The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระเจ้าตากสินมหาราชและกรุงธนบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระเจ้าตากสินมหาราชและกรุงธนบุรี

พระเจ้าตากสินมหาราชและกรุงธนบุรี



กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทยอยู่ ๔๑๗ ปี (พ.ศ.๑๘๙๓ -๒๓๑๐) ในระยะเวลาอันยาวนานนี้กรงุ ศรีอยุธยา
ได้ก้าวจากการเป็นอาณาจักรเล็กๆ มาเป็นอาณาจักรใหญ่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองในด้านการปกครอง เศรษฐกิจ ตลอดจน
ศาสนา วัฒนธรรม ศิลปกรรมต่างๆ ความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยาเร่ิมเส่ือมลงตามลาดับตั้งแต่ต้นราชวงศ์บ้าน
พลูหลวง เกิดการแย่งชิงราชสมบัติกันขึ้นระหว่างพระราชวงศ์และขุนนาง เจ้านายและขุนนางช้ันผู้ใหญ่แตกความสามัคคี
แย่งชิงอานาจกันเอง ทาให้กาลังทหารแยกออกเป็นกลุ่มๆ ยิ่งบ้านเมืองว่างศึกสงครามกับประเทศเพ่ือนบ้านมาเป็น
เวลานาน กองทัพก็ไม่ได้เตรียมพร้อมที่จะสู้รบ พระมหากษัตริย์เองโดยเฉพาะอย่างยิ่งพระเจ้าเอกทัศ ซ่ึงเป็น
พระมหากษตั ริยอ์ งค์สุดท้ายของกรุงศรอี ยธุ ยา ก็ไม่ทรงพระปรีชาสามารถในการบริหารราชการแผน่ ดนิ ในขณะทศี่ ัตรูของ
ไทยคือ พม่ามีกาลังและอานาจมากขึ้นภายใต้พระมหากษัตริยใ์ นราชวงศ์อลองพญา ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ ได้เกิดมีการ
กบฏข้ึนในหัวเมืองมอญ พม่าได้ยกกองทัพเข้าตีหัวเมืองมอญที่เมืองมะริดและตะนาวศรี แล้วเคล่ือนทัพเข้ามาในดินแดน
ไทยทางด่านสงิ ขรโดยปราศจากการต่อต้านจากฝา่ ยไทย จนสามารถเข้าลอ้ มกรุงศรีอยุธยาได้ ถา้ จะวิเคราะห์สงครามครั้ง
นี้แล้ว จะเห็นได้ว่าวัตถุประสงค์ของพม่าแต่เดิมน้ัน เพียงเพื่อต้องการปราบปรามพวกกบฏชาวมอญ ซ่ึงหนีมาอยู่ที่เมือง
มะริดและตะนาวศรีเท่านั้น ยังมิได้ตั้งใจจะเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยา แต่เม่ือพม่าสามารถตีเมืองมะริดและตะนาวศรีได้อย่าง
ง่ายดาย โดยฝ่ายไทยมิได้เตรียมการต่อสู้แต่อย่างใดแสดงถึงความอ่อนแอของไทย พม่าจึงตีหัวเมืองไทยต่อเข้ามาเรื่ อยๆ
จนถึงราชธานี ในการรับศึกพม่าครั้งนี้ พระเจ้าเอกทัศมิได้ทรงแสดงความสามารถในด้านการบัญชาการรบเลย ส่วนแม่
ทัพนายกองของไทยก็อ่อนแอไม่สามารถต้านทานทัพพม่าได้ แม่ทัพนายกองที่มีความสามารถมีความรักชาติบ้านเมือง ก็
ไมไ่ ดร้ บั ความสะดวกในการสูร้ บจงึ เกิดความท้อถอย ดงั เช่นพระยากตาก (สิน) ถงึ กับตดั สินใจนาทหารประมาณ ๕๐๐ คน
ตีฝ่าวงล้อมของพม่าออกไปทางทิศตะวันออกเพ่ือรวบรวมกาลังมาต่อสู้พม่า ในที่สุดกรุงศรีอยุธยาต้องสูญเสียเอกราชแก่
พม่าเปน็ คร้ังที่ ๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ ซ่ึงพม่ามารบพุ่งอย่างโจร เพราะพม่าไม่ไดค้ ิดจะรักษาเมืองไทยไวเ้ ป็นเมืองขึ้น หากแต่
ต้องการจะริบเอาทรัพย์สมบัติและกวาดต้อนผู้คนเป็นเชลยไปใช้สอยในเมืองพม่า ด้วยเหตุน้ี เมื่อพม่าตีเมืองไหนได้ก็เผา
เสยี ทั้งเมอื งน้อยเมืองใหญ่ตลอดจนราชธานี แล้วเลกิ ทัพกลับไป ดงั น้นั การเสียกรุงครัง้ ท่ี ๒ น้ี บ้านเมอื งจึงยับเยนิ ยง่ิ กว่าใน
สมัยเสียกรุงครั้งแรก ฝ่ายหัวเมืองต่างๆ ท่ีมิได้ถูกพม่าย่ายี ก็ถือโอกาสต้ังตนเป็นอิสระถึง ๕ ชุมนุม คือ ชุมนุมเจ้าพิมาย
ชมุ นุมเจ้าพระฝาง ชุมนุมเจา้ พระยาพิษณุโลก ชุมนมุ เจ้านครศรธี รรมราชและชมุ นมุ พระยาตาก (หรือพระยาวชิรปราการ)
พระยาตากได้รวบรวมสมัครพรรคพวก ทาการสู้รบขับไลพ่ มา่ จนกระทั่งสามารถกอบกูเ้ อกราชกลบั คืนมาได้ แตส่ ภาพกรุง
ศรีอยุธยาทรุดโทรมมาก ยากแก่การบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่ พระยาตากจึงเลือกกรุงธนบุรีเป็นราชธานีแทนกรุงศรี
อยธุ ยา



ธนบุรี เป็นเมืองด่านใกล้ปากอ่าวสยาม ปรากฏช่ือในพงศาวดารกรุงศรอี ยุธยาราว พ.ศ. ๑๙๗๖ ตรงกับสมัยเจ้า
สามพระยาว่าทรงต้ังตาแหน่ง “นายพระขนอนทณบุรี” ขึ้นเพื่อเก็บภาษีและดูแลการผ่านเข้าออกของเรือสินค้าแถบนี้
ต่อมาในสมัยพระเจ้าจักรพรรดิ ราว ๑๐๐ ปีหลังจากน้ัน การค้าทางทะเลเจริญรุ่งเรืองมาก ชาวตะวันตกเริ่มแผ่อิทธิพล
เขา้ มาครอบครองเมืองทา่ แถบนก้ี ันมากขึน้ เพื่อใชเ้ ปน็ สถานกี ารค้า และแสวงหาวัตถุดิบราคาถูก

ธนบุรีในฐานะเป็นทั้งเมืองท่า เมืองหน้าด่าน และเป็นแหล่งผลิตผลไม้ช้ันดีให้อยุธยามาแต่เดิม จึงถูกยกฐานะ
ขึ้นเป็นเมือง “ทณบุรีศรีมหาสมุทร” และต่อมามีการสร้างป้อมรบอย่างใหญ่โตข้ึนท้ังสองฟากแม่น้าในสมัยพระนารายณ์
พ้นื ทีต่ รงนจ้ี ึงมคี วามสาคญั สืบเนื่องมาตลอด จนถงึ คราวสถาปนาขึ้นเปน็ ราชธานีในแผ่นดินพระเจ้าตากสนิ
พม่าเองก็รู้ว่าเมืองธนบุรีมีความสาคัญ เม่ือได้ชัยชนะและถอนทัพกลับจากอยุธยา จึงวางกองกาลังไว้ท่ีค่ายโพธ์ิสามต้น
หนงึ่ แห่ง และท่ีเมืองธนบุรอี กี หน่ึงแหง่

กรุงศรีอยุธยาถูกกองทัพพม่าเข้ารื้อเผาทาลายเมือง เม่ือวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๑๐ พระมหากษัตริย์ เช้ือ
พระวงศ์ ขนุ นางและไพรฟ่ ้าข้าแผ่นดินถูกจบั เป็นเชลยกลับไปเมืองพม่า ราชอาณาจักรอยุธยาท่ีเคยรุ่งเรืองที่สดุ ในภูมภิ าค
ก็ล่มสลายทุกหัวระแหง มีกลุ่มโจรปล้นสะดม มีการรวบรวมซ่องสุมผู้คนต้ังเป็นชุมนุมเพื่อป้องกันตนเองและพวกพ้องอัน
ท่ีจริงสภาวการณ์ดังกล่าวนี้ได้เกิดข้ึนก่อนเวลากรุงศรีอยุธยาจะแตกเสีย อีก เพราะในช่วงเวลาน้ันทุกคนต่างตระหนักถึง
ความล่มสลายของระบบป้องกันตนเอง ของราชอาณาจักรแล้ว ดังจะเห็นภาพได้จากตานานเรื่องชาวบ้านบางระจั นท่ี
รวมตัวกันเพ่ือปกป้อง ชุมชนของตนข้าราชการไม่มีความคิดท่ีจะต่อสู้เพ่ือป้องกันกรุงศรีอยุธยา ขุนนางหัวเมืองที่ถูกเรียก
เข้ามาป้องกันพระนครก็พยายามหาทางหลีกเลี่ยง เพื่อกลับไปป้องกันบ้านเมืองและครอบครัวของตนท่ีอยู่ตามหัวเมือง
เนื่อง จากทุกคนเห็นว่า พระนครศรีอยุธยาต้องเสียเอกราชอย่างแน่นอน ในช่วงเวลาน้ัน ทุกคนจึงคิดแต่จะหาทางเอาตัว
รอดไว้ก่อนแม้แต่พลเมืองในพระนครศรีอยุธยาที่ถูกกองทัพ พม่าล้อมอยู่จนขาดแคลนเสบียงอาหาร ก็มีอยู่เป็นจานวนไม่
นอ้ ยทีไ่ ด้แอบหลบหนีออกจากพระนครเข้าไปอย่กู บั กอง ทัพพมา่ เพือ่ รกั ษาชวี ติ เอาไว้



ดว้ ยเหตนุ ้ี เมอื่ กรุงศรอี ยธุ ยาแตก พม่าไดเ้ ขา้ เมืองกวาดต้อนผูค้ น และทรัพยส์ มบัตกิ ลบั ไปเมืองพม่าโดยแต่งต้งั ใหส้ กุ ้ีทหาร
พม่าเชื้อสายมอญเป็นพระนายกองอยู่ที่กรุงศรีอยุธยา ใหค้ อยรวบรวมทรัพย์สิน และผู้คนทอี่ าจมีประโยชนอ์ ยบู่ า้ งเพื่อ
ส่งกลบั ไปเมืองพมา่ ภายในราชอาณาจักรอยธุ ยาจงึ เกิดการจลาจลวนุ่ วายไปทั่ว มกี ารซ่องสมุ ผ้คู นเพื่อปลน้ สะดม และ
ปอ้ งกนั ตนเองอยูท่ วั่ ไป แตห่ นังสอื พระราชพงศาวดารได้เลือกกล่าวเฉพาะท่เี ป็นชุมนมุ ใหญ่และมี บทบาทสาคัญตอ่ มา
เพยี ง ๕ กลมุ่ คือ

๑.ชมุ นุมเจ้าพระฝาง ตัง้ อยู่ทีส่ วางคบุรี ทางเหนือของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีอาณาเขตต้ังแตเ่ มืองพิชัยไปจนถึงเมือง
แพร่ เจา้ พระฝาง (เรอื น) เป็นสังฆราชเมอื งสวางคบรุ ี ซึ่งในอดีตเป็นพระภกิ ษชุ ั้นราชาคณะของเมืองเหนือเรยี กว่า สงั ฆราช
เรือนมีความสามารถทางคาถาอาคม จึงตั้งตัวเป็นใหญ่ได้ทั้งท่ีอยู่ในสมณเพศ (แต่ใช้ผ้าแดงนุ่งห่มแทนผ้าเหลือง) และ
รวบรวมผู้คนซ่องสุมกาลังป้องกันตนเองอยู่ท่ีเมืองฝางซึ่งเป็นเมืองชายแดนเหนือสุด ตามลาแม่น้าน่านของกรุงศรีอยุธยา
เป็นเมืองทม่ี ีพระธาตุศักด์ิสทิ ธิ์ที่นับถือกันมาตั้งแต่เมื่อครั้ง เมืองฝางยังเป็นดินแดนของแคว้นสุโขทัยปัจจุบันตั้งอยู่ท่ีตาบล
ผาจกุ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุตรดติ ถ์

๒.ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ต้ังอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลก เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เป็นหัวหน้า เป็นชุมนุมท่ี
สาคัญทางเหนอื มีอาณาเขตตง้ั แต่เมืองพิชัย ลงมาถึงนครสวรรค์ เจ้าพระยาพิษณุโลกเป็นขนุ นางใหญ่ท่ีมีความสามารถใน
ดา้ นการปกครองและการรบ พวกขุนนางที่หลบหนีพม่าออกจากรงุ ศรีอยุธยาได้ไปสมทบกับชุมนุมนี้เป็นอันมาก ต่อมาถึง
แก่พิราลยั หัวหนา้ ชุมนุมคนตอ่ มา คือ พระอินทร์อากร

๓.ชุมนุมเจ้าพิมาย ต้ังอยู่ที่อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน มีเจ้าพิมายรวบรวมผู้คนในละแวก
เมืองพิมาย ซ่ึงเป็นบริเวณท่ีมีผู้คนมาก เนื่องจากเป็นดินแดนของการต้ังรกรากท่ีอาศัยมาแต่ด้ังเดิม และเป็นบ้านเมืองท่ี
เจริญมาตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรขอมกัมพูชา กรมหมื่นเทพพิพิธ โอรสสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เช้ือพระวงศ์ช้ันสูง
ของราชสานกั อยุธยา ได้หนมี าอยู่กบั เจา้ พิมายดว้ ย โอรสสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวบรมโกศ เจา้ เมืองพมิ ายมคี วามจงรักภกั ดตี ่อ
ราชวงศ์บ้านพลูหลวง จึงได้สนับสนุนข้ึนเป็นใหญ่แต่อานาจท้ังหลายยังคงอยู่ท่ีเจ้าพิมาย ซ่ึงมีฐานกาลังของคนพื้นเมือง
พวกเดียวกัน

๔.ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช เมืองใหญ่บนดินแดนแหลมมลายูของ
ราชอาณาจักรอยุธยาเดิม และเคยเป็นเมืองสาคัญแต่โบราณ ที่ถูกกรุงศรีอยุธยาผนวกดินแดนไว้ ตั้งแต่ก่อนการสถาปนา
กรุงศรีอยุธยา ปลัดเมืองนครศรีธรรมราชช่ือหนูหรือหลวงสิทธินายเวร ต้ังตัวเป็นใหญ่ หัวเมืองอื่นๆ ตั้งแต่ใต้เมืองไชยา
จังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป อาทิเช่น เมืองสงขลา เมืองพัทลุง ต่างก็ยอมรับอานาจของเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช (หนู) แต่
โดยดี

๕.ชุมนุมพระยาตาก ต้ังอยู่บริเวณหัวเมืองชายทะเลทางฝั่งตะวันออก หัวหน้าคือ พระยาตากสิน ซ่ึงต่อมาคือ
พระเจ้ากรุงธนบุรี หรือที่เรียกกันท่ัวไปว่า พระเจ้าตากสินมหาราช ขุนนางหัวเมืองเหนือของกรุงศรีอยุธยาที่ถูกเรียกมา
ชว่ ยป้องกันพระนครศรี อยุธยา ได้นาทหารหัวเมืองท่ีติดตามมา เมื่อพม่าเขา้ ล้อมกรุงศรีอยุธยา ได้พยายามป้องกันรักษา
บา้ นเมอื งอยา่ งเต็มที่ แต่สถานการณ์ของกรงุ ศรีอยุธยาขณะนั้นคับขันมาก ทาให้พระยาตากรวบรวมสมัครพรรคพวกไทย-
จีน ประมาณ ๕๐๐ คน ตีฝ่าวงล้อมกองทัพพม่า ที่ปิดล้อมกรุงศรีอยุธยาออกมาได้ และมาต้ังมั่นรวบรวมผู้คนจาก
บา้ นเมืองแถบชายฝ่งั ทะเลตะวันออก ตงั้ แต่จงั หวัดระยองลงไป



การทีเ่ จ้าตากเลอื กทต่ี ้ังมัน่ ทางหัวเมืองชายฝัง่ ทะเลตะวันออก เพราะ

๑.หวั เมอื งชายทะเลฝ่งั ตะวนั ออกไม่ไดเ้ ป็นเส้นทางท่ีพม่าเดินทัพผา่ น

๒.เจ้าตากตัดสินใจเข้าโจมตีเมืองจันทบุรี เพราะจันทบุรีเป็นหัวเมืองเอกทางฝ่ังทะเลด้านตะวันออก อุดม
สมบรู ณ์ดว้ ยขา้ วปลาอาหาร สามารถคา้ ขายกบั พ่อค้าจีนทางทะเลได้สะดวก และยงั มปี ้อมปราการม่นั คง เหมาะสาหรับยึด
เป็นท่ีมั่นเพ่ือเตรียมการรวบรวมไพร่พลต่อไป เจ้าตากยึดเมอื งจันทบุรีได้ในเดือน ๗ (มิถุนายน) พ.ศ.๒๓๑๐ หลังจากเสีย
กรุงศรอี ยุธยาแลว้ ๒ เดือน

บ้านเมืองท่ีแตกแยกต้ังตัวเป็นก๊กเป็นเหล่าน้ี แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า กรุงศรีอยธุ ยาที่ถูกพมา่ ตีแตกน้ัน มิใช่
แตกแตเ่ พยี งตัวพระนครที่ถูกเผาผลาญย่อยยับอย่างเดียว แต่ระบบท่ยี ึดโยงบ้านเมืองต่างๆเข้าไวใ้ นอาณาจักรเป็นอันหนึ่ง
อันเดียว กันน้ัน ก็ได้แตกสลายไปด้วย สภาพของบ้านเมืองในเวลาน้ัน จึงเป็นดังท่ี ศาสตราจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ แห่ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กลา่ วไวใ้ นหนังสือ การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ว่า "...ทุก คนกลับมายนื บนพ้ืนที่ราบเสมอ
กัน ไมม่ กี าเนดิ ยศถาบรรดาศกั ด์ิ หรือศักดนิ า สาหรับใช้เป็นขอ้ อ้างในการมีอานาจเหนอื ผูอ้ น่ื ..."

กก๊ เหล่าท่เี ปน็ อิสระไม่ขึน้ ตอ่ กันเหล่าน้ี จึงกลับไปมีสภาพเหมือนกับแวน่ แคว้นเมืองเล็กเมืองน้อย ท่ีก่อต้ังขึ้นมา
ใหม่ และออกปล้นสะดมต่อสู้กัน โดยมีลักษณะภายในที่แตกต่างกันออกไป บางก๊กก็มีลักษณะของการรวมตัวโดยใช้
อานาจศักดิ์สิทธ์ิเป็นพ้ืนฐาน บางก๊กมีลกั ษณะท่ีต้ังอยู่บนระบบเดิมภายในที่ยังหลงเหลืออยู่ในท้องถ่ิน แม้ว่าก๊กพิมายจะมี
เจ้านายราชวงศ์เดิมอยู่ด้วย แต่ก็มิได้มีความหมายของการเป็นมูลฐานแห่งการรวมตัวน้ัน กล่าวคือแต่ละหมู่เหล่าที่ต้ังตัว
เป็นอิสระน้ัน มีลักษณะเพ่ือป้องกันตนเองในเบ้ืองแรก และพัฒนาไปสู่การจัดตั้งอานาจรัฐใหม่เฉพาะท้องถิ่นของตน ไม่
ปรากฏหลักฐานท่ีแสดงบทบาทหรือพฤติกรรมของก๊กใดเลย ที่ต้องการจะพลิกฟ้ืนราชอาณาจักรอยุธยาขึ้นมาใหม่
เน่ืองจากเห็นว่าได้กลายเป็นเมืองเก่าที่ไร้ประโยชน์แล้ว มีแต่ก๊กท่ีเมืองจันทบุรีของพระยาตากสินเพียงก๊กเดียวเท่าน้ัน ท่ี
แสดงเจตนารมณ์อย่างชัดเจนต้ังแตเ่ ร่ิมแรกในการทีจ่ ะกลบั มาพลิกฟืน้ พระนครศรอี ยุธยาข้ึนใหมใ่ ห้ไดๆ้

เมื่อ กองทัพพม่าเข้าล้อมกรุงศรีอยุธยานั้น พระยาตากสินซ่ึงเป็นเจ้าเมืองตากถูกเรียกระดมพล ให้เข้ามา
ปอ้ งกันพระนครศรีอยุธยา ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๓๐๘ พระยาตากสนิ ได้สู้รบกับกองทัพพมา่ และได้รับชัยชนะหลายคร้ัง แต่ดังที่
ได้กล่าวแล้ว ถึงความเส่ือมโทรมภายในราชอาณาจักรหลายประการที่ทาให้พระยาตากสินเห็น ว่า กรุงศรีอยุธยาไม่
สามารถท่ีจะรอดพ้นเง้ือมมือกองทัพพม่าอย่างแน่นอน ดังน้ัน ก่อนเวลาที่กรุงศรีอยุธยา จะเสียเอกราชให้แก่กองทัพพม่า
ประมาณ ๓ เดือน พระยาตากสินพร้อมกับนายทหารหัวเมือง ทร่ี ่วมรบมาด้วยกันจานวนประมาณ ๕๐๐ คน ได้ยกกาลังตี
ฝ่าทัพพม่าออกไปทางทิศตะวันออก มุ่งหน้าไปสู่หัวเมืองชายทะเลฝั่งตะวันออก ซึ่งกองกาลังทัพพม่าไม่สามารถเข้าไป
รุกรานได้ ในที่สุด เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่กองทัพพม่าแล้ว กอง กาลังของพระยาตากสินก็ยึดเมืองจันทบุรีท่ีต้ังตัว เป็น
อิสระอยู่ และได้ใช้เมืองจันทบุรีเป็นที่รวบรวม กาลังคนแถบหัวเมืองใกล้เคียง ท้ังโดยวิธีการ เกลี้ยกล่อม และ ใช้กาลัง
ปราบปราม ในช่วง เวลาน้ัน มีข้าราชการกรุงศรีอยุธยาได้เข้ามาร่วมด้วย คนสาคัญคือ นายสุดจินดา มหาดเล็ก หุ้มแพร
ซ่ึงภายหลังคือ สมเดจ็ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ในรัชการที่ ๑ แหง่ ราชวงศจ์ กั รี

การดาเนนิ งานกอู้ สิ รภาพ

เจ้าตากใช้เมืองจันทบุรีเป็นแหล่งตระเตรียมการท่ีจะเข้ามากอบกู้กรุงศรีอยุธยาให้พ้นจากอานาจของพม่า
ระหว่างฤดูฝน ไดต้ ่อเรือรวบรวมกาลังผคู้ นและอาวุธ เจ้าตากพิจารณาวา่ ในระยะน้นั มีผู้คนต้ังตวั เป็นใหญ่หลายชมุ นุมดว้ ย
ผู้ที่จะเป็นใหญ่ได้จาเปน็ จะต้องกาจัดอานาจพม่าให้พ้นจากราชธานีเสียกอ่ น ดงั น้นั เม่ือสิ้นฤดูฝนเจ้าตากได้ควบคุมเรือรบ
๑๐๐ ลา รวบรวมไพร่พล ประมาณ ๕,๐๐๐ คน ยกกองทัพเรือออกจากเมืองจันทบุรีมาถึงปากแม่น้าเจ้าพระยาในเดือน



๑๒ ตีเมืองธนบุรีและจับตัวนายทองอินประหารชีวิตแล้วขึ้นไปยังค่ายโพธ์ิสามต้น สามารถขับไล่พม่าออกไปจากกรุงศรี
อยธุ ยาได้เป็นผลสาเร็จ หลังจากท่ไี ทยตกเป็นเมืองข้นึ ของพมา่ เพยี ง ๗ เดือนเทา่ นั้น

สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราชสามารถก้เู อกราชและรวบรวมคนไทย ต้ังเปน็ อาณาจกั รไทยใหเ้ ป็นปึกแผน่ ได้เป็นเพราะ

๑.พระปรชี าสามารถในการรบของพระองค์

๒.พระปรชี าสามารถในการผูกมัดนา้ ใจคน จงู ใจผู้อ่นื ทรงมีความสขุ ุมรอบคอบ และเด็ดเดีย่ ว

๓.ทหารของพระองค์มีความสามารถ มีระเบียบวินัย กล้าหาญ มีความเป็นน้าหน่ึงใจเดียวกันในอันที่จะสร้าง
ความมั่นคง และความปลอดภัยให้และประเทศโดยอุทิศตัวเพื่อประเทศชาติอย่างแท้จริง เม่ือต้ังกรุงธนบุรีเป็นราชธานี
อาณาจักรของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีอาณาเขตเพียงกรุงธนบุรี หัวเมืองรายรอบและหัวเมืองชายทะเล
ตะวันออกเท่าน้ัน คร้ังเม่ือพระองค์ปราบปรามชุมนุมต่างๆเปน็ ผลสาเร็จแล้ว อาณาจักรของพระองค์ก็กว้างขวางข้ึน การ
รวบรวมอาณาเขตภายในราชอาณาจักรของพระองค์ ใชเ้ วลาเพียง ๓ ปเี ทา่ น้นั บ้านเมอื งก็กลับสสู่ ภาพปกติอกี คร้งั

การปราบปรามชมุ นุมตา่ ง ๆ

แผนการปราบปรามชุมนุมต่างๆ เริ่มขึ้นใน พ.ศ. ๒๓๑๑ ด้วยการยกทัพเรือจากธนบุรี เพื่อปราบปรามชุมนุม
พิษณุโลก แต่ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะได้รับการต่อต้านจนกระท่ังพระเจ้าตากทรงบาดเจ็บต้องยกทัพกลับ ส่วนทาง
พระยาพิษณุโลกเห็นเป็นโอกาสเหมาะจึงตั้งตัวเป็นกษัตริย์ พอราชาภิเษกได้ ๗ วัน ก็ประชวรและถึงแก่พิราลัยในท่ีสุด
พระอินทร์อากรน้องชายได้ขึ้นครองเมืองแทน เมืองพิษณุโลกก็เร่ิมอ่อนแอทรุดโทรมลงตามลาดับ ด้วยเหตุนี้เจ้าพระฝาง
เห็นเป็นโอกาสเหมาะ จึงยกทัพลงมาตีเมืองพิษณุโลกเอาไว้ได้ในท่ีสุด ทางฝ่ายสมเด็จพระเจ้าตาก เม่ือทราบข่าวพระยา
พิษณุโลกถึงแก่พิราลัยและเมืองพิษณุโลกเกิดรบพุ่งกับเจ้าพระฝางเมืองสวางคบุรี ก็เห็นเป็นโอกาสเหมาะจึงยกทัพไปตี
ชุมนุมเจ้าพิมาย และตีได้เป็นชุมนุมแรก พ.ศ.๒๓๑๒ โปรดให้ยกทัพไปตีชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช และสามารถตีเมือง
นครศรีธรรมราชได้ มีผลทาให้อานาจของกรุงธนบุรขี ยายไปถึงสงขลา พทั ลุงและเทพา พ.ศ.๒๓๑๓ ไดย้ กทัพไปปราบเจ้า
พระฝางไดเ้ ป็นผลสาเร็จ ซง่ึ ขณะเดียวกนั ก็ยดึ เมืองพิษณโุ ลกไดด้ ้วย

เมื่อพระยาตากสินสามารถรวบรวมกาลังคน สะสมอาวุธ และต่อเรือ ท่ีเมืองจันทบุรีได้มากพอแล้ว เมื่อส้ินฤดู
ฝน จึงได้ยกกองทัพไปยังกรุงศรีอยุธยา และรบชนะพม่าที่ค่ายโพธ์ิสามต้น ในท่ีสุดก็สามารถเอาชนะกองกาลังพม่าท่ีมีสุกี้
คุมกาลังอยู่ได้ สกุ ต้ี ายในทร่ี บ พระยาตากสิน จงึ ยึดกรงุ ศรอี ยธุ ยาที่เหลือแต่ซากปรักหักพงั คืนมาได้ หลังจากทีต่ ้องเสียกรุง
ศรีอยุธยานานถึง ๗ เดือน พระยาตากสินเห็นว่า ยังไม่มีกาลังเพียงพอ ท่ีจะบูรณะ และรักษาเมืองหลวงเก่าแห่งนี้ได้ จึง
รวบรวมผูค้ นกลบั ไปตั้งมน่ั ทเ่ี มอื งธนบุรี

พระยาตากสินทาพิธีปราบดาภิเษกเป็นกษัตริย์ครองกรุงธนบุรี เม่ือวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๑๑ ขณะมี
พระชนมายุได้ ๓๔ พรรษา ทรงพระนามว่า สมเด็จพระศรีสรรเพ็ชญ์ หรือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔ อันเป็นการ
แสดงเจตนารมณ์สืบพระสมมติวงศ์แห่งกษัตริย์ กรุงศรีอยุธยาโดยพระนาม แต่คนท่ัวไปนิยม ขนานพระนามพระองค์ว่า
สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบุรี หรือสมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช

พระราชประวตั ิ

พระราชประวัติของสมเดจ็ พระเจ้าตากสิน มหาราชกอ่ นเข้ารับราชการน้ัน คอ่ นข้างคลุมเครือ ส่วนมากที่ทราบ
กันอยู่นั้น เป็นเร่ืองที่เขียนขึ้น ในภายหลังโดยปราศจากหลักฐานใดๆ ทั้งสิ้น ท้ังน้ีเพราะการเขียนพระราชประวัติของ
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในสมัย น้ัน เพ่ือมุ่งเทิดพระเกียรติพระองค์เป็นสาคัญ มิได้มีแนวคิด เพื่อการเสนอ



ข้อเท็จจริงเหมือนเช่นในปัจจุบัน หลักฐานอันเป็นข้อเท็จจริงที่ ศาสตราจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ได้นาเสนอประกอบการ
วิเคราะห์ ในหนังสือ การ เมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี นั้น จึงมีเพียงว่า พระองค์มีพระนามเดิมว่า สิน ทรงมีเช้ือสาย
ทางบดิ าเป็นจนี แตจ้ ๋ิว แซ่แต้ ทรงพระราชสมภพ เมอื่ พ.ศ. ๒๒๗๗ ในตน้ รชั สมัยพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ

ก่อนเข้ารับราชการ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีอาชีพเป็นพ่อค้าเกวียน คือ มีกองเกวียนบรรทุกสินค้าขึ้น
ไปแลกเปล่ียนซ้ือขายสินค้า ท่ีเมืองตาก ซึ่งเป็นเมืองชายเขตขนาดเล็กของกรุงศรีอยุธยา พระองค์อาจจะคุมกองเกวียน
ตดิ ต่อกบั เมืองชายเขตแถบเมืองเหนอื เช่น พษิ ณุโลก พชิ ยั ฝาง ด้วย ดังน้ัน พระองค์จึงเข้าใจภูมปิ ระเทศ และฤดูกาลของ
บ้านเมืองในถ่ินนั้นได้เป็น อย่างดี การค้าระหว่างเมืองชายเขตกับส่วนกลาง ท่ีกรุงศรีอยุธยาช่วยสร้างความม่ังค่ังให้แก่
พระองค์ จนทาให้สามารถเป็นท่ีรู้จักคุ้นเคยกับขนุ นาง ชั้นสูงในส่วนกลาง ดังน้ัน เมื่อเมืองตากซึ่งเป็น เมอื งชายเขตขนาด
เล็ก และไม่ค่อยมีความสาคัญ เก่ียวกับความม่ันคงภายในราชสานัก ขาดเจ้าเมือง เพราะเจ้าเมืองคนเก่าถึงแก่กรรม
เนื่องจากกรุงศรีอยุธยามีระบบขุนนางท่ีล้มเหลว พระเจ้าตากสิน ซึ่งเป็นพ่อค้า ที่สามารถเข้าถึงวงในของระบบราชการ
ของกรุงศรีอยธุ ยาได้ จึงได้รบั การแต่งตัง้ ใหเ้ ป็นเจ้าเมอื งตาก โดยที่การเปน็ เจ้าเมืองตากสามารถอานวยผลประโยชน์ให้แก่
การค้าของพระองค์ ได้

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเป็นเจ้าเมืองตากอยู่ได้ไม่นาน ก็เกิดสงครามพม่าล้อมกรุงศรีอยุธยา พระองค์ได้
ถูกเรียกตวั เข้ามาช่วยป้องกันพระนคร ในฐานะเจ้าเมืองตาก พระองค์พร้อมกบั ทหารจานวน ๕๐๐ คน จึงเข้ามาเป็นกอง
กาลังป้องกันพระนครอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง แต่หลังจากเห็นว่า กรุงศรีอยุธยาคงไม่รอดจากเงื้อมมือกองทัพพม่าแน่นอนแล้ว
พระองคพ์ ร้อมไพร่พลคู่พระทัย ทงั้ ๕๐๐ คน กไ็ ด้ตฝี ่าวงล้อมกองทัพพม่าออกไปตั้งหลัก เพือ่ ตอ่ ส้กู บั พมา่ ตอ่ ไป

เม่ือได้ปราบดาภิเษกเสวยราชสมบัติแล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้พยายามสร้างความเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกัน ให้กลับคืนมาสู่ราชอาณาจักรสยามทยี่ ้ายมาตั้งอยู่ที่กรุงธนบุรี โดยทรงปราบปรามเมอื งตา่ งๆ ให้ยอมรับพระราช
อานาจของพระองค์ ซ่ึงบางเมืองต้องใช้กาลัง บางเมืองก็สามารถเกล้ียกล่อมจนยอมสวามิภักด์ิ จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๓๑๓
เม่ือพระองค์สามารถปราบก๊กของเจ้าพระฝางได้เป็นก๊กสุดท้าย ก็สามารถรวบรวมอาณาเขตเดิมของกรุงศรีอยุธยา
กลบั คนื มาได้ดงั เดมิ โดยมศี ูนย์กลางอยทู่ ก่ี รุงธนบุรี เมืองหลวงแห่งใหม่ของราชอาณาจกั รสยาม

นอกจากการรวมอาณาเขตบ้านเมืองได้ กลับคืนมาเป็นปึกแผ่นดังเดิมแล้ว พระองค์ก็ได้ส่งกองทัพไป
ปราบปรามเมืองประเทศราชอื่นๆ คือ เขมร และลาว ให้เข้ามาอยู่ในพระราชอานาจอย่างที่เคยเป็นในสมัย
พระนครศรีอยุธยา ยิ่งไปกว่าน้ัน แคว้นล้านนาที่พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาไม่เคยได้เข้าครอบครองอย่าง ถาวร
นอกจากยกทัพไปเอาชนะไดช้ ่ัวคราวเท่านัน้ เมื่อยกทัพกลับ เจ้าเมืองท้ังหลายของล้านนาก็กลับเป็นอิสระปกครองตนเอง
กันต่อไป ในสมัยธนบุรี สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงได้ทรงสนับสนุนชาวล้านนาตระกูลหนานทิพย์ช้าง ให้ต่อสู้ขับไล่พม่า
ออกจากดินแดน ล้านนาจึงเป็นดินแดนทเี่ ขา้ รว่ มอย่กู ับกรุงธนบรุ ี และกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ในลาดบั ต่อมาอย่างย่ังยืน

ตลอดระยะเวลา ๑๕ ปี แห่งการเสวยราชสมบัติที่กรุงธนบุรีน้ัน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชต้องทรง
ตรากตราอย่างมาก ต่อการบริหารราชการแผ่นดินท่ีเพ่ิงฟื้นตัวข้ึนมาใหม่ การท่ีทรงมีชาติกาเนิดจากครอบครัวพ่อค้า อีก
ท้งั เม่ือรับราชการ ก็เป็นเพียงเจ้าเมืองขนาดเล็กชายเขต และได้เข้ามากรุงศรีอยุธยา กต็ ่อเมื่อบ้านเมืองอยู่ในภาวะคับขัน
แล้ว ดังนั้น เมื่อต้องทรงดารงพระอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์ผู้สืบสมมติวงศ์แห่งราช อาณาจักรสยาม จึงสร้างความ
ลาบากพระทัยให้แก่พระองค์อยู่มิใช่น้อย การที่ทรงประสบความสาเร็จจากการรบ หรอื การท่ีทรงพยายามฟนื้ ฟูเศรษฐกิจ
ของบ้านเมือง จนราชสานักจนี ยอมรับการเปน็ พระมหากษตั ริย์ของพระองค์ และใหม้ กี ารตดิ ต่อค้าขายดว้ ย หรือการทีท่ รง
เป็นพุทธมามะกะอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา ก็มิได้ทาให้สถานภาพการเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรสยามของ
พระองค์ มีความสมบูรณ์ได้เลย



เหตุที่เป็นเช่นน้ี เพราะพระองค์ไม่ได้มีเช้ือสายของพระราชวงศ์ หรือขุนนางแห่งราชสานักกรุงศรีอยุธยา ผู้ท่ีช่วยส่งเสริม
อานาจให้แก่พระองค์ จนขึ้นสู่ราชบัลลังก์ได้น้ัน ก็ล้วนเป็นทหารและขุนนางหัวเมืองทั้งสิ้น แม้เม่ือภายหลัง จะมีขุนนาง
จากอดีตราชสานักส่วนกลางกรุงศรีอยุธยา มาเข้าร่วมกับพระองค์ เพ่ือช่วยฟ้ืนฟูบ้านเมือง และจารีตราชประเพณี
ท้ังหลายบ้างก็ตาม ระยะเวลาท่ีไม่อานวยก็คงไม่สามารถเสริมสร้างความเป็นสถาบันให้แก่ พระองค์ได้ และพระองคเ์ องก็
อาจมองไม่เห็นความสาคัญในด้านน้ี หรือทรงมองแตกต่างออกไปด้วยก็ได้ ดังจะเห็นได้จากขอบเขตพระราชฐานเล็กๆ ท่ี
พระราชวังเดิมของพระองค์ ทอ้ งพระโรงขนาดเลก็ เป็นอาคารโถงธรรมดา มไิ ด้มยี อดปราสาทแสดงความยงิ่ ใหญ่ แห่งพระ
ราชอานาจของพระมหากษัตริย์เหมือนกับกรุงศรีอยุธยา หรือแม้แต่จะเทียบกับกรุงรัตนโกสินทร์เม่ือแรกสถาปนาใน
ภายหลัง พระตาหนักที่ประทับก็เปน็ เพียงเก๋งจีนเลก็ ๆ ทึบ และคับแคบ อีกท้งั พระราชจรยิ วตั รของพระองค์ ที่ทรงเปิดเผย
อาจจะเป็นลักษณะของผูท้ ีม่ าจากครอบครัวชาวจนี ท่ีสมถะกไ็ ด้

ด้วยเหตุน้ี จึงปรากฏหลักฐานที่แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของพระองค์ต่ออาณาประชาราษฎร์ และขุนนาง
ทั้งหลายว่า ทรงประพฤติปฏิบัติเย่ียงพ่อกับลูก แต่การเป็นพ่อของพระองค์นั้น ทรงเป็นพ่อตามแบบฉบับชาวจีน ที่ลูก
จะต้องเช่ือฟังปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด ในขณะท่ีความเป็นลูกของขุนนางท้ังหลายน้ัน มิใช่ลูกอย่างที่เป็นในครอบครัวชาว
จีน พฤติกรรมของพระองค์ ท่ีแตกต่างไปจากราชประเพณีของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรกรุง ศรีอยุธยา ที่เคยมี
มา ในขณะท่ีพระราชอานาจแห่งความเป็นสถาบันพระมหากษัตริย์ของพระองค์ยังไม่ สมบูรณ์ ย่อมเป็นความเปราะบาง
แห่งราชบลั ลังก์ ดังจะเห็นได้จากหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ นช่วงปลายรชั กาล ท่ีกลา่ วว่า พระองค์ทรงเสียพระสติ ไมว่ ่า
จะเป็นการสร้างข่าว เพ่ือทาลายพระองค์ หรือทรงเป็นเช่นนั้นจริงๆ ก็ตาม แต่มูลเหตุท่ีมา ย่อมมาจากพฤติกรรมของ
พระองค์ ทแ่ี ตกตา่ งไปจากขนบธรรมเนยี มราชประเพณีของพระมหากษัตริย์ ท่ีสบื มาแต่ราชสานกั กรุงศรีอยธุ ยาเปน็ สาคัญ
ข่าวเรอ่ื งการวิกลจรติ ของพระองค์ แพร่ออกมาได้ โดยไม่มีผใู้ ดออกมาปกป้องเชน่ นี้ แสดงใหเ้ ห็นว่า พระองค์ขาดบุคคลท่ี
ใกล้ชิด ซ่ึงมีอานาจ และสามารถไว้ใจได้ แตกต่างจากบุคคลใกล้ชิดของพระมหากษัตริย์ในอดีตท่ีผ่านมา จะเป็นขุนนาง
ผู้ใหญ่ ซึ่งส่วนมาก จะเป็นญาติพี่น้องของพระมหากษัตริย์ หรือพระราชินี ท้ังหมดท่ีกล่าวมานี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ทาให้
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ต้องสูญเสียอานาจ และถูกปลงพระชนม์ในท่ีสุด เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๕ ซึ่งถือกันว่า พระองค์
ทรงหมดบญุ ญาธิการแลว้ ตามแนวคดิ ของคนในสมัยน้นั กรงุ ธนบุรที ี่มีฐานะเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรสยาม และมี
พระมหากษตั รยิ ์เปน็ ประมุขเพียงพระองค์ เดียวตลอดระยะเวลา ๑๕ ปี จงึ ไดส้ ้ินสุดลง

หลังจากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสามารถกู้เอกราชคืนมาจากพม่าแล้ว สภาพบ้านเมืองของกรุงศรีอยุธยาทุดโทรม
มาก ไมเ่ หมาะสมท่จี ะใชเ้ ปน็ เมอื งหลวงอีกตอ่ ไป เพราะ

๑. กรุงศรอี ยธุ ยาถกู ทาลายชารุดทรดุ โทรมมาก ยากแก่การบรู ณะใหด้ ดี ังเดมิ ได้

๒. กรุงศรีอยุธยามีบริเวณกว้างขวางมาก เกินกว่ากาลังของพระองค์ที่มีอยู่ เพราะผู้คนอาศัยอยู่ตามเมืองน้อย
สว่ นมากหลบหนีพมา่ ไปอยู่ตามปา่ จึงยากแก่การรักษาบา้ นเมอื งได้สะดวกและปลอดภยั

๓. ข้าศึกโดยเฉพาะพม่ารู้ลู่ทางภูมิประเทศและจุดอ่อนของกรุงศรีอยุธยาเป็นอย่างดี ทาให้ไทยเสียเปรียบใน
ดา้ นการรบ

๔. ท่ตี ้งั ของกรุงศรอี ยธุ ยาเป็นอันตรายท้งั ทางบกและทางน้า ข้าศึกสามารถโจมตีได้สะดวก

๕. กรุงศรีอยุธยาต้ังอยู่ห่างจากปากแม่น้ามากเกินไป ทาให้ไม่สะดวกในการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ ซึ่ง
นบั วนั จะเจริญขึน้ เรอื่ ยๆ

ดังนนั้ สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช จึงทรงตัดสนิ ใจเลอื กเอากรุงธนบุรเี ป็นราชธานี



สาเหตุสาคญั ในการเลอื กกรุงธนบรุ เี ปน็ ราชธานี

๑. กรุงธนบรุ ีเปน็ เมืองขนาดเล็ก เหมาะสมกบั กาลงั ป้องกนั ทั้งทางบกและทางนา้

๒. กรุงธนบรุ ีตัง้ อย่ปู ากแม่นา้ เจ้าพระยา สะดวกในการตดิ ตอ่ คา้ ขายกับตา่ งประเทศ

๓. สะดวกในการควบคุมการลาเลียงอาวุธและเสบียงต่างๆ ไปตามหัวเมืองหรือจากหวั เมืองเข้ามาชว่ ย เม่ือเกิด
ศึกสงคราม

๔. ถ้าหากข้าศึกยกกาลังมามากเกินกว่ากาลังของทางกรุงธนบุรีจะต้านทานได้ก็สามารถย้ายไปต้ังม่ันท่ีจันทบุรี
ได้ โดยอาศัยทางเรอื ได้อยา่ งปลอดภยั

๕.กรุงธนบุรีมีป้อมปราการอยู่ทั้งสองฟากแม่น้า ท่ีสร้างไว้ต้ังแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชหลงเหลืออยู่
สามารถใช้ในการป้องกันข้าศึกได้บ้างที่จะเข้ามารุกรานโดยยกกาลังมาทางเรือ คือ ป้อมวิไชยประสิทธ์ิ และป้อมวิไชเย
นทร์

การปอ้ งกนั พระราชอาณาจกั ร

ปัญหาที่สาคัญย่ิงตลอดรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คือ การรักษาเอกราชของประเทศให้ม่ันคง
ปลอดภัย หลังจากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงรบชนะพม่าท่ีค่ายโพธิ์สามต้น และทรงกอบกู้เอกราชได้สาเร็จ ได้
ตอ้ งทาการรบกับพม่าอกี หลายคร้ังซ่ึงสว่ นใหญ่ไทยเปน็ ฝ่ายชนะ การทาสงครามกับพมา่ ครง้ั สาคัญ เช่น

๑. การรบกบั พม่าที่บางกุง้ สมทุ รสงคราม พ.ศ. 2311 ผลปรากฏว่าพมา่ แพเ้ สยี อาวุธและเสบยี งอาหาร และเรือ
เป็นจานวนมาก

๒. พม่าตีเมืองสวรรคโลก พ.ศ. 2313 ผลปรากฏวา่ พมา่ ไมส่ ามารถตีไทยได้

๓. ไทยตีเมืองเชียงใหม่คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๓๑๓ สงครามคร้ังนี้ต่อเน่ืองจากสงครามคร้ังท่ี ๒ เมื่อสมเด็จพระเจ้า
ตากสินมหาราชยกทัพขึ้นไปช่วยรักษาเมืองสวรรคโลก ทรงเห็นเป็นโอกาสดีที่จะยดึ เมืองเชียงใหมม่ าจากพม่า แตไ่ ม่สาเรจ็

๔. พมา่ ตเี มืองพชิ ัยครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๓๑๕ แต่ไม่สาเร็จ ถูกตแี ตกพา่ ยไป

๕. พมา่ ตเี มืองพิชยั ครงั้ ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๓๑๖ ผลปรากฏวา่ พม่าพา่ ยแพ้ไปทาให้เกดิ วรี กรรมพระยาพชิ ัยดาบหักขนึ้

๖. ไทยตีเมอื งเชยี งใหม่ครั้งท่ี ๒ พ.ศ.๒๓๑๗ สามารถยึดเชยี งใหม่เปน็ เมอื งข้นึ ได้

๗. การรบกับพม่าท่ีบางแก้ว ราชบุรี พ.ศ. 2317 ผลปรากฏว่าพม่าแพ้เสียชีวิตและถูกจับเป็นเชลยเป็นจานวน
มาก

๘.อะแซหวุ่นกี้ตีหัวเมืองเหนือ โดยเฉพาะพิษณุโลก พ.ศ.๒๓๑๘-๒๓๑๙ สงครามครั้งน้ีนับว่าเป็นสงครามคร้ัง
ใหญ่ในสมยั ธนบุรี ผลปรากฏว่าพม่าแพถ้ ูกจบั เป็นเชลยหลายหมน่ื คน

๙ .พม่าตีเมืองเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๓๑๙ พม่าไม่สามารถตีเมืองเชียงใหม่ได้ต้องแตกพ่ายไป แต่หลังจากท่ีพม่า
แตกทพั กลับไปแล้วสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเห็นว่าเชยี งใหม่มีผูค้ นไม่มากพอที่จะรักษาเมือง จึงอพยพผู้คนออกจาก
เมอื งและประกาศให้เป็นเมืองร้างตั้งแตน่ ัน้ มา จนถึงรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก จงึ ได้ตั้งขนึ้ มาใหม่

การขยายอาณาเขต



หลังจากที่เหตุการณ์ภายในกรุงธนบุรีสงบเรียบร้อยแล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงเร่ิมขยายอาณาเขตออกไปยัง
ประเทศใกลเ้ คยี ง ได้แก่ เขมรและลาว

๑. การขยายอานาจไปยังเขมร ขณะนั้นดินแดนเขมรเกิดการแก่งแย่งอานาจกันระหว่างพระรามราชา
(นักองนน)กบั พระนารายณ์ราชา(นักองตน) พระนารายณร์ าชาไปขอความช่วยเหลอื จากญวน พระรามราชาสู้ไม่ได้หนีมา
ขอความช่วยเหลือจากไทย ครั้งแรกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชส่งพระราชสาสน์ไปยังพระนารายณ์ราชาให้มา
สวามิภักด์ิต่อไทย แต่พระนารายณ์ราชาไม่ยอม ดังน้ันจึงทรงโปรดฯให้พระยาอภัยรณฤทธ์ิ (ทองด้วง) และพระยาอนุชิต
ราชา (บญุ มา) นาทพั ไปตีเขมรใน พ.ศ. ๒๓๑๒ ขณะท่ที ัพไทยตีได้เมืองเสียมราฐ พระตะบอง โพธสิ ัตว์ กับจะตีเมืองพทุ ไธ
เพชร (บันทายเพชร) เขมรปล่อยข่าวว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสวรรคต พระยาอภัยรณฤทธ์ิและพระยาอนุชิต
ราชาจึงยกทัพกลับพ.ศ.๒๓๑๔ เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชปราบชุมนุมต่างๆ เรียบร้อยแล้ว จึงเสด็จยกทัพไปตี
เขมรอีกคร้ังและสามารถตีเขมรได้สาเร็จ ได้สถาปนาพระรามาชาขึ้นครองเขมร ส่วนพระนารายณ์ราชาหนีไปพ่ึงญวน
ต่อมาได้มาสวามิภักดิ์ต่อไทย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงโปรดให้เป็นพระมหาอุปโยราช (วังหน้า) (ตาแหน่งพระ
มหาอุปโยราช คือ ตาแหน่งรัชทายาทของกษัตริย์เขมร ซึ่งเทยี บเท่าตาแหน่งพระมหาอุปราชของไทย) เหตุการณ์ในเขมร
จึงสงบลง ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๓๒๓ เกิดการกบฏในเขมร พวกกบฏจบั พระรามราชาและพระนารายณร์ าชาปลงพระชนม์ทั้ง
สองพระองค์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกและเจ้าพระยาสุรสีห์ไปปราบการ
จลาจลได้สาเร็จ และโปรดเกล้าฯ ให้นักองเองซึ่งเป็นโอรสของพระนารายณ์ราชาได้ขึ้นครองราชสมบัติแทน แต่เนอื่ งจาก
ยังทรงพระเยาว์ จึงมีฟ้าทะละหะ (มู) เป็นผู้สาเร็จราชการแทน เขมรจึงหันไปพึงญวนอีกครั้งหน่ึง สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราชโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษตั ริย์ศึกไปปราบเขมร ขณะที่กองทัพไทยจะรบกับเขมรอยู่น้ัน ก็มขี ่าววา่ ทางกรุง
ธนบุรีเกิดจลาจลวุ่นวาย ดว้ ยสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชทรงเสยี พระสติ สมเดจ็ เจ้าพระยามหากษตั ริยศ์ ึกจึงต้องรีบยก
ทพั กลบั

๒. การขยายอานาจไปลาว ในสมยั กรุงธนบุรไี ทยไดท้ าศึกขยายอานาจไปยังลาว ๒ ครั้ง คอื

๒.๑ การตีเมืองจาปาศักด์ิ เพราะเจ้าเมืองนางรองเกิดขัดใจกับเจ้าเมืองนครราชสีมา จึงคิดกบฏต่อไทย
ไปขอขึ้นกับเจ้าโอ (หรือเจ้าโอ้) สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงโปรดให้เจ้าพระยาจักรีไปปราบ จับเจ้าเมืองนางรอง
ประหารชีวิต ทาให้เมืองจาปาศักดิ์และดนิ แดนลาวตอนล่างอยภู่ ายใตอ้ านาจของไทย ใน พ.ศ.๒๓๑๙ สมเด็จพระเจ้าตาก
สินมหาราชจึงทรงแต่งตง้ั เจา้ พระยาจักรี เป็น “สมเด็จเจ้าพระยามหากษตั ริยศ์ ึกพิลึกมหมิ า ทุกนคั ราระอาเดช นเรศราชสุ
รยิ วงศ”์ นับวา่ เปน็ การพระราชทานยศให้แก่ขนุ นางสงู ทีส่ ุดเท่าทเี่ คยมปี รากฏมาในสมยั นั้น

๒.๒ การตีเวียงจันทน์ มีสาเหตุมาจากพระวอเสนาบดีของเจ้าสิริบุญสารเกิดวิวาทกับเจ้าครองนคร
เวียงจันทน์ พระวอจึงหนีเข้ามาอยู่ที่ตาบลดอนมดแดง (ในจังหวัดอุบลราชธานี) ขอสวามิภักดิ์ต่อสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช เจ้าสิริบุญสารได้ส่งกองทัพมาปราบและจับพระวอฆ่าเสีย ใน พ.ศ.๒๓๒๑ สมเด็จพระเจ้าตากสินมาหาราชจึง
โปรดให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก และเจ้าพระยาสุรสีห์ยกกองทัพไปปราบ ขณะที่ไทยยกทัพไป เจ้าร่มขาวเจ้าผู้
ครองเมืองหลวงพระบางมาขอสวามิภักดิ์ต่อไทยและส่งกองทัพมาช่วยตีเมืองเวียงจันทน์ด้วย เจ้าสิริบุญสารสู้ไม่ได้จึง
หลบหนีไป เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกจึงได้อัญเชิญพระแก้วมรกตพร้อมทั้งพระบางมาไว้ท่ีไทยด้วย (ส่วนพระบางน้ัน
ต่อมาไทยคืนใหแ้ ก่ลาวในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช)

๑๐

ความเจริญทางด้านตา่ งๆ ในสมยั ธนบรุ ี และการตดิ ต่อกับต่างประเทศ
ตลอดระยะเวลา ๑๕ ปี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่ในการต่อสู้

ปราบปราม ป้องกันและขยายอาณาเขตของประเทศ จึงไม่ค่อยมีเวลาจะท่ีจะพัฒนาประเทศทางด้านอื่นมากนัก แต่ถึง
กระนั้นพระองค์ก็ทรงพยายามสรา้ งความเจริญให้แกป่ ระเทศในด้านตา่ งๆ ดงั น้ี

๑. ด้านการปกครอง สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงใช้เวลาภายใน ๓ ปี ยกกองทัพไปปราบชุมนุมต่าง ๆ ท่ีต้ังตน
เป็นอสิ ระจนหมดสน้ิ สาหรับระเบยี บการปกครองน้ัน พระองคท์ รงยืดถือและปฏบิ ัตติ ามระเบยี บการปกครองแบบสมยั กรุง
ศรอี ยธุ ยาตอนปลายตามท่สี มเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวางระเบยี บไว้ แต่รัดกมุ และมคี วามเด็ดขาดกวา่ คนไทยในสมัย
นนั้ จงึ นิยมรับราชการทหาร เพราะถา้ ผู้ใดมีความดีความชอบ ก็จะไดร้ บั การปูนบาเหน็จอย่างรวดเรว็ ลกั ษณะการปกครอง
ของกรุงธนบรุ ี ดาเนนิ รอยตามแบบแผนของสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยแบ่งการปกครองออกเป็น

๑.๑ การปกครองส่วนกลางหรือราชธานี อยู่ในความรับผิดชอบของอัครมหาเสนนาบดีทั้ง ๒ ตาแหน่ง
คอื สมหุ กลาโหม ดแู ลฝา่ ยทหาร และสมุหนายก ดูแลฝา่ ยพลเรือน กับตาแหน่งเสนาบดจี ตสุ ดมภอ์ ีก ๔ ตาแหนง่ คือ กรม
เวยี ง กรมวงั กรมคลงั กรมนา กรมท้งั ๔ นี้ มีหนา้ ที่ คือ

๑) กรมเวียง มหี น้าท่ีปกครองท้องท่ี บังคบั บัญชาบา้ นเมอื ง และรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
๒) กรมวงั มหี นา้ ทรี่ บั เกย่ี วกับราชสานกั และพิจารณาพพิ ากษาคดคี วามของราษฎร

๑๑

๓) กรมคลัง มีหน้าท่ีรับจ่ายและเก็บรักษาพระราชทรัพย์ที่ได้มาจากส่วยอากร บังคับบัญชากรมท่าซ่ึง
เกี่ยวขอ้ งกับการติดตอ่ ค้าขายกบั ต่างประเทศ และมีหนา้ ทีเ่ ก่ียวกับพระคลงั สินค้าการคา้ สาเภาของหลวง

๔) กรมนา มีหน้าท่ีดูแลการทานา เก็บข้าวขึ้นฉางหลวง และพิจารณาคดีความเกี่ยวกับเร่ืองโค กระบือ
และทีน่ า คาวา่ “กรม” ในทนี่ ีห้ มายความคลา้ ยกับ “กระทรวง”ในปจั จบุ ัน

๑.๒ การปกครองส่วนภูมภิ าค แบ่งออกเป็น

๑) การปกครองหัวเมอื งช้ันใน ที่อยู่รายรอบราชธานี เรียกวา่ เมอื งชั้นจัตวา มีผู้ปกครองเรียกว่า “ผู้รั้ง”
ปฏิบัติตามคาสงั่ ของเสนาบดีจตุสดมภใ์ นราชธานี

๒) การปกครองหัวเมืองภายในราชอาณาจักร เรียกว่า หัวเมืองช้ันนอก หรือ เมืองพระยามหานคร เป็น
เมอื งทอี่ ยนู่ อกเขตราชธานีออกไป แบง่ ออกเป็นเมืองช้ืนเอก โท ตรี

๓) การปกครองหัวเมืองประเทศราช ท่ีอยู่ห่างไกลออกไปถึงชายแดน มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอ่ืน
ตอ้ งส่งเคร่ืองราชบรรณาการมาให้ตามกาหนด ไดแ้ ก่ กมั พชู า ลาว เชียงใหม่ และนครศรีอธรรมราช

๒. ด้านกฎหมายและการศาล กฎหมายและวิธพี ิจารณาคดีความในศาลสมยั ธนบุรี ใช้ตามแบบสมัยอยุธยาเท่าที่
มีหลักฐานปรากฏอยู่มีเพียงฉบับเดียว เกี่ยวกับการสักเลก คือ การลงทะเบียนชายฉกรรจ์เพื่อรับใช้ในราชการ เรียกว่า
ไพร่หลวง การสักเลกในสมัยน้ันสาคัญมาก เพราะเป็นระยะเวลาของการป้องกันและแผ่อานาจเพื่อให้ประเทศชาติมั่นคง
ส่วนการศาลมักใช้บ้านของเจ้านาย บ้านของตุลาการ บางครั้งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงเป็นผู้พิพากษาคดีเอง
และทรงใช้ศาลทหารและพระบรมราชโองการเป็นกฎหมายใชใ้ นการตัดสนิ คดีความด้วย

๓.ด้านเศรษฐกจิ

ในขณะที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชขึ้นครองราชย์สมบัติน้ัน บ้านเมืองกาลังประสบความตกต่าทาง
เศรษฐกจิ อย่างที่สุด ขาดแคลนขา้ วปลาอาหาร เกดิ ความอดอยากยากแค้น จงึ มีการปลน้ สะดมแย่งชิงอาหารอยทู่ วั่ ไป การ
ทาไร่ทานาต้องหยุดชะงักโดยส้ินเชิง ในช่วงปี พ.ศ. ๒๓๑๑ – ๒๓๑๙ ข้าวปลาอาหารฝืดเคืองมาก มิหนาซ้ายังเกิดภัย
ธรรมชาติซา้ เติม ทาให้ภาวะเศรษฐกิจที่เลวร้ายอยูแ่ ล้วกลับทรุดหนักลงไปอีก กล่าวคือ ได้เกิดมีหนรู ะบาดออกมากินข้าว
ในยุ้งฉาง ความขาดแคลนในระยะน้ันได้ทวคี วามรุนแรง ถึงกบั มผี ู้คนล้มตายเปน็ จานวนมากกวา่ เมอื่ ครัง้ ท่ีพมา่ เข้าตีกรงุ ศรี
อยธุ ยาเสียอีก สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราชไดท้ รงแก้ไขวิกฤตการณ์ ด้วยกศุ โลบายอันแยบคายทั้งในระยะส้ัน และระยะ
ยาว ดังต่อไปนี้

๑. ทรงสละพระราชทรัพย์ซ้ือข้าวสารราคาแพงที่ต่างชาตินามาขาย แล้วนาไปขายให้ราษฎรในราคาถูก และ
ทรงแจกเสื้อผ้า อาหารแก่ผู้ยากไร้ เพ่ือแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ซ่ึงได้ผลดีอย่างย่ิงในการสร้างขวัญและกาลังใจให้แก่
ประชาชน ซึ่งภาวะจติ ใจกาลงั ตกตา่ สดุ ขดี จากสภาวะบ้านแตกสาแหรกขาด

๒. ทรงเร่งรัดการทานา เพื่อให้มีข้าวบริโภคเพียงพอ โดยการเกณฑ์ข้าราชการทานาปรัง (การทานานอก
ฤดูกาล) ในเวลาเดียวกันก็ป่าวประกาศให้ราษฎรดักหนูในนามามอบให้ทางราชการ เพ่ือกาจัดการระบาดของหนูนาให้
หมดไปโดยรวดเร็ว

๓. ทรงวางแผนระระยาว เพ่ิมเน้ือท่ีปลูกข้าวใกล้พะนคร โดยทรงให้ปรับปรุงพ้ืนที่นอกกาแพงเมืองทั้ง ๒ ฟาก
ซ่ึงเคยเป็นสวนเป็นป่า ให้เป็นทะเลตม พอเสร็จศึกพมา่ ราวกลางปี พ.ศ. ๒๓๑๙ กท็ รงบญั ชาใหก้ องทัพลงมอื ทานาในทีซ่ ่ึง

๑๒

ตระเตรียมไวน้ น้ั ด้วยพระปรีชาสามารถและการตดั สินพระทยั อยา่ งเฉียบขาด ในการแกป้ ัญหาของสมเด็จพระเจา้ ตากสิน
มหาราช ประกอบกับความอุดมสมบูรณ์ของดิน น้า เมืองไทยจึงสามารถฟ้ืนตัวทางเศรษฐกิจได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว
ราคาข้าวซ่งึ เคยสูงถึงเกวียนละ ๗๕ – ๑๒๕ ตาลึง เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๓๑๐ จึงมีราคาถกู ลง เป็นเกวียนละ ๑๐ ตาลึง ในปี พ.ศ.
๒๓๑๗

เศรษฐกิจในสมัยธนบุรีเป็นเศรษฐกิจแบบยังชีพเช่นเดียวกับอยุธยา (คือทาพอมีพอกินในแต่ละครอบครัว) การ
ทานาเป็นอาชีพหลกั นอกจากน้นั กม็ กี ารปลูกฝา้ ย ยาสูบ ออ้ ย ผัก และผลไมก้ ันท่วั ไป เมื่อบ้านเมืองพ้นจากภาวะสงคราม
ไม่มีข้าศึกมารบกวน ราษฎรก็มีเวลาต้ังหน้าประกอบการอาชีพ ทาให้ฐานะความเป็นอยู่ของครอบครัวดีขึ้น บ้านเมืองจึง
สามารถกลับฟื้นคืนสู่สภาพปกติได้ภายในเวลาไม่ก่ีปี ส่งผลให้เกิดธุรกิจการผลิต และการติดต่อค้าขายขยายกว้างออกไป
เกิดบริเวณชุมชนตามแหล่งผลิตต่างๆ เพ่ิมข้ึน และค่อยๆ เติบโตเป็นบ้านเมืองขนาดใหญ่ ในการสร้างพื้นฐานทาง
เศรษฐกจิ นัน้ พระองคไ์ ด้ทรงดาเนนิ การในด้านต่างๆ ดงั นี้

๑) การสร้างงานด้านการเกษตร

เพื่อเร่งรัดการผลิตอาหารได้เพียงพอสาหรับการบริโภค ในข้ันแรกได้ทรงใชแ้ รงงานคน ไทยโดยระดมกาลังจาก
กองทัพ แต่หลังจากท่ีทรงปราบปรามหัวเมืองต่างๆ ไว้ไดใ้ นอานาจ จึงได้แรงงานจากเชลยทก่ี วาดต้อนมาได้ เชน่ แรงงาน
จากเชลยชาวลาว เชลยชาวเขมรใชใ้ นการเพาะปลูกเพ่ิมข้ึน ท้ังน้ีรวมไปถงึ แรงงานชาวจีนซึ่งได้รบั การสนับสนุน ให้เขา้ มา
ประกอบอาชีพในราชอาณาจักรด้วย

๒) การสร้างความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจในหัวเมือง

เม่อื แรงงานในสว่ นกลางมมี ากข้ึน จงึ ทรงใช้แรงงานเหล่าน้นั ไปสรา้ งความเจริญให้แก่หวั เมือง เชน่ ให้คนลาวไป
ตั้งบ้านเรือนทาการเพาะปลูกท่ีเมืองสระบุรี ราชบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ให้ชาวจีนบางกลุ่มไปประกอบอาชีพทาไร่ เช่น ไร่
อ้อย ไร่พริกไทย ตามหัวเมืองชายทะเลด้านตะวันออก และอาชีพทาเหมืองทางภาคใต้ ธุรกิจขนาดใหญ่เหล่าน้ีทาให้เกิด
ความเจริญเติบโตของเมอื ง มีชมุ ชนขนาดใหญ่เกิดขึ้นตามแหง่ ผลิตต่างๆ ระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพซง่ึ ทากันอยู่เดิม กเ็ ร่ิม
เปล่ยี นเป็นเศรษฐกจิ เชงิ พาณชิ ย์ ทาใหเ้ กดิ มีโรงสีข้าว โรงงานนา้ ตาล และเหมืองดบี กุ ข้ึนมา

๓) การเปิดรบั ความรู้และเทคโนโลยจี ากต่างประเทศ

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงเห็นความสาคัญของความรู้ท่ีต้องใช้ในการพัฒนา ชาติบ้านเมือง เช่น
ความรทู้ างดา้ นการค้าขายและทางช่าง จงึ ทรงสนับสนุนให้ชาวจีนเขา้ มาชว่ ยเหลือกิจการในด้านเหล่าน้ี เป็นต้นวา่ การต่อ
เรือ การเดินเรือ การต้ังโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรกรรม เช่น โรงสี โรงเล่ือยจักร โรงงานน้าตาล ปรากฏว่าความรู้และ
เทคโนโลยใี หม่ๆ เหล่านี้ ทาให้ผลผลติ จากชนบทเขา้ สู่เมอื งมากข้นึ และส่งเสรมิ ให้ธรุ กจิ เชงิ พาณชิ ยข์ ยายตวั อยา่ งรวดเรว็

๔) การสง่ เสรมิ การคา้ ขายกับตา่ งประเทศ

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงส่งเสริมทางด้านการค้าขาย โดยส่งเรือสาเภาไปค้าขายยังประเทศจีน
อินเดีย และประเทศใกล้เคียง สาหรับสิ่งของท่ีบรรทุกเรือสาเภาหลวงไปขาย มี ดีบุก พริกไทย คร่ัง ขี้ผ้ึง ไม้หอม ฯลฯ
และเม่ือขายสินค้าหมดแล้วก็จะซื้อสินค้าต่างประเทศท่ีต้องการใช้ในประเทศ เช่น ผ้าลายและถ้วยชามมาขายให้แก่
ประชาชนอีกต่อหน่ึง แต่ยังใช้ระบบการค้าขายแบบเดียวกับสมัยอยุธยา คือ อยู่ภายใต้การดูแลของพระคลังสินค้า หรือ
กรมทา่

๑๓

๔. ด้านสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในสมัยธนบุรี กล่าวได้ว่า มีการควบคุมกันอย่างเข้มงวด เพราะ
บ้านเมืองตกอยู่ในภาวะสงคราม ต้องสู้รบกับพม่าข้าศึกอยู่ตลอดเวลา การเกณฑ์พลเรือนเข้ารับราชการไพร่โดย การสัก
เลก มกี ารสักเลกบอกชื่อสงั กัดมลู นายและเมอื งไว้ทข่ี ้อมือไพร่หลวงทุกคน ซึ่งมีหน้าท่ีรับใชร้ าชการปีละ 6 เดือน โดยการ
มารับราชการ 1 เดือน แล้วหยุดไปทามาหากินของตนอีก ๑ เดือนสลับกันไป เรียกว่า “การเข้าเดือนออกเดือน” ไพร่
หลวงอีกพวกหนึ่ง เรียกว่า “ไพร่ส่วย” คือ ไพร่หลวงที่ส่งส่ิงของแทนการใช้แรงงานแก่ราชการ ซ่ึงเป็นพวกที่รับใช้แต่
เฉพาะเจ้านายท่ีเปน็ ขุนนาง ทง้ั น้เี พ่อื ปอ้ งกันการหลกี เลี่ยงและหลบหนี แต่โดยเหตทุ ี่สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ทรง
เป็นผู้นาที่สามารถและเป่ียมด้วยความเมตตา ราษฎรจึงยินยอมพร้อมใจกันเสียสละพัฒนาชาติบ้านเมืองอย่างเต็ม
ความสามารถ ทาใหส้ ังคมไทยกลับคนื สู่สภาพปกติภายในเวลาอันรวดเร็ว

๕. ด้านการศึกษา แม้ว่าบ้านเมืองจะอยู่ในภาวะสงคราม แต่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงทะนุบารุง
การศึกษาอยู่เสมอ ศูนย์กลางการศึกษาในสมัยธนบุรีอยู่ที่วัด เด็กผู้ชายเม่ือมีอายุพอสมควร พ่อแม่มักเอาไปฝากกับพระ
เม่ือมีเวลาว่างพระก็จะสอนให้อ่านเขียน หนังสือแบบเรียนทีใ่ ช้คือหนังสือจินดามณี เมื่ออ่านออกเขียนได้แล้ว ก็เรียนแต่ง
รอ้ ยแก้ว โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ศึกษาศัพท์ เขมร บาลี สันสกฤต วิชาเลข เรียนมาตราไทย ช่ัง ตวง วัด มาตราเงินไทย
คิดหน้าไม้ (วิธีการคานวณหาจานวนเน้ือไม้เป็นยก หรอื เป็นลูกบาศก์) การศึกษาดา้ นอาชีพ พ่อแม่มอี าชีพอะไรก็มักฝึกให้
ลูกหลานมีอาชีพตามตนเอง โดยฝึกฝนตกทอดกันมาหลายชั่วอายุคน เช่น วิชาช่างและแกะสลัก ช่างปั้น ช่างถม แพ ทย์
แผนโบราณ ฯลฯ ส่วนสตรี ประเพณีโบราณไม่นิยมให้เรียนหนังสือ มีน้อยคนทอ่ี ่านออกเขียนได้ เด็กผู้หญิงส่วนมากจะ
ถกู ฝกึ สอนให้ดา้ นการเยบ็ ปักถกั รอ้ ย ทากับข้าว การจัดบ้านเรอื น และมารยาทของกุลสตรี

๖. ด้านศาสนา เมื่อคร้ังเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี ๒ ส่ิงสาคัญต่างๆ ในพระพุทธศาสนาถูกทาลายเสียหายมาก
หลังจากทีส่ มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงยา้ ยเมืองหลวงมายังกรงุ ธนบรุ ี พระองค์ได้ฟืน้ ฟศู าสนาข้ึนใหม่โดยชาระความ
บริสุทธ์ิของพระสงฆ์ พระสงฆ์รูปใดท่ีประพฤติไม่อยู่ในพระวินัยก็ให้สึกออกไปเสีย พระสงฆ์รูปใดประพฤติอยู่ในพระวินัย
ทรงอาราธนาให้บวชเรียนต่อไป นอกจากนี้ พระองคท์ รงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการสร้างพระอโุ บสถ วิหาร
เสาสนะ กุฏิสงฆ์และวดั วาอารามตา่ งๆ เช่น วนั บางยเี่ หนือเหนอื (วดั ราชคฤห)์ วัดบางย่ีเรือใต้ (วดั อินทาราม) วัดบางหว้า
ใหญ่ (วัดระฆังโฆษิตาราม) วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) วัดหงส์ (วัดหงส์รัตนาราม) เป็นต้น นอกจากนี้เมื่อพระองค์
ทราบว่าพระไตรปฎิ กมอี ยทู่ ่ีใด ก็ทรงให้นามาคัดลอกเปน็ ฉบับหลวงไว้ทกี่ รงุ ธนบุรี แล้วส่งต้นฉบับกลับไปเก็บไว้ที่เดิม ทรง
ใหช้ ่างจารพระไตรปิฎกท้ังจบ ท่ีสาคญั ที่สุดทรงใหอ้ ญั เชิญพระแกว้ มรกต มาประดษิ ฐานที่วดั อรณุ ราชวราราม

๗. ด้านศิลปะและวรรณกรรม สมัยกรุงธนบุรีด้านศิลปะมีไม่ค่อยมากนัก เพราะบ้านเมืองอยู่ในภาวะสงคราม
ถึงกระนั้นพระองค์ก็ทรงให้มีการละเล่น เพ่ือเป็นการบารุงขวัญประชาชน ให้หายจากความหวาดกลัวและลืมความทุกข์
ยาก มีขบวนแห่อัญเชิญและสมโภชพระแก้วมรกตเป็นเวลา ๗ วัน การประชันละครระหว่างละครผู้หญิงของเจ้า
นครศรีธรรมราช และละครหลวง ผลงานทางด้านวรรณกรรมในสมัยนั้น มีน้อยและไม่สู้สมบูรณ์นัก วรรณกรรมที่มี
ชอื่ เสียง ไดแ้ ก่ บทพระราชนพิ นธเ์ รอื่ งรามเกียรติ์บางตอน หลวงสรวิชติ (หน) ประพันธ์ลลิ ิตเพชรมงกฏุ และอิเหนาคาฉนั ท์
นายสวนมหาดเล็ก ประพันธ์โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรี การไปติดต่อกับจีนในปลายรัชสมัยทาใหม้ ีวรรณกรรม
เกดิ ข้ึนอีกเรอ่ื งหนึง่ คือ นริ าศพระยามหานภุ าพไปเมืองจีน หรือนิราศเมืองกวางตุ้ง

สว่ นผลงานด้านสถาปตั ยกรรมในสมยั ธนบรุ ี ไม่มผี ลงานดีเด่นทีพ่ อจะอ้างถงึ ได้

๑๔

การตดิ ตอ่ กับประเทศตะวันตก

ในสมัยธนบุรีประเทศไทยมีการติดต่อกับประเทศตะวันตก ดังนี้

๑. ฮอลันดา ใน พ.ศ. ๒๓๑๓ ฮอลันดาจากเมืองปัตตาเวีย (จาการ์ตา) ซ่ึงเป็นสถานีการค้าของฮอลันดา และ
แขกเมืองตรังกานูได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพื่อถวายปืนคาบศิลา จานวน ๒,๒๐๐ กระบอก และถวาย
ต้นไม้เงินตน้ ไมท้ องดว้ ย

๒. อังกฤษ ใน พ.ศ.๒๓๑๙ กปั ตันฟรานซสิ ไลท์ ได้นาปนื นกสับ จานวน ๑,๔๐๐ กระบอกและส่งิ ของอื่นๆ เข้า
มาถวายเพือ่ เป็นการสรา้ งสมั พันธไมตรี

๓. โปรตุเกส ใน พ.ศ. ๒๓๒๒ แขกมัวร์จากเมืองสุรัต ซงึ่ เปน็ เมอื งข้ึนของโปรตุเกส นาสนิ ค้าเข้ามาค้าขายในกรุง
ธนบุรี และไทยได้สง่ สาเภาหลวงไปคา้ ขายยงั ประเทศอินเดยี

เหตุการณต์ อนปลายสมัยธนบรุ ี

ในปลายรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระราชพงศาวดารฉบับต่างๆ บันทึกไว้ว่า สมเด็จพระเจ้า
ตากสินมหาราชทรงมีพระสติฟ่ันเฟือนไป เข้าพระทัยว่าทรงบรรลุโสดาบัน และจะให้พระสงฆ์กราบไหว้พระองค์ซึ่งเป็น
คฤหัสถ์ ราษฎรได้รับความเดือดร้อนท่ัวแผ่นดินจากข้าราชการท่ีทุจริตกดขึ่ข่มเหงหาประโยชน์ส่วนตัว เป็นเหตุทาให้เกิด
จลาจลข้ึนในกรุงธนบุรี ราษฎรต่างท้ิงบ้านเรือนหนีเข้าป่าไปเป็นอันมาก ขณะเดียวกันก็เกิดกบฏขึ้นท่ีกรุงศรีอยุธยา
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทราบข่าวกบฏ จึงส่ังพระยาสรรค์ขึ้นไปสอบสวน แตพ่ ระยาสรรค์กลับไปเข้าพวกกบฏ ยก
พวกเข้าปล้นพระราชวังท่ีกรุงธนบุรี ในเดือนเมษายน ๒๓๒๔ บังคับให้สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชออกผนวชและคุม
พระองค์ไว้ท่ีพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม และพระยาสรรค์ก็ต้ังตนเป็นผู้สาเร็จราชการแผ่นดินแทน ส่วนสมเด็จ
เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก กาลังจะยกทัพไปตีเมืองเสียมราฐ เมื่อทราบข่าวเกิดจลาจลในกรุงธนบุรี จึงรีบยกทัพกลับ
ขณะน้ันเป็นเดือนเมษายน ๒๓๒๕ เมื่อมาถึงกรุงธนบุรี พระองค์ได้ซักถามเรื่องราวความยุ่งยากที่เกิดข้ึน จึงให้ประชุม
ข้าราชการ ปรากฏว่าท่ีประชุมลงความเห็นว่าให้สาเร็จโทษพระเจ้าตากสินมหาราช ขณะนั้นทรงมีพระชนม์ ๔๘ พรรษา
รวมเวลาครองราชย์ ๑๕ ปี

ตลอดรัชสมัยของพระองค์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชต้องทรงตรากตราในการสู้รบ เพื่อดารงความเป็นเอกราช
และขยายขอบเขตแผ่นดินไทย จนสามารถขยายเป็นอาณาจกั รใหญ่ในแหลมทองนี้ นับได้ว่าพระองค์ทรงเป็นนักรบอย่าง
แท้จริง มิได้ทรงมีโอกาสแม้แต่จะเสวยสุขสงบแม้ในบั้นปลายพระชนม์ชีพ ในตอนปลายรัชกาล พระยาสรรค์ได้ก่อกบฏ
บ้านเมอื งเกิดความวุ่นวาย จนเป็นเหตุให้ทรงถูกสาเร็จโทษ ดังท่ีกรมหลวงนรินทรเทวีบันทึกไว้ในจดหมายเหตุความทรง
จาของท่านว่า “เม่ือต้นแผ่นดินเย็นด้วยพระบารมี ชุ่มพื้นชื่นผลจนมีแท่น ปลายแผ่นดินแสนร้อย รุมสุมรากโคนโค่นล้ม
ถมแผ่นดิน ด้วยสิน้ พระบารมแี ตเ่ พยี งนั้น”

๑๕

สรุปเหตกุ ารณส์ าคญั สมยั สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช

ลาดับท่ี พ.ศ. เหตุการณส์ าคัญตา่ งๆ ที่เกดิ ข้นึ
๑ พ.ศ.๒๒๗๗
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระราชสมภพ (สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรม
โกศ) บิดาช่ือ ไหฮอง มารดาชื่อ นางนกเอี้ยง มีกาเนิดเป็นสามัญชน เมื่อ
พระชนมายุได้ ๔ วนั เจา้ พระยาจกั รขี อไปเลี้ยงเปน็ บุตรบญุ ธรรม

๒ พ.ศ.๒๒๙๐ เมื่ออายุครบ ๑๓ พรรษา ได้ถวายตัวเปน็ มหาดเลก็ ในพระบรมราชาธริ าชท่ี ๓
หรอื พระเจ้าอย่หู ัวบรมโกศ

๓ พ.ศ.๒๒๙๘ เม่ืออายุครบ ๒๑ พรรษา ทรงผนวช ณ สานักอาจารย์ทองดี วัดโกษาวาส
เมอ่ื ทรงลาสิกขาแล้วได้รับราชการในตาแหน่งหาดเล็กรายงานในกรมหาดเล็ก
ไทยและกรมวังศาลหลวง

๔ พ.ศ.๒๓๐๑ ปีต้นรัชกาลสมเด็จพระสุริยาศน์อมรินทร์หรือพระเจ้าเอกทัศ ได้เป็นพระยา
เจ้าเมืองตาก ต่อมาเป็นพระยาวชิรปราการ เจ้าเมืองกาแพงเพชร แต่ยังไม่ได้
ขน้ึ ไปครอง

๕ พ.ศ.๒๓๐๙ พระยาวชิรปราการพาพรรคพวกไทย-จนี ฝ่าวงลอ้ มพม่าออกจากรงุ ศรีอยธุ ยา
ไปซ่องสุมกาลงั ผูค้ นและตระเตรียมกาลังทัพที่จันทบรุ ี

๖ พ.ศ.๒๓๑๐ กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าคร้ังที่ ๒ แต่สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราชสามารถ
กอบก้เู อกราชคนื มาไดใ้ นปเี ดยี วกัน และตัง้ กรงุ ธนบุรเี ปน็ ราชธานใี หม่

๗ พ.ศ. ๒๓๑๑ เร่ิมปราบชุมนมุ เจ้าพระยาพษิ ณุโลก แต่ไม่สาเรจ็ ปราบชมุ นุมเจ้าพิมายสาเร็จ
เป็นชมุ นมุ แรก

๘ พ.ศ. ๒๓๑๒ ปราบชุมนุมเจ้านครศรธี รรมราชสาเร็จ ยกทพั ไปตีเขมรครงั้ แรกแต่ไม่
สาเร็จ

๙ พ.ศ.๒๓๑๓ รวบรวมประเทศได้เป็นปึกแผ่นม่ันคง ปราบชุมนุมเจ้าพระฝางสาเร็จ ทรง
พระราชนิพนธ์บทละครรามเกียรติ์ รบชนะพม่าที่สวรรคโลก และตีเมือง
เชียงใหม่คร้ังท่ี 1 จดั การปกครองและการศาสนาในหวั เมอื งคร้งั ใหญ่

๑๐ พ.ศ.๒๓๑๔ ยกทัพไปตีเขมรครั้งท่ี ๒ และสามารถปราบเขมรไว้ในอานาจ นายสวน
มหาดเล็กแต่งโคลงยอพระเกยี รตพิ ระเจา้ กรุงธนบรุ ี

๑๑ พ.ศ.๒๓๑๕ พมา่ ยกทพั มาตีเมืองพชิ ัย ครัง้ ท่ี ๑ แต่ไม่สาเร็จ

๑๒ พ.ศ.๒๓๑๖ รบชนะพม่าท่ีมาตีเชียงใหม่ ครัง้ ที่ ๒ ทาใหเ้ กดิ วีรกรรมพระยาพิชัยดาบหกั

๑๓ พ.ศ.๒๓๑๗ รบชนะพม่าท่บี างแก้ว ราชบุรี พม่าถูกจับและเสียชีวติ ไปมายมาก ไทยตีเมือง
เชยี งใหม่คร้งั ที่ ๒ ไดส้ าเรจ็

๑๔ พ.ศ.๒๓๑๘ พมา่ ยกทพั ใหญ่มาตหี วั เมอื งเหนือแต่ไมส่ าเร็จ ถกู จับเป็นเชลยหลายหมื่นคน

๑๕ พ.ศ.๒๓๑๙ พม่ายกทัพมาตเี มอื งเชียงใหม่แต่ไมส่ าเร็จ

ลาดบั ท่ี พ.ศ. ๑๖
๑๖ พ.ศ.๒๓๒๑
เหตุการณส์ าคญั ต่างๆ ทเ่ี กิดขึ้น
๑๗ พ.ศ.๒๓๒๓ โปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก กับเจ้าพระยาสุรสีห์ไปตี
เวียงจันทน์และหลวงพระบาง ได้อัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางมาไว้ที่
๑๘ พ.ศ.๒๓๒๔ กรุงธนบุรี
๑๙ พ.ศ.๒๓๒๕ เกดิ จลาจลในเขมร โปรดให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษตั รยิ ์ศึก เจา้ พระยาสุร
สีห์ เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ พระองค์เจ้าจุ๊ย ยกทัพไปตีกรุงกัมพูชา แต่ยัง
ไม่ทันสาเร็จก็เกิดจลาจลในกรุงธนบุรีเสียก่อน หลวงสรวิชิต(หน) แต่งอิเหนา
คาฉันท์

สง่ ทพั ไปปราบจลาจลในเขมร
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสวรรคตเม่ือพระชนมายุได้ ๔๘ พรรษา เมื่อ
วนั ท่ี ๖ เมษายน พ.ศ.๒๓๒๕ โดยถูกประหารชีวิตดว้ ยท่อนไม้จนั ทน์ด้วยทรง
มพี ระสตวิ ิปลาส รวมเวลาครองราชยท์ ั้งหมด 15 ปีเศษ

https://www.baanjomyut.com/76province/thonburi.html
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=24&chap=3&page=t24-3-infodetail05.html
http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/hist/94.htm
https://nkw05022.wordpress.com/ประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรงธนบุรี/


Click to View FlipBook Version