่วงนี้ฝ่ายชายและหญิงจะได้คุยกัน การเล่นสะบ้าอาจจะเล่นไปจน
สว่างหรือค่อนรุ่ง แต่ต้องได้รับอนุญาตจากผู้ควบคุมบ่อน ฝ่ายแพ้จะถูกปรับหรือราให้ดู ท่าเล่นประกอบด้วยชื่อ
ตา่ งๆ คอื ทิ่นเติง เปน็ ทา่ แรก ผู้เล่นนาลกู สะบ้าวางบนหลังเทา้ แลว้ โยนไปขา้ งหนา้ แล้วดีดลูกสะบ้าไปถูกคู่ของตน
ทา่ ตอ่ ไป ได้แก่ จัง้ ฮะอยู่, อเี รด็ , ฮะเนดิ เบา, ฮะเนดิ ป๊อย, อีโช, อีเกน, อีมายมับ, ตองเก้ม, มายฮะเกริ้น, มายโล่น,
อะลองเดิง เป็นตน้ ทั้งหมดมีประมาณ 12- 20 บท

นอกจากที่กล่าวมาสิ่งท่ีขาดเสียมิได้ในงานสงกรานต์ของชาวพระประแดง คือ การปล่อยนกปล่อยปลา
โดยมตี านานอยู่ 2 ประการ คือ การช่วยชีวิตปลาท่ีตกคลักอยู่ตามหนองบึงที่กาลังแห้งในฤดูแล้งชาวบ้านจะช่วย
กับจับปลาไปปล่อยในที่มีน้า เพ่ือให้พ้นความตายและเป็นการรักษาพันธุ์ปลาในทางอ้อมด้สยอีกประการหน่ึง
เก่ยี วกบั โหราศาสตร์ คือ มีเณรองค์หนง่ึ ถกนกั โหราศาสตรท์ านายว่า ชะตาขาดต้องเสยี ชีวิตแต่บังเอิญระหว่างทาง
ที่เดินทางไปเยี่ยมมารดา พบปลาตกคลักอยู่ในหนองแห้ง สามเณรจึงช่วยจับปลาเหล่านั้นไปปล่อยในคูน้า
สามเณรจงึ พน้ จากชะตาขาดด้วยการทาบญุ ปล่อยปลา จึงถือว่าเป็นการสะเดาะเคราะห์ การแห่ปลาของชาวพระ
ประแดง ทากันทุกปีระหว่างเทศกาลสงกรานต์ มีสาวรามัญร่วมขบวนแห่ นาปลาไปปล่อยในที่ต่างๆ ตามความ
เหมาะสมเปน็ ปๆี ไป ก่อนการแห่นกแห่ปลา เจ้าภาพจะเชิญสาวๆ มาร่วมขบวน โดยมอบหมากพลูให้คาหนึ่งต่อ
สาวคนหน่งึ ถอื เป็นประเพณี ถ้าสาวคนใดรับหมากพลูก็แสดงว่ายินดีมาร่วมงานขบวนแห่ ก่อนแห่เจ้าภาพจะเอา

13

นกใส่กรง และเอาปลาหมอใส่ขวดโหล โหลละ 2 - 3 ตัว เม่ือถึงกาหนดเวลาก็ให้สาวๆ ที่เชิญมาถือกรงนกหรือ
โหลใสป่ ลาเข้ารว่ มขบวนแห่ไปตามถนน จนถึงสถานที่ปล่อยนกปล่อยปลา ในขบวนแห่ก็มีการละเล่นสลับ ได้แก่
แตรวง ทะแยมอญ เถิดเทิง ร่วมขบวนไปเป็นท่สี นุกสนานร่นื เริง เวลามักเปน็ เวลาประมาณ 15.00 น. นอกจากน้ัน
ยังมีการประกวดนางสงกรานตด์ ้วย

14

ประเพณีแหป่ ลาของชาวพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

ความสาคัญ

ประเพณแี หป่ ลาไม่วา่ ชาวไทยหรือชาวต่างประเทศรู้จักประเพณีน้ีและไปชมกันปีละไม่ต่ากว่าห้าหมื่นคน
ความเป็นมาของประเพณีนกี้ ส็ บื เน่อื งมาจากตานานของมอญที่เล่าตอ่ ๆ กนั มาวา่ มีพระอาจารย์องค์หนึ่งมีลูกศิษย์
อยู่หลายคน พระอาจารย์องค์นม้ี ีความเชี่ยวชาญในการทานายโชคชะตาเป็นยง่ิ วันหนง่ึ พระอาจารย์ได้ตรวจดูดวง
ชะตาของลูกศิษย์คนหนึ่งซึ่งบวชเป็นสามเณรอยู่ ปรากฏว่าสามเณรองค์น้ันอยู่ในเกณฑ์ชะตาขาด จะต้องถึงแก่
ความตายในไม่ช้า พระอาจารย์มีความสงสารเป็นอย่างย่ิง แต่ไม่อาจจะช่วยเหลือได้ จึงบอกให้สามเณรกลับไป
เย่ยี มญาติโยมท่บี า้ นเพ่ือทีจ่ ะไดม้ โี อกาสพบปะกนั ก่อนตาย สามเณรเข้าอาลาพระอาจารยแ์ ล้วเดินทางกลับไปบ้าน
ระหวา่ งทางเดินผา่ นไปตามทงุ่ นาจนถงึ หนองนา้ แห่งหนึ่งนา้ แหง้ ขอด มีปลาตกปลกั จมอยูใ่ นโคลนรังแตจ่ ะรอความ
ตาย สามเณรเกิดความสงสารจึงได้จับปลาไปปล่อยในลาคลองแล้วเดินทางต่อไปจนถึงบ้าน เม่ือสมควรแก่เวลา
แลว้ ก็เดินทางกลับวัด ฝ่าย พระอาจารย์เม่ือเห็นสามเณรกลับมาก็แปลกใจเพราะยังเช่ือม่ันในความสามารถของ
ตนเองอยู่จงึ สอบถามจนได้ความวา่ ขณะท่ีเดนิ ทางกลับบา้ นนั้นได้ช่วยเหลือปลาที่รอความตายใหก้ ลับมีชีวิตยืนยาว
ต่อไป พระอาจารย์จึงเข้าใจว่ากุศลที่สามเณรสร้างในครั้งน้ีกลับเป็นผลานิสงส์หนุนนาให้สามเณรมีชีวิตยืนยาว
ตอ่ ไป จากตานานดังกล่าวทาให้ชาวรามัญยึดถือเป็นตัวอย่างและปฏิบัติกันอยู่เสมอมา ส่วนประเพณีแห่นกท่ีทา
ควบคกู่ ับแห่ปลาในปจั จบุ นั นนั้ เกดิ ข้ึนทหี ลงั

15

กล่าวย้อนถงึ สาเหตทุ จี่ ะกลายมาเปน็ ประเพณแี หป่ ลาว่าเมื่อประมาณ ๕๐ ปีล่วงแล้วคุณย่าพ่วง พงษ์เวช
ชาวมอญ ตาบลทรงคะนอง อาเภอพระประแดง เป็นผู้ที่ชอบทาบุญทากุศลอย่างมาก ท่านจึงได้บอกให้ อาจารย์
คล้าย พงษเ์ วช ซึ่งเปน็ บตุ รชายให้จัดงานทาบุญเลยี้ งพระแล้วปล่อยปลาจานวนมากๆ ท่านอาจารย์คล้าย พงษ์เวช
จึงได้จัดให้ตามความประสงค์ทุกประการ แต่วิวัฒนาการจากการปล่อยปลาตามปกติมาเป็นการเชิญสาวๆใน
หมู่บ้านมาเข้าขบวนถือโหลปลา นาด้วยดุริยางค์แล้วนาไปปล่อยท่ีวัดทรงธรรมวรวิหาร ในปีรุ่งขึ้นท่านอาจารย์
คล้าย พงษเ์ วช เหน็ วา่ น่าจะกระทาเชน่ นอี้ กี ต่อไป จงึ ได้เป็นเจา้ ภาพจดั งานข้นึ โดยใช้โรงเรียนอานวยวิทย์ อาเภอ
พระประแดง ซึ่งท่านเปน็ เจา้ ของอยู่เป็นสถานท่จี ดั งานและไดเ้ ชญิ สาวๆจากหมู่บ้านตา่ งๆ (หมูบ่ ้านมอญ) รวม ๑๔
หม่บู ้าน มาร่วมในขบวนแห่ และในปตี ่อมาทา่ นได้เชิญสาวมอญจากบางกระด่ี ตาบลแสมดา อาเภอบางขุนเทียน
จากบางขนั หมาก จงั หวัดลพบรุ ี จากปากเกล็ด จังหวัดนนทบุรี มาร่วมขบวนด้วย นับว่าเป็นการจัดงานท่ียิ่งใหญ่
และตระการตา เน่ืองจากสาวมอญแต่ละแห่งน้ันแต่งกายตามประเพณีในท้องถ่ินของตน ทาให้เกิดความ
หลากหลายมากยง่ิ ขน้ึ และปดิ ท้ายขบวนดว้ ยกลองยาวที่สรา้ งความครกึ คร้นื อยู่ตลอดเวลา ส่วนการแห่นกนั้นท่าน
อาจารย์ได้ผนวกเข้าทีหลังจนกลายเป็นประเพณีแห่นกแห่ปลาในท่ีสุด พ.ศ. ๒๔๙๘ รูปขบวนก็ได้เปลี่ยนไปอีก
กล่าวคือมีขบวนนางสงกรานตเ์ พ่มิ ขนึ้ สว่ นนางสงกรานต์นั้น ไม่มีการประกวด เพียงแต่เสาะหาสาวท่ีมีความงาม
ทส่ี ุดมาเปน็ นางสงกรานต์ จนกระท่ัง พ.ศ. ๒๕๐๖ ทา่ นอาจารย์คลา้ ย พงษเ์ วช ยา่ งเข้าสวู่ ยั ชราจึงต้องการพักผ่อน
แตท่ างราชการเหน็ ว่าประเพณีนเี้ ป็นประเพณีท่ีดี สมควรจะอนุรักษ์ไว้จงึ ได้รับการปฏิบัติกันต่อๆ มา ครั้นถึง พ.ศ.
๒๕๒๑ ได้มีการประกวดนางสงกรานต์พระประแดงข้ึนและต่อๆมาจนถึงปจั จุบัน

ชว่ งเวลา

หลงั จากงานสงกรานต์ ๑๓ เมษายน ไปแลว้ ประมาณ ๑ สัปดาห์

สาระเสรมิ

ขบวนแห่ปลา แห่นกในปัจจุบันได้รับความร่วมมือจากตาบลต่างๆ ในอาเภอพระประแดง จึงทาให้รูป
ขบวนวิวัฒนาการขึ้นตามลาดับ มีสาวงามจานวนมากขึ้น มีขบวนรถจากตาบลต่างๆ ตกแต่งอย่างสวยงามข้ัน
ขบวนสาวงามอยู่เปน็ ระยะๆ มีวงดรุ ิยางคข์ องโรงเรียนตา่ งๆ นาแต่ละขบวนเป็นที่ครึกคร้ืนแล้วปิดท้ายด้วยขบวน
กลองยาวอยา่ งเคย

16

ประเพณแี หผ่ ้าห่มองคพ์ ระสมุทรเจดยี ์ (งานนมสั การองคพ์ ระสมทุ รเจดยี ์) จงั หวัดสมุทรปราการ

ความสาคัญ
พระสมุทรเจดีย์ เปน็ ปูชนียสถานท่ีสาคัญและเป็นสัญลักษณ์ของชาวสมุทรปราการ อีกทั้งยังเป็นโบราณ

สถานท่สี าคญั ของประเทศ ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย ทรงดาริให้สร้างขึ้นและพระราชทานนาม
วา่ "พระสมุทรเจดีย์" แต่สร้างเสร็จเรียบร้อยในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ราษฎรจะเรียกกันว่า
"พระเจดยี ก์ ลางน้า" เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ๑๒ องค์ ซ่ึงได้อัญเชิญมาจากพระบรมมหาราชวัง พระปิฏ
กธรรม พระปางห้ามสมุทรและพระชัยวัฒน์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากน้ันได้จัด
งานสมโภชเป็นท่ยี ่งิ ใหญ่ และเป็นประเพณสี บื มาจนปจั จบุ นั น้ี
ช่วงเวลา

ต้ังแต่ วนั แรม ๕ คา่ เดือน ๑๑ เป็นระยะเวลา ๗ วัน ๗ คืน แต่มาระยะหลังได้ผนวกงานกาชาดไปด้วย
เป็น ๑๐ วนั ๑๐ คืน

17

พิธีกรรม

วนั แรม ๒ ค่าเดือน ๑๑ จะมพี ุทธศาสนกิ ชนทง้ั ชายหญิงพร้อมใจกันไปช่วยเย็บผ้าแดงผืนใหญ่สาหรับห่ม
องคพ์ ระสมุทรเจดีย์ ใช้เวลาอยา่ งชา้ ๒ วันเสรจ็ ในวนั แรม ๕ ค่าเดือน ๑๑ คณะกรรมการจะเชิญข้ึนต้ังบนบุษบก
โดยใชร้ ถยนต์เปน็ พาหนะแหไ่ ปรอบเมือง มีขบวนแห่ของสถานศกึ ษาหน่วยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชนเขา้ รว่ มขบวน
และอญั เชญิ ผา้ แดงลงส่เู รือแห่แหนไปตามลาน้าเจ้าพระยาไปถึงอาเภอพระประแดงแล้วอัญเชิญข้ึนรถแห่รอบตัว
เมืองพระประแดงเพ่ือให้ชาวพระประแดงได้ร่วมอนุโมทนาแล้วอัญเชิญลงเรือกลับมายังพระ สมุทรเจดีย์มาทาพิธี
ทักษิณาวตั รรอบองคพ์ ระสมทุ รเจดีย์แล้วจึงนาผ้าแดงขนึ้ หม่ แตเ่ ดิมเรอื สามารถแล่นได้รอบองค์พระสมุทรเจดีย์ ก็
จะมกี ารละเลน่ ร้องเพลงเรือของสาวหนุ่มเป็นท่ีครึกคร้ืน เรือเดินไม่ได้จึงลดความครึกคร้ืนลงไปเม่ืองานแห่ผ้าห่ม
องคพ์ ระสมทุ รเจดยี ์ผ่านพ้นไปแลว้ จะเป็นการสมโภชมมี หรสพ การออกรา้ นตลอดระยะเวลา ๗ วัน ๗ คืน แต่ส่ิงที่
ลมื ไม่ไดก้ อ่ นทจ่ี ะกลับบ้านก็คือ การปดิ ทองและการไปนมัสการองค์พระสมทุ รเจดยี น์ น่ั เอง สาหรบั ในคนื วันแรม ๗
ค่านัน้ จะมีงานตลอดรุ่ง ในเวลาเชา้ ของวนั แรม ๘ คา่ จะมีการแข่งเรอื พายเปน็ ที่สนุกสนาน

18

ประเพณกี ารสง่ ขา้ วสงกรานต์ จงั หวัดสมทุ รปราการ

ความสาคัญ
การสง่ ข้าวสงกรานต์เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของชาวรามัญท่ีพระประแดง ซ่ึงคงจะได้รับอิทธิพลมาจาก

ตานานสงกรานต์ ตอนท่านเศรษฐนี าเคร่ืองสังเวยไปบวงสรวงเทวดาที่ต้นไทร เพื่อขอบุตรเพราะข้าวท่ีใส่หม้อดิน
กับข้าวต่างๆก็ใส่กระทงซ่ึงทาด้วยใบตองไม่ใส่ถ้วย คล้ายกับการเซ่นจ้าวหรือบูชาเทวดา ชาวพระประแดงจะส่ง
ขา้ วสงกรานตเ์ ฉพาะในวันที่ ๑๓,๑๔ และ ๑๕ เมษายน
ชว่ งเวลา

คือ ช่วงสงกรานต์ วันที่ ๑๓-๑๕ เมษายน

พิธกี รรม
ในแต่ละหมู่บ้านจะมีบ้านใดบ้านหนึ่งเป็นผู้รับหน้าที่หุงข้าวสงกรานต์ ส่วนค่าใช้จ่ายน้ันถ้าบ้านที่หุง

เป็นบ้านที่มีฐานะดีกจ็ ะออกคา่ ใช้จา่ ยท้งั หมด ถ้าไม่สามารถออกค่าใช้จ่ายท้ังหมดได้กจ็ ะออกบอกบุญแต่ละบ้านใน
หม่บู า้ นของตนเพือ่ นาไปซอ้ื อาหารสด เมอ่ื ถึงวันสงกรานตบ์ ้านทรี่ บั หน้าที่หุงข้าวสงกรานต์จะปลูกศาลเพียงตาขึ้น
โดยใช้เสา ๔ ต้น และมชี ้นั สาหรับวางเครื่องสังเวยระดับสายตาที่หน้าบ้านของตน ศาลนี้เรียกเป็นภาษารามัญว่า
"ฮอยสงกรานต"์ ซึง่ แปลว่า บา้ นสงกรานต์ การหุงข้าวสงกรานต์ในสมัยโบราณน้ันต้องนาข้าวมาซ้อมให้ขาว โดย

19

ซ้อม ๗ ครัง้ เก็บกากข้าวและสิ่งอน่ื ท่สี กปรกออกใหห้ มด และนาไปซาวน้า ๗ คร้ังแล้วนาไปหุงเป็นข้าวสวยแต่หุง
ใหแ้ ข็งกวา่ ปกตเิ ล็กน้อย แล้วนามาใส่นา้ เยน็ เพ่อื ไมใ่ ห้เมด็ ข้าวเกาะตวั กนั หลงั จาก นั้นก็ต้มน้าอีกหม้อหนึ่งให้เดือด
แล้วปล่อยให้เย็นลงเพ่ือทาน้าดอกมะลิ เม่ือน้าเย็นลงแล้วก็นาดอกมะลิมาลอย แล้วนาดอกมะลิมาใส่ข้าวท่ีหุง
เตรยี มไวน้ ้ัน แล้วนาไปใสใ่ นหม้อดินใบเลก็ ๆ ส่วนกับข้าวนั้นส่วนใหญ่ก็เป็นอาหารเค็ม เช่น ไข่เค็ม ปลาแห้ง เนื้อ
เคม็ ผักกาดเค็มหรอื ยาชนิดต่างๆ เปน็ ต้น และมขี องหวาน ไดแ้ ก่ ถัว่ ดาตม้ น้าตาลและผลไม้ ท่ีนยิ มกันได้แก่ กล้วย
หักมุก แตงโม เม่ือเตรียมอาหารพร้อมแล้วกใ็ ส่กระทงจัดใส่ถาดเตรียมไว้เท่ากับจานวนวัดที่มีอยู่ในเขตตลาดพระ
ประแดง การหุงข้าวสงกรานต์น้ันต้องหุงแต่เช้ามืดประมาณ ๐๓.๐๐-๐๔.๐๐ น. เพราะประมาณ ๐๕.๐๐ น.
สาวๆในหม่บู า้ นนัน้ ก็จะออกมารับขา้ วสงกรานต์ เพ่อื ไปสง่ ตามวัดตา่ งๆตามที่ตนได้ตงั้ ใจไว้และจะไปกันเป็นกลุ่มๆ
ส่วนมากจะไม่ไปวัดทใ่ี กล้บ้านของตน มักจะไปส่งที่วัดไกลๆเพื่อจะได้มีโอกาสพบหนุ่มต่างตาบลด้วย เพราะสมัย
โบราณน้ันโอกาสท่ีหนุ่มสาวจะไดพ้ บกนั น้ันยากมาก นอกจากงานเทศกาลต่างๆเหล่านี้ และเมื่อส่งข้าวสงกรานต์
เรียบรอ้ ยแล้วตอนกลับจะมีหนมุ่ ๆ มาคอยดกั รดนา้ จึงเป็นโอกาสหนงึ่ ท่ีหนุม่ สาวไดม้ โี อกาสพดู คุยกนั อย่างอิสระ

20

ประเพณีแข่งเรอื หน้าเมอื งพระประแดง

ความสาคัญ

ประเพณีแข่งเรือหน้าเมืองพระประแดง เป็นประเพณีท่ีจัดสืบเน่ืองมาแต่สมัยเม่ือพระประแดงยังเป็น
จังหวัด โดยประชาชนได้จัดให้มกี ารแขง่ เรือตดิ ตอ่ กนั มาจนถึงปจั จุบัน

ความเปน็ มาของการแขง่ เรือ

สบื เนือ่ งมาจากชาวพระประแดงท่แี ยกยา้ ยกันไปทานาและประกอบอาชพี ทามาหากินอยู่ในท้องถ่ินอื่น ๆ
กพ็ ากนั กลับภูมิลาเนาบ้านเดิมของตนเอง เพ่ือร่วมกันทาบุญสุนทานวัดใกล้บ้านของตน ตามประเพณีนิยมในวัน
เทศกาลออกพรรษา เมือ่ เสรจ็ จากการทาบญุ จึงถือโอกาสพายเรือรอ้ งราทาเพลงสนุกสนานไปตามลาน้าซึ่งเจิ่งนอง
ไปท่วั จึงเกดิ ความคิดท่ีจะแขง่ เรอื ขน้ึ สมยั กอ่ น อาเภอพระประแดงมีการคมนาคมทางน้าเพียงทางเดียว เรือพาย
จึงมีใชท้ กุ ครวั เรอื น ดังนัน้ การนดั หมายการแข่งเรอื จงึ มขี น้ึ นับแต่น้ันเปน็ ต้นมา

21

พธิ ีกรรม

ประเพณีแข่งเรือหน้าเมืองพระประแดง จัดขึ้นในวันแรม ๔ ค่า เดือน ๑๑ ของทุกปี เป็นวันแข่งเรือซึ่ง
เปน็ ประเพณตี อ่ เน่อื งมาจากบางพลี ซ่ึงจัดงานรับบัว แล้วต่อมาด้วยการแข่งเรือที่พระประแดง และปิดท้ายด้วย
งานพระสมุทรเจดยี ์ ซง่ึ มกี ารแขง่ ขันเรอื ยาวเชน่ เดยี วกัน

สาระเสรมิ

เป็นการแสดงความเป็นน้าหน่ึงใจเดียวกันของชาวสมุทรปราการ ท่ีมีการสืบทอดประเพณีอันเก่าแก่มา
โดยตลอด ประชาชนมีความสามัคคีกันดี นับเป็นเอกลักษณ์อั นดีงามที่ควรอนุรักษ์ไว้สืบต่อ ไป



บรรณานุกรม

[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : หลวงพ่อโต (บางพลี) - วกิ พิ ีเดยี . (วันที่ค้นขอ้ มลู : 9 เมษายน 2563).
[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก : เทศกาลประจาจังหวัด - สมุทรปราการ - Google Sites. (วันที่ค้นข้อมูล : 9 เมษายน

2563).
[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : ประเพณีนมสั การหลวงพ่อปาน – ประเพณีไทยดอทคอม. (วันท่ีค้นข้อมูล : 9 เมษายน

2563).
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : งานประเพณีแข่งเรือหน้าเมืองพระประแดง - จังหวดั สมทุ รปราการ. (วันที่ค้นข้อมูล : 10

เมษายน 2563).
[ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : ประเพณรี ับบวั – วิกพิ เี ดยี . (วนั ที่คน้ ข้อมูล : 10 เมษายน 2563).

[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : ประเพณีประเพณกี ารสง่ ขา้ วสงกรานต์ จงั หวัดสมุทรปราการ. (วนั ทค่ี ้นข้อมลู : 10
เมษายน2563).

4


Click to View FlipBook Version