The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นิทรรศการเกี่ยวกับหินชนิดต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) หินอัคนี
2) หินตะกอนหรือหินชั้น
3) หินแปร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ฐานนิทรรศการสวนหิน

นิทรรศการเกี่ยวกับหินชนิดต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) หินอัคนี
2) หินตะกอนหรือหินชั้น
3) หินแปร

ค่มู ือในการจดั กิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหนิ 1

คมู่ ือในการจดั กิจกรรมฐานการเรียนรู้ สวนหนิ ก
คำนำ

เอกสารการเรียนรู้อุทยานการเรียนรู้จังหวัดสระแก้ว น้ี จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมผ่านนิทรรศการ
ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาสระแก้ว ฐานการเรียนรู้เรื่อง สวนหิน พัฒนาขึ้นโดยใช้รูปแบบ
การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ กศน. (ONIE SCI ACTIVITY MODEL) ที่เน้นการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม
ความรบั ผิดชอบ ความคดิ สร้างสรรค์ และคานึงถึงผู้รับบรกิ ารเป็นสาคญั

คณะผู้จัดทาขอขอบคุณผ้ทู ่ีมีส่วนเกย่ี วข้องในการจัดทาเอกสารการเรียนรู้ และหวังเป็นอย่าง
ย่ิงว่านอกจากประโยชน์ของปฏิบัติงานของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสระแก้วโดยตรงแล้ว
จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการ
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมผ่านนิทรรศการไดเ้ ปน็ อย่างดี

(นายประพรรณ์ ขามโนนวดั )
ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาสระแกว้

พฤษภาคม 2564

คมู่ ือในการจดั กิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหิน ข

สำรบัญ

คานา.................................................................................................................................................ก
สารบญั .....................................................................................................................................................ข
เรอื่ ง สวนหิน……………………….…………………………………………………………………………………………………….1
ฐานนทิ รรศการสวนหิน.............................................................................................................................2
หินทราย (Sandstone) ............................................................................................................3
หินกรวดเหล่ียม (Breccia) ........................................................................................................4
หินดนิ ดาน (Shale)..................................................................................................................5
หินปูน ( Limestone) ..............................................................................................................5
หินศลิ าแลง (Laterite) .............................................................................................................6
หินไมก้ ลายเปน็ หนิ (Petrified Wood) .......................................................................................6
หนิ ทราเวอทนี (Travertine)......................................................................................................7
หนิ เชิร์ต (Chert)......................................................................................................................7
หินปนู ซากดึกดาบรรพ์ (Fossil Limestone) ..............................................................................8
หินแร่แมงกานสี (Manganese) .................................................................................................9
หนิ ไรโอไลต์ (Ryolite) ............................................................................................................10
หนิ แอนดีไซด์ (Andesite) .......................................................................................................10
หนิ ชสี ต์ (Schist)....................................................................................................................11
หนิ แกบโบร (Gabbro)............................................................................................................11
หนิ ไนส์ (Gneiss) ...................................................................................................................12
หนิ ชนวน (Slate)...................................................................................................................12
หนิ บะซอลต์ (Basalt)............................................................................................................13
หินควอรต์ ไซต์ (Quartzite) .....................................................................................................13
หินอ่อน (Marble)..................................................................................................................14
หนิ แกรนติ (Granite)..............................................................................................................14
ไครนอยด์ (Crinoid)..............................................................................................................15

คู่มือในการจดั กิจกรรมฐานการเรียนรู้ สวนหนิ 1

แผนกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้

เรอื่ ง สวนหิน เวลา 15 นาที

แนวคดิ

สวนหินเป็นฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการเก่ียวกับหินชนิดต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 3
ประเภท คือ 1) หินอัคนี ได้แก่ หินแกรนิต หินไรไอไลท์ หินแอนดิไซน์ หินบะซอลต์ 2) หินตะกอน
หรือหินช้ัน ได้แก่ หินกรวดมน หินกรวดเหล่ียม หินทราย หินดนิ ดาน หินปูนซากดึกดาบรรพ์ หินปูน
3) หินแปร ได้แก่ หินอ่อน หินชนวน หินไนซ์ หินควอตซ์ไซต์ ในการจุดประกายความคิดทางด้าน
วิทยาศาสตร์ให้กับผู้รับบริการ โดยผู้รับบริการสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยวิธีการศึกษา
กับสื่อการเรียนรู้จริง ทาให้ผู้รับบริการเห็นความสาคัญของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีสอดคล้องกับ
ชีวติ ประจาวนั

วัตถปุ ระสงค์

แลกเปล่ียนเรียนรู้และศึกษาเก่ียวกับหินชนิดต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1) หินอัคนี ได้แก่ หินแกรนิต หินไรไอไลท์ หินแอนดิไซน์ หินบะซอลต์ 2) หินตะกอนหรือหินชั้น
ได้แก่ หินกรวดมน หินกรวดเหลย่ี ม หินทราย หินดนิ ดาน หินปูนซากดึกดาบรรพ์ หนิ ปูน 3) หินแปร
ได้แก่ หนิ อ่อน หนิ ชนวน หินไนซ์ หนิ ควอตซ์ไซต์

เนือ้ หำ

1. ความหมายของหนิ
2. การจาแนกหินแตล่ ะประเภท ไดแ้ ก่

1) หนิ อคั นี ได้แก่ หินแกรนิต หินไรไอไลท์ หินแอนดิไซน์ หินบะซอลต์ หินแกบโบร
2) หินตะกอนหรือหินช้ัน ได้แก่ หินกรวดมน หินกรวดเหล่ียม หินทรายหินดินดาน

หนิ ปูนซากดึกดาบรรพ์ หินปูน หนิ เชริ ต์ หนิ ไม้กลายเป็นหิน หินศลิ าแลง
3) หนิ แปร ไดแ้ ก่ หินอ่อน หินชนวน หนิ ไนซ์ หินควอตซไ์ ซต์ หนิ ชสี ต์

คู่มือในการจดั กิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหนิ 2

ฐำนนิทรรศกำรสวนหนิ ประกอบดว้ ยหนิ ทัง้ หมด 21 ชนิด ดงั น้ี

1. หนิ ทราย
2. หินกรวดเหลีย่ ม
3. หนิ ดินดาน
4. หนิ ปนู
5. หินศิลาแลง
6. หนิ ไม้กลายเปน็ หนิ
7. หินทราเวอทีน
8. หนิ เชิรต์
9. หินปูนซากดกึ ดาบรรพ์
10. หนิ แร่แมงกานสี
11. หินไรโอไลต์
12. หินแอนดีไซด์
13. หนิ ชสี ต์
14. หินแกบโบร
15. หินไนส์
16. หินชนวน
17. หินบะซอลต์
18. หนิ ควอรต์ ไซต์
19. หินอ่อน
20. หนิ แกรนติ
21. ไครนอยด์

คู่มือในการจดั กจิ กรรมฐานการเรียนรู้ สวนหิน 3

หินทรำย (Sandstone)
ประเภท หนิ ตะกอน
กระบวนกำรเกิด เกิดจากการรวมตวั กนั ของเม็ดทราย
องคป์ ระกอบ ควอร์ตซ์ อาจมแี ร่แมกเนไทต์
และไมกาปะปนอยู่
ประโยชน์ ใช้เปน็ วสั ดุในการก่อสร้างทาถนน
สร้างโบราณสถาน

เป็นหินตะกอนเน้ือละเอียดปานกลาง จับดูระคายมือ เพราะประกอบด้วยเม็ดทรายขนาด
แตกตา่ งกัน เม็ดแรส่ ่วนใหญ่เป็นแร่ควอรต์ แตอ่ าจมีแรอ่ ่ืนและเศษหินดินปะปนอยู่ด้วย เพราะมีวตั ถุ
ประสารมีความแข็งมากสามารถขูดเหล็กเป็นรอยได้ มีสีต่าง ๆ เช่น เทา แดงน้าตาล เขียว เหลือง
ออ่ น อาจแสดงรอยชน้ั ให้เห็นมีซากดึกดาบรรพ์ เกิดจากการรวมตัวกันของเม็ดทราย องคป์ ระกอบ
หลักเป็นแร่ควอตซ์ อาจมีแร่แมกเนไทต์และไมกาปะปนอยู่ วัตถุประสารส่วนมากเป็นพวกซิลิกา
แคลไซด์ โดโลไบต์ เหล็กออกไซด์ ซึ่งมักทาให้หินมีสีเหลือง น้าตาล แดง พบอยู่ท่ัวไป แต่พบมากใน
ภาคอีสาน จังหวัดราชบุรี เพชรบุรี กาญจนบุรี และทางภาคใต้บางแห่ง ใช้เป็นวัสดุในการก่อสร้าง
ทาถนน สรา้ งโบราณสถาน สรา้ งปราสาท แกะสลัก และทาหนิ ลับมดี หินกรวดเหลย่ี ม (Breccia)

คมู่ ือในการจดั กจิ กรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหนิ 4

หนิ กรวดเหลีย่ ม (Breccia)
ประเภท ประเภทหนิ ตะกอน
กระบวนกำรเกดิ เกดิ จากตะกอนของหิน กรวด ทราย
ถกู กระแสน้าพดั พามารวมกัน
องค์ประกอบ มกั มวี ตั ถเุ ชื่อมประสานพวกเคล์
แคลเซยี มคารบ์ อร์เนต เหลก็
ออกไซด์ ซลิ กิ า
ประโยชน์ ใชเ้ ป็นวสั ดุก่อสรา้ งทางหรือปกคลุม
ส่วนนอกของคนั ทางดนิ ของ เขอื่ น

เป็นประเภทหินเนื้อหยาบ เกิดจากตะกอนซึ่งเป็นหินกรวด ทราย ที่ถูกกระแสน้าพัดพามา
อยู่รวมกัน เกาะตัวกนั เป็นกอ้ นหิน ลักษณะคล้ายกับหินกรวดกลมมาก แต่แตกต่างกันทรี่ ูปร่างของ
อนุภาคหนิ โดยชนิดน้จี ะมีอนุภาคเป็นเหลี่ยม มักจะเกิดในบริเวณ ใกล้ ๆ แหล่งกาเนดิ ของเศษหิน
ทาให้เศษหินยังไม่ถูกบดสีจนมีลักษณะมน ผันแปรไปแล้วแต่ชนิดของหินหรือแร่ด้ังเดิม พบใน
บริเวณใกล้ ๆ ฐานของหุบเขา ตามรอยแตกของหินท่ีชันหรือตามทางน้าไหลบนภูเขา จังหวัดท่ีพบ
ได้แก่ เลย ชัยภูม สุรินทร์ นครราชสีมา บุรีรมั ย์ และศรีสะเกษ ใช้เป็นวัสดุก่อสร้างทางหรือปกคลุม
ส่วนนอกของคันทางดนิ ของเข่อื น

คมู่ ือในการจัดกจิ กรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหิน 5

หนิ ดินดำน (Shale)
ประเภท หินตะกอน
กระบวนกำรเกดิ เกดิ จากอนุภาคท่มี าจับตัวเปน็ ก้อน
แข็งซึง่ มีขนาดเสน้ ผ่าน ศูนย์กลาง
เล็กกว่า 1/256 มม.
องคป์ ระกอบ ประกอบดว้ ยอนุภาค ทรายแป้ง
และอนภุ าคดินเหนียวทบั ถมกนั
เป็นช้ันบาง ๆ ขนานกัน
ประโยชน์ เปน็ วสั ดุผสมใชท้ าซเี มนต์

เป็นหินตะกอนเน้ือละเอียดมาก เนื่องจากประกอบด้วยอนุภาค ทรายแป้งและอนุภาคดิน
เหนียวทับถมกันเป็นช้ันบาง ๆ ขนานกัน เม่ือทุบหินจะแตกตัวตามรอยช้ัน (ฟอสซิลมีอยู่ใน
หินดินดาน) ประกอบด้วยแร่ควอร์ต ซึ่งมีจานวนน้อยกว่ามอนต์มอร์ลโลไนต์ ดินเหนียว และไมกา
แหล่งท่ีพบเกือบทุกจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แหล่งใหญ่ คือบริเวณจังหวัดสระบุรี
อยธุ ยา ลพบุรี เปน็ วัสดุผสมใช้ทาซีเมนต์ บางทีกน็ ามาปถู นนแตห่ ักงา่ ย เพราความเชอื่ มแน่นของหิน
ต่าและยงั นามาทาเปน็ ประดบั ไดด้ ้วย

หินปนู ( Limestone)
ประเภท หนิ ตะกอน
กระบวนกำรเกดิ เกดิ จากการทับถมของสารอนินทรยี ์
และซากส่ิงมีชวี ติ
องคป์ ระกอบ ธาตคุ ารบ์ อเนต
ประโยชน์ ใช้ในการก่อสรา้ ง ทาถนน ทางรถไฟ

เป็นหินตะกอน มีเนื้อแน่นละเอยี ดทึบ มีสอี อกขาว เทา ชมพู หรอื สีดาก็ได้ อาจมีซากดึกดา
บรรพใ์ นหินได้ เช่น ซากหอย ปะการัง เกิดจากการทับถมของสารอนินทรยี ์ และซากสิ่งมชี ีวติ ซึ่งถับ
ถมกันภายใต้ความกดดันและตกผลึกใหม่เป็นแร่แคลไซต์จึงทาปฏิกิริยากับกรด เป็นฟองฟู่ของก๊าซ
คาร์บอนได้ออกไซด์ออกมา แหล่งท่ีพบจังหวัดสระบุรี ลพบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ลาปาง เชียงใหม่
เชียงราย กระบี่ พังงาและสระแก้ว เป็นต้นหินปูนใช้ทา ปูนซิเมนต์ และใช้ในการก่อสร้าง ทาถนน
ทางรถไฟ เผาทาปูนขาวหรือปนู กนิ หมากทาแคลเซยี มคารไ์ บต์ ทาวสั ดุทนไฟ ทาปยุ๋ และทาสีผม

คมู่ ือในการจัดกจิ กรรมฐานการเรียนรู้ สวนหนิ 6

หนิ ศลิ ำแลง (Laterite)
ประเภท หินตะกอน
กระบวนกำรเกดิ เกิดจากการชะลา้ งเหลก็
และอลมู เิ นียมออกไซด์ ลงไปสะสม
ในนา้ ใตด้ ิน
องคป์ ระกอบ เหล็กออกไซด์ และอลูมิเนยี ม
ออกไซด์
ประโยชน์ ใช้ในการก่อสรา้ งกาแพงโบราณ
ทาถนน

เป็นหินตะกอน และะสารประกอบอะลูมิเนียมออกไซต์ออกไป มีรูพรุนอยู่ท่ัวก้อน สีแดงถึง
น้าตาลแดง แข็งจับตัวเป็นก้อน เกิดการชะล้างเหล็กและอลูมิเนียมออกไซต์ลงไปสะสมในน้าใต้ดิน
เมอ่ื มีการเปลี่ยนระดับน้าใต้ดินข้ึน-ลงตามฤดูกาลทาใหช้ ะสารอื่น ๆ หลุดรอ่ น เหลอื แต่สารประกอบ
โลหะท่ีมีความแข็งแรงมาก ประกอบด้วยสารเหล็กออกไซต์และอะลูมิเนียมออกไซต์ ใช้ในการ
กอ่ สร้างกาแพงโบราณ ทาถนน และทาหินประดับปูพ้นื

หนิ ไม้กลำยเป็นหิน (Petrified Wood)
ประเภท หินตะกอน
กระบวนกำรเกิด เกดิ จากการแทนทขี่ องซลิ ิกาทีเ่ ข้า
ไปแทนทอ่ี นิ ทรียวตั ถุของเน้ือไม้
องค์ประกอบ แร่ซิลิกา บางคร้ังก็พบแร่แคลไซต์
ปะปนอยู่
ประโยชน์ ใช้ประดับตกแตง่ สวน และบา้ น

เป็นตะกอน คล้ายท่อนไม้หรือช้ันไม้ แต่มีลักษณะแข็งเหมือนเนื้อหิน เกิดจากการแทนที่
ของซิลิกาที่เข้าไปแทนที่อินทรียวัตถุของเนื้อไม้ โมเลกุลต่อโมเลกุล จนเปล่ียนสภาพหินไปทั้งหมด
โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและโครงสร้าง กระบวนการนี้เรียกว่า Silicification ปกติซิลิกาใน
เนื้อไม้นี้อยู่ในรูปของโอปอล (Opal=SiO2nHO2 ) หรือคาลซิโดนี (Chalcedony) มีความหมาย
เหมือน Silicified wood, agatiged, opaliged wood และ woodstone ประกอบด้วยแร่ซิลิกา
บางครงั้ ก็พบแร่แคลไซต์ปะปนอยู่ พบในบริเวณทั่วไปของทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและจังหวัด
ตาก ใชป้ ระดบั ตกแต่งสวนและบา้ น

คู่มือในการจัดกิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหิน 7

หนิ ทรำเวอทีน (Travertine)

กระบวนกำรเกิด เกิดจากใต้ดนิ โดยกา๊ ซ
คาร์บอนไดออกไซด์
ซง่ึ เกิดจากน้า จานวนมาก ไหลซมึ
ตามรอยแยกใต้ดนิ

องค์ประกอบ แบคทีเรีย, สาหร่าย และมอส
ประโยชน์ หินประดบั

ทราโวทีนเป็นหินที่เกิดจากใต้ดิน โดยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดจากน้าจานวนมาก
ไหลซึมตามรอยแยกใต้ดิน ผ่านดินและหิน พร้อมๆกับละลายหินปูนจานวนมากที่มีอยู่ตามรอยแยก
ใต้ดินน้ัน กระบวนการ ดังกล่าวดาเนินไปนานเกินพันๆปี และในที่สุดกลับโผล่ขึ้นมาอีกคร้ังบน
พ้ืนผิวโลก เหมือนน้าพุซ่ึงชุ่มฉ่าไปด้วยหินปูนท่ีถูกละลาย น้านี้จะปล่อยก็าซคาร์บอนไดออกไซด์
ออกมาสู่บรรยากาศ เหมือนกับน้าแร่ เป็นเพราะผลกระทบ จากกระบวนการ ดังกล่าว ทาให้หินปูน
ไม่สามารถจะ เป็นสารละลายได้อีกต่อไป มันจะตก ตะกอนแบบเดียวกับน้าท่ีตกเป็นช้ันบาง ๆ ซ่ึง
ประกอบด้วย แบคทีเรีย, สาหร่าย และมอส หินคาบอเนตที่หนาแน่นจะถูกสร้างขึ้น เรื่อยๆเป็น
เวลานาน ในลักษณะท่ชี ้นั ใหมจ่ ะปกคลมุ ชั้นเดิม

หนิ เชิร์ต (Chert)
ประเภท หินตะกอน
กระบวนกำรเกดิ เกิดจากสารพวกซิลิกา ซึ่งละลายมา
จ า ก หิ น เดิ ม ต ก ต ะ ก อ น ให ม่ แ ล ะ
สะสมแทรกอยใู่ นช้ันหินตา่ ง ๆ
องค์ประกอบ ประกอบด้วยแรซ่ ลิ กิ า
ประโยชน์ ใชท้ าเคร่ืองประดับ ทาเลนส์

เป็นประเภทหินตะกอน มีลกั ษณะเนื้อแนน่ แข็ง สีเทาอ่อน ดา รอยแตกขรุขระ เกิดจากสาร
พวกซิลิกา ซึ่งละลายมาจากหินเดิมตกตะกอนใหม่และสะสมแทรกอยู่ในชั้นหินต่าง ๆ ส่วนมากพบ
ในหินปูน ประกอบด้วยแร่ซิลิกา พบในประเทศไทยส่วนใหญ่หาพบได้ยาก ใช้ทาเครื่องประดับ ทา
เลนส์

คู่มือในการจดั กิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหนิ 8

หนิ ปูนซำกดึกดำบรรพ์ (Fossil Limestone)
ประเภท หนิ ตะกอน
กระบวนกำรเกิด เกิดจากการตกตะกอนทางอนินทรีย์
เคมหี รอื จากการสะสมของเปลอื ก
หอยเนอ้ื ปนู
องคป์ ระกอบ แร่แคลเซียมคาร์บอเนต โดยมาก
เป็นแคลไซต์
ประโยชน์ ทาถนน ทางรถไฟ เผาทาปูนขาว
หรือปนู กนิ หมาก

ประเภทหินตะกอน เป็นหินปูนท่ีมีเนอ้ื แน่นละเอียดทึบ มสี ีออกขาว เทา ชมพู หรือสีดากไ็ ด้
มีซากดกึ ดาบรรพ์ปนอยูใ่ นเน้อื หนิ ได้ เช่น ซากหอย ปะการงั ภูเขาหนิ ปูนมักมียอดยกั แหลมเปน็ หน้า
ผาและเป็นหินที่ละลายน้าได้ดี เกิดจากการตกตะกอนทางอนินทรีย์เคมีหรือจากการสะสมของ
เปลือกหอยเน้ือปูน หรือจากท้ังสองรวมกัน ประกอบด้วยแร่แคลเซียมคาร์บอเนต โดยมากเป็นแคล
ไซต์ ซึง่ ทดสอบได้งา่ ย โดยใช้กรดเกลือชนิดเจือจางหยดดู จะเกดิ ฟองฟู่ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์
ออกมา พบในจังหวัดสระบุรี เพชรบุรี กระบ่ี นครศรีธรรมราช พังงา เป็นต้น ใช้ในอุตสาหกรรมทา
ถนน ทางรถไฟ เผาทาปูนขาวหรอื ปูนกินหมากทาแคลเซยี มคารไ์ บต์ ทาวสั ดทุ นไฟ ทาปยุ๋ และทาสี

คมู่ ือในการจดั กิจกรรมฐานการเรียนรู้ สวนหนิ 9

หินแร่แมงกำนสี (Manganese)
ประเภท หนิ แร่
กระบวนกำรเกดิ เกดิ จากการแปรของแรท่ ห่ี ายาก
อีกชนดิ ช่ือว่า ลธิ ิโอฟลี ไลต์
องคป์ ระกอบ เกิดจากการตกตะกอนอย่างชา้ ๆ
ของธาตุโลหะท่ีมแี หลง่ กาเนดิ นอก
ทะเลซ่ึงมีลักษณะเฉพาะคือ
มีส่วนประกอบสว่ นใหญ่เป็นโลหะ
พ้นื ฐาน
ประโยชน์ อุตสาหกรรมแบตเตอร่ี

มันสามารถเกิดได้ในช่วงสีน้าตาลดา สีม่วง สีชมพู ถึงสีแดงเข้ม ได้รับความสนใจจากนัก
สะสมเนื่องจากสีที่โดดเด่น เพอพูไลต์เป็นแร่ท่ีเกิดจากการแปรของแร่ที่หายากอีกชนิด ช่ือว่า
ลิธิโอฟีลไลต์ (Lithiophyllite, LiMnPO4) ในหินเพ๊กมาไทต์ แร่ชนิดนี้ ไม่โปร่งใสและความแข็งต่า
เกินไปสาหรับการสวมใส่เป็นเครื่องประดับ อยา่ งไรก็ตาม กม็ ีการนามาทาเป็นทรงหลังเบ้ียสาหรับหัว
แหวน เน่ืองจากเฉดสีกุหลาบ และสีม่วงท่ีงดงาม ซึ่งไม่มีแร่ชนิดอื่นเลียนแบบได้ในโลกของ
เครื่องประดบั โดยสว่ นใหญ่แล้ว แร่ชนดิ น้ีจะมาจากประเทศนามีเบยี

ค่มู ือในการจดั กจิ กรรมฐานการเรียนรู้ สวนหิน 10

หินไรโอไลต์ (Ryolite)
ประเภท อคั นีพุ
กระบวนกำรเกิด เกิดจากการทตี่ ัวของลาวาเยน็
ตัวอย่างรวดเรว็
องคป์ ระกอบ ประกอบด้วยแรเ่ ฟลด์สปาร์
และแร่ควอรต์ แรอ่ ่นื ๆ
ประโยชน์ ใชเ้ ปน็ หนิ กอ่ สร้าง ทาถนน ทาง
รถไฟ

หินไรโอไลต์ (Ryolite) เป็นหินอัคนีพุซึ่งเกิดจากการเย็นตัวของลาวาท่ีมีความหนืดมาก มี
ปริมาณซิลิกมากกว่า 66 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อละเอียดซ่ึงประกอบด้วยผลึกแร่ขนาดเล็ก มีแร่
องค์ประกอบเหมือนกับหินแกรนิต แต่ทว่าผลึกเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ ส่วนมากมีสีชมพู
และสีเหลอื ง

หินแอนดไี ซด์ (Andesite)
ประเภท หินอัคนีพุ
กระบวนกำรเกดิ เกิดจากการเยน็ ตวั ของลาวา
องค์ประกอบ องคป์ ระกอบของแมกนีเซยี ม
และเหล็ก
ประโยชน์ ใชเ้ ปน็ หินก่อสรา้ ง ทาถนน ทาง
รถไฟ

ประเภทหิน เกิดจากการเย็นตัวของลาวา เป็นหินที่เน้ือละเอียด ผลึกของแร่มองด้วยตา
เปล่าไม่เห็น เพราะแร่ตกผลึกอย่างรวดเร็ว ทาให้ผลึกแร่มีขนาดเล็ก มีสีม่วง เขียว เทาแก่ หรือดา
ตอ้ งใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ตรวจวินจิ ฉยั เกิดจากหินหนืดเย็นตัวบนพ้นื ผิวโลกประกอบดว้ ยแร่ท่สี าคญั คือ
แร่แพลจิโอเคลสเฟลด์สปาร์ และแร่สีเข้มพวกฮอร์นเบลนด์ ไพรอกซีน และไบโอไทต์ใช้เป็นหิน
กอ่ สรา้ ง ทาถนน ทางรถไฟ ประดบั สวนและอาคาร

คูม่ ือในการจัดกิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหิน 11

หินชีสต์ (Schist)
ประเภท หนิ แปร

กระบวนกำรเกิด เกิดจากหินตะกอน หินอัคนี
และหินแปรที่ถูก สภาวะแปรสภาพ
ด้วยความกดดัน และความรอ้ นสงู

องค์ ป ระกอบ แร่ไมกา แร่เท า แร่คลอไรด์
แรฮ่ มี าไทต์

ประโยชน์ ใชท้ าหินประดับ

ประเภท มีเน้ือหยาบสามารถมองเห็นเม็ดแร่ต่าง ๆ ด้วยตาเปลา่ สามารถแยกแยะชนดิ แร่
ในหินได้อย่างชัดเจน การเรียงตัวขนานกันของแร่แผ่นเป็นไปอย่างมีระเบียบ ทาให้เกิดโครงสร้าง
ระนาบท่ี เรียกว่า schistosity เกิดจากหินตะกอน หินอัคนี และหินแปร ท่ีถูกสภาวะแปรสภาพ
ด้วยความกดดันและความรอ้ นสูง มีแร่ไมกา ทัลก์ คลอไรต์ ฮีมาไทต์ แกรไฟต์ เป็นองค์ประกอบของ
หินชีสต์ พบได้ที่เข่ือนภูมิพล จังหวัดตาก อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี และอาเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขนั ธ์ ใช้ทาหนิ ประดบั

หนิ แกบโบร (Gabbro)
ประเภท หินอัคนแี ทรกซอน
กระบวนกำรเกดิ เกดิ จากหนิ หนดื ทขี่ นึ้ มาจากช้ัน
แมนเทิลเยน็ ตัวลงใต้ผิวโลก
กลายเป็นหิน
องคป์ ระกอบ แร่ไพรอกซีน และแรเ่ ฟลดส์ ปาร์
ประโยชน์ ใชเ้ ปน็ หินประดบั

หินแกบโบร(Gabbro) ประเภท: หินอัคนีแทรกซอน ลักษณะ เป็นหินสีเขียวเข้มถึงดา เนื้อ
ผลึกหยาบ การบวนการเกิด:เกิดจากหินหนืดท่ีข้ึนมาจากชั้นแมนเทิลเย็นตัวลงใต้ผิวโลกกลายเป็น
หนิ องค์ประกอบ แร่ไพรอกซีน และแรเ่ ฟลด์สปาร์ชนิดแพลจโิ อ-เคลสเปน็ ส่วนใหญ่ แต่อาจมีแร่โอลิ
วีนอยู่บ้าง บริเวณท่ีพบ พบไม่มากนักบนเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีป แต่พบมากในส่วนล่างของ
เปลือกโลกส่วนที่เป็นมหาสมุทร ในประเทศไทยพบน้อยมาก เป็นแนวทิวเขาเตี้ยๆ ในจังหวัดเลย
แพร่ นา่ น อตุ รดิตถ์ ปราจนี บรุ ี สระแก้ว ศรสี ะเกษ ปตั ตานี ยะลา ประโยชน:์ ใช้เป็นหนิ ประดับ

คมู่ ือในการจัดกจิ กรรมฐานการเรียนรู้ สวนหิน 12

หินไนส์ (Gneiss)
ประเภท หนิ แปร
กระบวนกำรเกิด เกิดจากการแปรสภาพแบบภมู ิ
ภาพเกรดสูงซ่งึ เป็นผลจากความร้อน
และความดันสูง
องคป์ ระกอบ มแี ร่ควอรต์ โพแทชเฟลต์สปาร์
แร่มัสโคไวต์
ประโยชน์ ใชท้ าหินบด ทาครก หนิ ประดบั

เปน็ หินแปรเนอ้ื หยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่าเสมอสีเข้มและจางสลับกัน เนื้อหยาบ
แปรสภาพมาจากหินแกรนิต เกิดจากการแปรสภาพแบบภูมิภาพเกรดสูง ซึ่งเป็นผลจากความร้อน
และความกดดนั สูง โดยเดิมเป็นหนิ อัคนีและหนิ ตะกอน มีแรค่ วอรต์ โพแทชเฟลต์สปาร์ แรม่ สั โคไวต์
แร่คอร์เดียไรต์ พบในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชลบุรี ตาก เชียงใหม่ เชียงราย ใช้ทาหินบด ทาครก
หนิ ประดบั

หินชนวน (Slate)
ประเภท หนิ แปร
กระบวนกำรเกิด เกิดจากการแปรสภาพจากดนิ ดาน
และหนิ อัคนีทีเ่ ป็นเกรดต่า เน่ืองจาก
ถกู ความกดดันและความร้อน
องคป์ ระกอบ แร่คลอไลต์ และแร่ไมก้า
ประโยชน์ ใช้เป็นกระดานชนวนเขยี นหนังสอื

เป็นหินแปรเนื้อละเอียดมากมักแยกออกเป็นแผ่น ผิวรอยแยกเรียบ มีแร่ประกอบในหินไม่
อาจแยกด้วยตาเปล่า มีแร่ดินเหนียวเป็นส่วนใหญ่ รอยแตกมักขนานกับชั้นหินมีสีต่างกันตามสารท่ี
ประกอบอยู่ เช่น สีเทาถึงดา มีธาตุคาร์บอนจากหินเดิมและคาร์บอนอาจจะเปล่ียนเป็นแกรไฟต์
หินชนวนสีแดงหรือม่วงเกิดจากเหล็กและแมงกานีสออกไซต์ สีเขียวมีเหล็กเฟอรรัสซิลิเกตในหิน
เกิดจากการแปรสภาพของหินดนิ ดาน และหนิ อัคนที ่ีเปน็ เกรดตา่ เนื่องจากถูกความกดดนั และความ
รอ้ น มีแร่คลอไลด์ และแร่ไมกา เป็นองค์ประกอบ พบจังหวัดชลบุรี กาญจนบุรี ระยอง นราธิวาส
นครศรีธรรมราช และนครราชสีมา ใช้เป็นกระดานชนวนเขียนหนังสือ ใช้มุงหลังคา ตกแต่งบ้าน ปู
พื้นโตะ๊

คูม่ ือในการจดั กิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหนิ 13

หินบะซอลต์ (Basalt)
ประเภท หนิ อคั นีพุ
กระบวนกำรเกิด เกิดจากหินลาวาข้ึนมาเย็นตัว
บนพ้ืนผวิ โลก
องค์ประกอบ แรแ่ พลจโิ อเคลสเฟลดส์ ปาร์
และแรส่ ีเข้มอ่ืน ๆ เช่น
ไพรอกซีนละเอยี ดมาก
ประโยชน์ เปน็ หนิ ประดบั ได้

เป็นหินอัคนีพุ เน้ือละเอียดและหนัก สีเข้มเทาถึงดา น้าตาลแก่ ส่วนมากมีรูพรุน
เกิดจากการ เย็นตัวของลาวาอย่างเร็ว องค์ประกอบของแรท่ ่ีสาคัญ คอื แร่แพลจโิ อเคลสเฟลดส์ ปาร์
และมีสีเข้มอื่น ๆ เช่น ไพรอกซีนละเอียดมา เฟลด์สปาร์ ฮอร์นแบลนด์ และโอลิวีน แต่ผลึกแร่เล็ก
ละเอียดมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นและยังไม่ทาปฏิกิริยากับกรดเกลือ พบมากท่ีจังหวัดจันทบุรี
ตราด กาญจนบุรี แพร่ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ เชียง และลาปาง เป็นหินที่พบว่าเกิดพลอยพวก
คอรันดัม เช่น ทับทิม ไพลิน ใช้ในการก่อสร้างแต่ไม่ดีนัก แต่ถ้าจาเป็นใช้เป็นวัสดุก่อสร้างทางได้
หนิ บะซอลต์ ถา้ ผุจะกลายเป็นดนิ ทใ่ี ชป้ ระโยชนใ์ นการเพาะปลูกและยังเปน็ หินประดบั ได้

หนิ ควอรต์ ไซต์ (Quartzite)
ประเภท หินแปร
กระบวนกำรเกดิ เปน็ ผลของการเกิดการตกตะกอน
ใหมอ่ าจจะเกิดภายใต้ สภาวะ
แวดลอ้ มท่ีมีอุณหภมู ิ และความดนั
ของการเกดิ หิน ตะกอนในท่ีต้นื
องคป์ ระกอบ แรค่ วอรต์ แร่คลอไรต์
แรเ่ ฟลดส์ ปาร์
ประโยชน์ ใชใ้ นอตุ สาหกรรมเคร่ืองแก้ว

เป็นหินแปรเน้ือละเอียด เน้ือผลึกคล้ายน้าตาล ทราย มีสีเทา หรือสีน้าตาลอ่อน มีความ
แข็งแรงมาก เม่ือแตกจะมีผิวรอบรอยแตกแบบโค้งเว้า เกิดเป็นผลึกท่ีเกาะเกี่ยวซึ่งกันและกัน เป็น
ผลของการเกิดการตกตะกอนใหม่ อาจจะเกิดภายใต้สภาวะแวดล้อมที่มีอุณหภูมิและความดันของ
การเกิดหินตะกอนในท่ีต้ืน และตกผลึกในช่องว่างต่าง ๆ ทาให้หินมีเนื้อแน่นข้ึน มีแร่ควอร์ต แร่
คลอไรค์ แร่เฟลด์สปาร์ เป็นองค์ประกอบ พบในจังหวัดชลบุรี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ใช้ใน
อุตสาหกรรมเคร่ืองแก้ว

คู่มือในการจดั กิจกรรมฐานการเรียนรู้ สวนหิน 14

หินออ่ น (Marble)
ประเภท หินแปร
กระบวนกำรเกิด เปน็ หนิ ทีไ่ ดจ้ ากหนิ
คารบ์ อเนตที่ตกผลกึ ใหม่
จนสามารถ มองเห็นแร่
คารบ์ อเนตอย่างชดั เจน

องค์ประกอบ แร่คัลไซต์ แร่แคลไซต์ แรโ่ ดโลไมต์
ประโยชน์ ทาหินขดั หนิ ประดับ หนิ ตกแตง่

ทาถนน รองทางรถไฟ แกะสลกั
และโต๊ะม้านั่ง

เป็นหินแปรเนื้อละเอียดถึงหยาบ แปรสภาพมาจากหินปูน โดยการแปรสัมผัสที่มีอุณหภูมิ
สูงจนแรแ่ คลไซตห์ ลอมละลายและตกผลึกใหม่ ทาปฏิกิริยากับกรดทาให้เกิดฟองฟู่ มีแร่แคลไซต์ แร่
คัลไซต์ แร่โดโลไมต์ พบในจังหวัดสระบรุ ี ลพบุรี ชลบรุ ี กาญจนบุรี และประจวบครี ขี ันธ์ หินอ่อนใช้
เป็นวัสดุตกแตง่ อาคาร หินขดั หินประดับ ทาถนน รองทางเดนิ รถไฟ โต๊ะม้านั่ง และแกะสลกั

หินแกรนติ (Granite)
ประเภท อัคนีแทรกซอน
กระบวนกำรเกดิ หนิ ท่เี กดิ จากเยน็ ตวั ภายในเปลอื ก
โลกอย่างชา้ ๆ
องคป์ ระกอบ ประกอบด้วยผลกึ ขนาดใหญ่ของ
แรค่ วอรตซส์ เี ทาใส แร่เฟลดส์ ปารส์ ี
ขาวขนุ่ และแร่ฮอร์นเบลนด์
ประโยชน์ ใช้เป็นหินประดับและหินก่อสร้าง
เป็นวสั ดสุ ว่ นผสมคอนกรตี ทาถนน

เป็นหินอัคนีแทรกซอนที่เย็นตัวลงภายในเปลือกโลกอย่างช้าๆ จึงมีเนื้อหยาบซ่ึง
ประกอบด้วยผลึกขนาดใหญ่ของแร่ควอรตซ์สีเทาใส แร่เฟลด์สปาร์สีขาวขุ่น และแร่ฮอร์นเบลนด์
หินแกรนิตแข็งแรงมาก ชาวบ้านใช้ทาครก เช่น ครกอ่างศิลา ภูเขาหินแกรนิตมักเต้ียและมียอดมน
เน่ืองจากเปลือกโลกซ่งึ เคยอยชู่ น้ั บนสึกกร่อนผุพัง เผยใหเ้ หน็ แหล่งหินแกรนติ ซงึ่ อยู่เบ้อื งล่าง

คู่มือในการจัดกจิ กรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหนิ 15

ไครนอยด์ (Crinoid)

ช่อื ท่ัวไป พลบั พลึงทะเล

ประเภทส่ิงมชี ีวติ สัตว์ทะเลโบราณไม่มีกระดกู สนั หลงั

อนุกรมวธิ ำน อาณาจกั ร : Animalia

ไฟลัม : Echinodermata

ชัน้ : Crinoidea

มหำยคุ พาลีโอโซอคิ

ยคุ เพอรเ์ มียน

อำยุ 250 – 280 ล้านปี

ลักษณะสำคัญ มรี ูปรา่ งคลา้ ยตน้ ไม้ สว่ นหัวมลี ักษณะคลา้ ย

ดอกเปน็ พุ่ม ส่วนลาตน้ ประกอบด้วยแวน่ หรือท่อนกลมมีรูตรง

กลางซ้อนตอ่ กนั ส่วนลา่ งสดุ คล้ายรากไม้ แผ่กระจายออกไปทา

หนา้ ที่ ยดึ เกาะกับพ้ืนทะเล

สว่ นทจี่ ดั แสดง เรยี กว่าลาต้นมีลักษณะเปน็ ขอ้ ๆเปน็ โครง

รา่ งทีแ่ ขง็ สรา้ งโดยสารละลายคารบ์ อเนตในน้า เนื่องจากอาศัย

อยูใ่ นทะเล

คมู่ ือในการจัดกิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหิน 16

กำรวัดและประเมินผล
ในการวัดและประเมินผล กาหนดให้มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อการ
จดั กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยบรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ้ มผ่านนทิ รรศการ

คู่มือในการจดั กิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหนิ 17
อ้ำงอิง
•http://www.pw.ac.th/emedia/media/science/lesa/8/rocks/rocks_ident/
rocks_ident.html
• https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/915
• https://adeq.or.th/science-of-stone/
• http://building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Taweesak/unit_1.2.pdf
• http://www.dmr.go.th/main.php?filename=rocks
• https://sites.google.com/site/stonesandminerals/prapheth-khxng-hin
• https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/63339/-sciear-sci

คมู่ ือในการจดั กิจกรรมฐานการเรียนรู้ สวนหนิ 18

ผู้จดั ทำ

ทปี่ รกึ ษำ ผอู้ านวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษาสระแกว้
นายประพรรณ์ ขามโนนวดั
ครู
คณะผู้จัดทำ ครผู ู้ช่วย
นักวิชาการศกึ ษา
1. นายมนสั ชยั โสคาภา นกั วชิ าการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา
2. นายศราวฒุ ิ ภูมาศ นักวชิ าการวทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา
3. นายอาพร ทองอาจ นักวิชาการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา
4. นางสาวกนกวรรณ จิปภิ พ นกั วิชาการวทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา
5. นางสาวเยาวลักษณ์ กล้วยน้อย นกั วิชาการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา
6. นางสาวสุกญั ญา ศรีภมู ิ
7. นางสาวสาวิตรี ไชยรัตน์ ครูผชู้ ่วย
8. นางสาวเดือนรตั น์ เฉลยี วกิจ
นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ผ้รู บั ผดิ ชอบฐำนกำรเรยี นรู้
นายศราวุฒิ ภมู าศ

ผอู้ อกแบบปก
นางสาวนชุ นาถ นงคพ์ รมมา

ค่มู ือในการจดั กิจกรรมฐานการเรยี นรู้ สวนหนิ 19


Click to View FlipBook Version