The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เป็นฐานการเรียนรู้เกี่ยวกับของเล่นวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการวิทยาศาสตร์พื้นฐาน

ฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เป็นฐานการเรียนรู้เกี่ยวกับของเล่นวิทยาศาสตร์

Keywords: วิทยาศาสตร์พื้นฐาน



คำนำ

เอกสารการเรียนรู้นิทรรศการฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมผ่านนิทรรศการ ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
สระแก้ว ฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐานและแผนการจัดกิจกรรม ซึ่งแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาขึ้นโดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ กศน. (ONIE SCI ACTIVITY MODEL) ที่เน้นการเรียนรู้
อยา่ งมสี ่วนรว่ ม ความรับผดิ ชอบ ความคดิ สร้างสรรค์ และคำนึงถงึ ผรู้ ับบรกิ ารเปน็ สำคัญ

คณะผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องในการจัดทำเอกสารการเรียนรู้โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสงิ่ แวดลอ้ มผ่านนิทรรศการ ฐานการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน ฉบับน้ี และหวงั เปน็ อยา่ งย่ิงว่า
นอกจากประโยชน์ของปฏบิ ัติงานของศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาสระแก้วโดยตรงแล้ว จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผู้ที่สนใจ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอ้ ม
ผา่ นนิทรรศการได้เป็นอย่างดี

(นายประพรรณ์ ขามโนนวดั )
รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จงั หวดั ชยั ภมู ิ
รกั ษาการในตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาสระแก้ว

มีนาคม 2564

สารบัญ ข

คำนำ หน้า
สารบญั
แนวคดิ ก
วตั ถุประสงค์ ข
เน้อื หา 1
ข้ันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1
ส่ือ วัสดุอปุ กรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ 1
2
การผสมแสงสี 3
เบอรน์ ูลล่ี 4
การเกดิ ฟ้าผ่า (JACOB LADDER) 4
วงแหวนกระโดด 5
ทายตัวเลข (เลขฐาน 2) 6
เสียงสะทอ้ น 6
ทอ่ เสียง 8
จานสะทอ้ นเสยี ง 9
ก้องสลับลาย 10
การแผ่รงั สีความร้อน 11
หลอดไฟในแก้วนำ้ 11
การเกดิ ภาพบนกระจกเงาทท่ี ำมุมตา่ งกัน 12
การเคลอ่ื นไหวบนกระจกเงา 12
การสะท้อนของกระจกเว้า 13
การสะท้อนของกระจกนนู 14
ชงิ ช้าแม่เหล็ก 15
ภาพอนันต์ 16
กลอ้ งตาเรือ 16
การสะท้อนภาพบนกระจกเงาทรงกระบอก 17
แรงและเครอ่ื งผ่อนแรง 17
แรงหนศี นู ยก์ ลาง 18
19

รอก ค
หลกั การทำงานของจกั รยานสูบนำ้
หัวหุ่นนกั วิทยาศาสตร์ 19
การวดั และประเมินผล 19
20
ผจู้ ัดทำ 25
26
อ้างองิ 27

ฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 1

ฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน

เวลา 15 นาที
แนวคิด

วทิ ยาศาสตร์เป็นฐานการเรียนรู้ผ่านนทิ รรศการเกีย่ วกบั แสง เสียง แม่เหล็กไฟฟ้า พลังงาน
แรงและการเคลื่อนท่ี หวั หุ่นนกั วทิ ยาศาสตร์ และเคร่ืองผอ่ นแรง ในการจุดประกายความคดิ ทางด้าน
วิทยาศาสตรใ์ ห้กบั ผรู้ บั บริการ โดยผูร้ บั บริการสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั ดว้ ยวธิ กี ารทดลองกับสื่อการ
เรียนรู้จริง ทำให้ผรู้ ับบรกิ ารเหน็ ความสำคัญของการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ทีส่ อดคล้องกับชีวิตประจำวัน
วัตถุประสงค์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองเกย่ี วกับแสง เสยี ง แม่เหล็กไฟฟา้ พลงั งาน แรงและการเคล่ือนที่ หวั
หุน่ นักวิทยาศาสตร์ และเคร่ืองผอ่ นแรง
เนอ้ื หา

1. การผสมแสงสี
2. เบอรน์ ลู ลี่
3. การเกิดฟ้าผา่ (JACOB LADDER)
4. วงแหวนกระโดด
5. ทายตัวเลข (เลขฐาน 2)
6. เสียงสะทอ้ น
7. ท่อเสียง
8. จานสะทอ้ นเสียง
9. กอ้ งสลบั ลาย
10. การแผ่รงั สีความร้อน
11. หลอดไฟในแกว้ น้ำ
12. การเกิดภาพบนกระจกเงาท่ที ำมุมตา่ งกัน
13. การเคลอ่ื นไหวบนกระจกเงา
14. การสะท้อนของกระจกเวา้
15. การสะท้อนของกระจกนูน
16. ชงิ ชา้ แมเ่ หล็ก
17. ภาพอนันต์
18. กล้องตาเรือ
19. การสะท้อนภาพบนกระจกเงาทรงกระบอก

ฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2

20. แรงและเครื่องผ่อนแรง
21. แรงหนศี ูนย์กลาง
22. รอก
23. หลักการทำงานของจกั รยานสบู นำ้
24. หัวหุ่นนักวทิ ยาศาสตร์

ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ ตอนท่ี 1 กิจกรรมการเรียนรูป้ ระสบการณท์ างวิทยาศาสตร์ (S : Science Experience

Activity) ( 5 นาที )
1. ผู้จัดกิจกรรมทักทายและแนะนำตนเองกับผู้รับบริการ และชี้แจงวัตถุประสงค์ของฐานการเรียนรู้
ผ่านนิทรรศการ เรื่อง วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ซ่ึงฐานการเรียนผ่านนิทรรศการน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้
ผู้รับบริการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองเกี่ยวกับผลงานของนักวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
และสนุกกบั คณติ ศาสตร์
2. ผู้จัดกิจกรรมนำเขา้ สบู่ ทเรียนโดยการสอบถามประสบการณเ์ ดมิ ของผูส้ อน เกีย่ วกับเครื่องเล่น
วทิ ยาศาสตร์
3. ผู้จัดกิจกรรมแนะรายละเอียดภาพรวมของเนื้อหาในฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ เรื่อง วิทยาศาสตร์
พ้นื ฐาน

ข้นั ตอนที่ 2 กิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ทท่ี า้ ทาย (C : Challenge Learning Activity)
1. ผจู้ ดั กจิ กรรมบรรยายใหค้ วามรู้และอธิบายนิทรรศการ เร่ือง วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
2. เปดิ โอกาสให้ผ้รู บั บรกิ ารพูดคุย ซกั ถาม ทดลอง เลน่ เครื่องเล่น
3. ผู้จัดกิจกรรมและผูร้ ับบริการสรปุ สิง่ ที่ได้เรยี นร้รู ่วมกนั

ขน้ั ตอนที่ 3 กิจกรรมการสรุปผลการนำวทิ ยาศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั (I : Implementation
Conclusion Activity)

1. ผจู้ ดั กจิ กรรมสุ่มผูร้ ับบรกิ าร จำนวน 1-2 คน ท่ีสมคั รใจใหต้ อบคำถามในประเด็น ท่านไดร้ บั
ความรู้อะไรบ้างผา่ นนิทรรศการในฐานการเรียนรู้เรอ่ื ง วิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน น้ี และทา่ นคิดวา่ จะนำ
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ไดร้ ับไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ของท่านได้อย่างไร

2. ผู้จัดกจิ กรรมและผ้รู บั บริการสรปุ สิ่งท่ไี ดเ้ รียนรรู้ ่วมกนั

ฐานการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 3

3. ผ้จู ัดกจิ กรรมใหผ้ ้รู บั บริการประเมินความพึงพอใจท่มี ีตอ่ ฐานการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ผู า่ น
นทิ รรศการ เรื่อง วิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน

ฐานการเรียนรู้ วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 4

นทิ รรศการฐานการเรียนรู้

ฐานการเรียนรู้ วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 5

1. การผสมแสงสี

วธิ ีเลน่ กดป่มุ สีขาว แลว้ สังเกตปรากฏการณท์ ่ีเกดิ ขนึ้

หลกั การ การผสมกันของสตี ามการทดลองของ Maxwell การผสมสีแบบบวกน้เี ปน็ การผสมกัน

ของสขี องแสง ซึ่งมีแมส่ ี หลักคือแสง สแี ดง เขียวและนำ้ เงนิ และเราจะเรยี กสที ีเ่ กดิ จากการผสมกนั ของแม่

สบี วกว่า แม่สรี อง ดังน้ี

สนี ้ำเงนิ + สแี ดง ได้ สมี ว่ งแดง

สแี ดง + สเี ขียว ได้ สีเหลอื ง

สีน้ำเงิน + สีเขยี ว + สีแดง ได้ สีขาว

2. เบอร์นูลล่ี

วธิ เี ลน่ กดปุม่ สสี ม้ จะมีลมออกมา แลว้ นำลกู บอลลงไป สังเกตสิ่งท่ีเกิดข้ึน
หลักการ แดเนียล เบอร์นูลี นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิส กล่าวว่า เมื่ออากาศมีความเร็วเพิ่มขึ้นความ
ดันของอากาศจะลดลง เนื่องจากอากาศที่กำลังเคลื่อนที่จะมีพลังงานจลน์ และอากาศที่มีความเร็วสูงจะมี
พลังงานจลน์มากกว่าอากาศที่มีความเร็วต่ำ ดังนั้นขณะที่อากาศมีความเร็วสูงขึ้นจะมีพลังงานจลน์เพิ่มข้ึน
ทำให้แรงกระทำตอ่ พน้ื ทลี่ ดลง เปน็ เหตุให้ความดนั ลดลงด้วย
จากหลักการน้ี จงึ นำไปสรา้ งปกี เคร่ืองบินใหม้ ผี ิวดา้ นบนโค้ง ด้านลา่ งเรียบ เมอื่ เครอ่ื งบนิ เคล่อื นที่

อากาศด้านบนของปีกเคร่ืองบินมคี วามเรว็ มากขึ้น ความดนั ลดลง ทำให้อากาศดา้ นลา่ งของปีกออกแรงดนั ปกี

เคร่อื งบนิ ใหย้ กข้ึน

ฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 6

3. การเกดิ ฟา้ ผ่า (JACOB LADDER)

วิธีเล่น กดปมุ่ ค้างไว้ แลว้ สังเกตสิ่งทเ่ี กดิ ขึ้นระหวา่ งขดลวด 2 อนั
หลักการ ฟ้าผ่าเกิดจากการถ่ายเทของประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ เมื่อมีลมพัดผ่านผิวพื้นดิน หรือ
อาคาร จะทำให้ลมซึ่งประกอบด้วยโมเลกุลของแก๊สชนิดต่าง ๆ ได้รับอิเล็กตรอนจากการขัดสี และพา
อิเล็กตรอนไปยังก้อนเมฆในอากาศ ทำให้บริเวณพื้นดินมีประจุไฟฟ้าเป็นบวกขณะเดียวกันบริเวณด้านล่าง
ของก้อนเมฆจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ แต่เนื่องจากก้อนเมฆซึ่งประกอบด้วยโมเลกุลของไอน้ำจึงเป็นตัวนำ
ไฟฟ้าได้ดีกว่าอากาศ จึงทำให้อิเล็กตรอนที่บริเวณด้านล่างของก้อนเมฆจะเหนี่ยวนำให้เกิดประจุไฟฟ้าบวก
ข้ึนท่ดี า้ นบนของก้อนเมฆ จนในท่สี ุด ทำให้บรเิ วณด้านบนของกอ้ นเมฆมีประจุไฟฟ้าบวกเพ่มิ ขึ้นเร่ือย ๆ และ
บริเวณด้านล่างของก้อนเมฆจะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปรวมกันอยู่มากเมื่อนานขึ้นประจุลบจะเกิดมากขึ้น
ประกอบกับที่ผิวโลกก็จะเกิดประจุไฟฟา้ บวกข้ึนทั้งนี้เพราะสูญเสยี อิเล็กตรอนไป จงึ ทำให้เกิดแรงดูดระหว่าง
ประจุบวกที่ผิวโลกกับอิเล็กตรอนที่ด้านล่างของก้อนเมฆ จึงทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากด้านล่างของก้อน
เมฆลงสพู่ ืน้ และในการเคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอนลงสู่พ้ืนจะเคลื่อนที่ด้วยความเรว็ สูงจึงเกิดแรงผลักอากาศให้
แยกออกจากกันอย่างรวดเรว็ และเม่อื อากาศเคลอ่ื นที่มากระทบกันจะเกิดเสียงดงั ข้นึ และมปี ระกายไฟเกิดข้ึน
ดว้ ย

ฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 7

4. วงแหวนกระโดด

วิธเี ล่น กดปุ่มสีขาว แล้วปล่อย
หลกั การ เปน็ เครื่องแสดงการเกิดกระแสไหลวนโดยการให้ไฟฟ้ากระแสสลับไหลในขดลวดรอบแกน
เหลก็ อ่อน เม่อื มีการไหลของกระแสในขดลวดจะเกิดกระแสเหนี่ยวนำ ข้นึ โดยรอบแกนเหล็ก เส้นแรงแม่เหล็ก
ดังกล่าวจะตัดกับโลหะที่อยู่ในรัศมี ซึ่งในกรณีนี้ใช้วงแหวนอลูมิเนียมที่คล้องอยู่กับแกนเหล็กเนื่องจากวง
แหวนเป็นตัวนำกระแสไฟฟ้าจึงไหลวนอยู่ในวงแหวนและเกิดเป็นแรงแม่เหล็กที่มีทิศทางตรงข้ามกับเส้นแรง
จากขดลวดในครงั้ แรกจึงเกิดแรงผลกั ให้วงแหวนอลมู ิเนยี มลอยข้ึนจากพ้ืนไปตามท่อจนหมดแรงกจ็ ะตกลงมา

5. ทายตัวเลข (เลขฐาน 2)

วธิ ีเล่น
1. ผู้เล่น ให้ผู้ทเ่ี ราตอ้ งการร้วู นั เกดิ ของเขา โดยให้เขาดกู ระดานทีละ
แผน่ โดยใหด้ เู ฉพาะ แถวสีนำ้ เงิน
2. แล้วถามเขาว่า ตัวเลขในแผ่นนี้มี วันเกิดของคุณมั้ย (ถาม
อย่างนจี้ นครบท้ัง 5 แผ่น)
3. เก็บแผ่นที่เขาบอกว่ามีวันเกิดของเขาไว้ แล้ว นำตัวเลขซ่ึง
แทนกลุ่ม ที่เราทำการกระจายในตอนแรก (คือเลข 1,2,4,8,16)
มารวมกนั ก็จะรู้วันเกิดของเขาคนนนั้ ทันที
4. กดป่มุ ตอบ เครือ่ งทายตวั เลขก็จะสามารถคำนวณ คำตอบได้

ทันที

ฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน 8

หลักการ เนอ่ื งจาก วนั ก็คือ วนั ในแต่ละเดือนซึ่ง มีค่า 1-31 พยายามกระจาย 1-31 ให้อยรู่ ูป
ผลบวกของ 1,2,4,8,16 ดงั น้ี

1=1
2=2
3 = 1+2
4=4
5 = 1+4
6 = 2+4
7 = 1+2+4
8=8
9 = 1+8
10 = 2+8
11 = 1+2+8
12 = 4+8
13 = 1+4+8
14 = 2+4+8
15 = 1+2+4+8
16 = 16
17 = 1+16
18 = 2+16
19 = 1+2+16
20 = 4+16
21 = 1+4+16
22 = 2+4+16
23 = 1+2+4+16
24 = 8+16
25 = 1+8+16
26 = 2+8+16
27 = 1+2+8+16
28 = 4+8+16
29 = 1+4+8+16
30 = 2+4+8+16
31 = 1+2+4+8+16

ฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน 9

แบง่ เลข 1-31 ออกเปน็ 5 กลมุ่
กลมุ่ ท่ี 1 เปน็ กลุม่ ของเลขท่ีกระจายออกมา โดยมี 1 เปน็ ตัวบวก
ซงึ่ ได้แก่ 1,3,5,7,9,11,13,15,17,19,21,23,25,27,29,31
กลมุ่ ที่ 2 เปน็ กลุ่มของเลขท่ีกระจายออกมา โดยมี 2 เป็นตัวบวก
ได้แก่ 2,3,6,7,10,11,14,15,18,19,22,23,26,27,30,31
กลมุ่ ที่ 3 เปน็ กล่มุ ของเลขที่กระจายออกมา โดยมี 4 เป็นตัวบวก
ไดแ้ ก่ 4,5,6,7,12,13,14,15,20,21,22,23,28,29,30,31
กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มของเลขท่ีกระจายออกมา โดยมี 8 เปน็ ตัวบวก
ได้แก่ 8,9,10,11,12,13,14,15,24,25,26,27,28,29,30,31
กล่มุ ท่ี 5 เปน็ กลุม่ ของเลขที่กระจายออกมา โดยมี 16 เปน็ ตัวบวก
ได้แก่ 16,17,18,19,20,21,22,23,24,25,26,27,28,29,30,31

6. เสยี งสะท้อน

การสะท้อนของคลนื่ เสยี งพบเสมอในชีวิตประจำวนั
เชน่ เมอ่ื เขา้ ไปในห้องถุงใหญใ่ หญ่หรอื ทำแลว้ ส่งเสียงดงั ดังจะ
ได้ยินเสยี งสะท้อนกลบั มาเราเรียกเสียงสะท้อนนน้ั วา่ เสยี งก้อง
ซึ่งมกั จะรบกวนการได้ยนิ สามารถแก้ไขโดย บุผนังของห้อง
ใหญ่ใหญด่ ้วยวตั ถทุ ด่ี ูดเสยี งหรือกระจายเสียงให้สะทอ้ นไป
หลายหลายทางเสยี งสะท้อนหรือเสยี งกลอ้ งจะเกดิ ขนึ้ เมอื่ การ
ไดย้ นิ เสียงครง้ั แรกและครัง้ ท่ีสองมีระยะเวลาหา่ งกนั อยา่ งนอ้ ย
หน่งึ / 10 วินาที

วิธที ดลอง
1. ตบมือของท่านที่ปากทอ่
2. รบี เอาหแู นบทีป่ ากท่อทา่ นจะได้ยินเสียงตบมือสะท้อนกลบั มาใหม่
เกิดอะไรขึน้
จะได้ยินเสยี งตบมอื สะท้อนกลับมา
ทำไมจงึ เป็นเช่นนัน้
เม่อื ตบมอื เสยี งจะเดินทางไปตามท่อจนกระทบกับผนงั ท่ีปลายท่อแล้วสะท้อนกลับมาให้ไดย้ นิ อีกครั้ง
ท่อนี้มีความยาวมากกว่า 55 ฟุตทำให้เราได้ยนิ เสียงครง้ั แรกและคร้ังท่ีสองในระยะเวลาทีห่ ่างกันมากกว่า
1/10 วินาทีเสยี งท่ีได้ยนิ คร้ังท่ีสองจงึ เป็นเสียงสะทอ้ นหรือเสียงกอ้ ง

ฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 10

7. ทอ่ เสียง

การสั่นของวัตถใุ ดใดทม่ี ีความถขี่ องการสั่นเท่ากบั ความถ่ธี รรมชาตขิ องวตั ถุนน้ั จะทำใหเ้ กิดการส่นั
รุนแรงทส่ี ดุ คือมแี อมปจิ ูดมากทส่ี ุดหรอื เกดิ เสยี งดังมากทส่ี ุดซึง่ เรยี กว่าการเกดิ กำทอน

วธิ ที ดลอง
1. ใชไ้ ม้เคาะถอดเสยี งที่มคี วามยาวตา่ งกนั สังเกตเสยี งทีเ่ กิดขึน้
2. รองใช้ไมเ้ คาะทอ่ เสียงให้เกิดเสยี งดนตรี
เกิดอะไรขึ้น
ท่อแตล่ ะท่อเกดิ เสยี งสงู -ต่ำไม่เท่ากนั และสามารถเคาะใหเ้ ป็นเสยี งดนตรีได้
ทำไมจึงเปน็ เชน่ นนั้
ไม้เคาะท่ีทอ่ โดยแรงกระทำจากภายนอกทที่ ำให้เกดิ ความถ่ีกับความถ่ธี รรมชาติของการสั่นของวตั ถุ
นน้ั จะเกดิ ความดงั ของเสยี งเพ่ิมขึน้ อย่างมากเรียกวา่ อยู่ในภาวะกำทอน (Resonance) เสียงทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการ
เคาะนัน้ จะมคี วามดงั ทตี่ ่างกนั ไปตามความยาวของท่อซ่งึ ถ้าทอ่ ที่สน้ั เสียงท่ีออกมาจะสงู แตใ่ นทางกลับกนั ถ้า
ถอดเสียงยิง่ ยาวเสียงที่เคาะจะยง่ิ ต่ำเปน็ เพราะความถขี่ องเสยี งทีเ่ กิดขึ้นจากการเคาะนนั้ จะมีความถ่ีสูงในท่อ
ที่สนั่ และมีความถตี่ ำ่ ในท่อท่ียาว

ฐานการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 11

8. จานสะทอ้ นเสียง

คลื่นเสียงสามารถสะท้อนได้ จานผวิ โค้งพาราโบรา่ มีความพเิ ศษอย่างหน่ึงคือถ้ามีคลน่ื เสียง คลนื่ แสง
หรอื วตั ถใุ ดที่มีคุณสมบตั ิสะท้อนได้ตกกระทบผิวจานในแนวขนานกนั กับแกนของจานจะสะทอ้ นจากผวิ จาน
เข้าหา โฟกัส ของจานเสมอเราสามารถนำคุณสมบัตดิ ังกลา่ วนไี้ ปประดิษฐ์อุปกรณต์ า่ งๆ เช่นจานรับสัญญาณ
ดาวเทยี ม โคมไฟหน้ารถยนต์ จานสะท้อนแสงของไฟฉาย

วิธที ดลอง
1. แนบหูกับปลายท่อท่อี ยู่ด้านหลังจานผวิ โค้งพาราโบร่า
2. ใชม้ ือจบั ดา้ นหมนุ ใหจ้ านหันไปหาจดุ กำเนิดเสยี งในบริเวณน้ัน(อาจเป็นเพ่ือนทยี่ นื พดู คุยกัน)ทา่ น
ไดย้ ินเสยี งอะไรบ้างไหม
เกดิ อะไรขึน้
ทา่ นจะได้ยนิ เสยี งจากจดุ กำเนดิ ทอ่ี ยู่ในจานผวิ โค้งพาราโบลา
ทำไมจึงเป็นเช่นนัน้
เสยี งจากจดุ กำเนิดเสียงหน้าจานผิวของพาราโบลาจะตกกระทบกับผิวจานในแนวขนานกับแกนของ
จานแลว้ สะทอ้ นไปรวมกันท่ีจดุ โฟกสั ของจานนะจดุ โฟกัสน้ันมีปลายของท่อรับเสียงตดิ ต้งั ไวใ้ หส้ ามารถรับ
เสยี งทม่ี ารวมกนั ได้พอดเี สยี งดังกล่าวจะสะทอ้ นไปตามท่อที่เช่อื มไวจ้ นถงึ ปลายท่อทห่ี เู ราแนบอยู่ทำให้เราได้
ยนิ เสยี ง

ฐานการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน 12

9. กอ้ งสลบั ลาย
วตั ถปุ ระสงค์
เพอื่ ให้มคี วามรู้และประสบการณเ์ ร่ืองคาไลโดสโคป ซงึ่
เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาสามแผน่ ทำมุมระหว่าง
กัน 60 องศานา่ จะทำให้เกดิ การสะทอ้ นของแสงกลบั ไปกลับมาให้
ภาพปรากฏท่สี วยงามมาก
วิธที ดลอง
ใช้ตาสองดูภาพท่ีปรากฏในกลอ้ งสลับลายซึง่ จะมีแสงส่อง
ทะลดุ า้ นหลังกล้องผ่านพลาสตกิ สีต่างๆสังเกตภาพที่ปรากฏ
คำตอบ
ภาพที่ปรากฏในกล้องสลับลายเป็นภาพที่สวยงามทีจ่ ะ
เปลยี่ นสไี ปตลอดเวลา ที่มีการหมุนของจานสีการเกิดสีเกิดจากแสง
ไฟทส่ี องทะลุผ่านพลาสติกสรี ปู ต่างๆ และจะสะทอ้ นกลับไปกลบั มา
หลายๆ คร้งั บนผิวกระจกเงาสามแผนท่ีวางทำมุม 60 องศาระหวา่ ง
กันน่ันเอง

10. การแผร่ งั สีความร้อน
วตั ถุประสงค์
เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจปรากฏการณเ์ รอ่ื งการแพรังสีความร้อน

สามารถทำให้ความร้อนเดนิ ทางจากท่หี น่งึ มายงั อีกทหี่ นึ่งโดยไม่
ตอ้ งอาศยั ตวั กลาง

วธิ ีปฎิบตั กิ าร
กดสวติ ชใ์ หห้ ลอดไฟตดิ แล้วสังเกตการเปลีย่ นแปลงที่
เกดิ ข้นึ ของเรดโิ อสโคปอยากทราบวา่ ปรากฏการณด์ งั กลา่ ว
เกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างไร
คำตอบ
แผ่นโลหะที่อยู่ในหลอดแก้วของเรดิโอสโคปจะหมนุ รอบ
แกนค่อนข้างเร็วทงั้ นเ้ี พราะวา่ แผ่นโลหะสดี ำได้รบั ความร้อนและ
ดดู ความร้อนจากการแผร่ งั สขี องหลอดไฟได้มากกว่าจึงทำใหก้ า๊ ซในหลอดเรดิโอสโคปขยายตัวหนีออกไปใน
อตั ราเรว็ ทส่ี ดุ กว่าแผ่นโลหะสีเงินจงึ ผลักให้เกดิ การหมนุ รอบแกนของแผน่ โลหะในหลอดเลดโิ อสโคปไดก้ ารแผ่
รังสคี วามร้อนคือการถ่ายโอนพลังงานความร้อนจากบริเวณท่รี ้อนกว่าไปยงั บรเิ วณท่ีเย็นกวา่ ไดโ้ ดยไมต่ ้องมี

ฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน 13

ตวั กลางตวั อยา่ งการแผ่รังสีความรอ้ นได้แก่การแพรังสีความรอ้ นจากดวงอาทิตย์มายังโลกความร้อนจากกอง
ไฟท่ีแพรังสีความรอ้ นเปน็ รศั มีออกมาโดยรอบแหลง่ กำเนดิ เป็นต้น
11. หลอดไฟในแกว้ นำ้

วัตถปุ ระสงค์
เพื่อใหผ้ ู้ดศู ึกษาปรากฏการณ์สะทอ้ นของแสงเพยี ง
บางสว่ นในกระจกใสซึ่งจะทำให้เกดิ ปรากฏการณข์ องแสงท่ี
น่าสนใจ
วธิ ที ดลอง
สังเกตแก้วน้ำซ่ึงมนี ำ้ อย่เู กือบเตม็ แกว้ ว่ามีอะไรในแกว้
หรอื ไม่แล้วกดสวิตช์ให้หลอดไฟตดิ สงั เกตวา่ เกดิ อะไรขึ้นในแกว้ น้ำ
และทำไมถึงเป็นเชน่ น้นั
คำตอบ
จะสงั เกตุเห็นหลอดไฟไปปรากฏในแก้วน้ำทั้งน้ีเพราะวา่
หลอดไฟจะสะท้อนทกี่ ระจกใสแล้วไปเกดิ เงาขึน้ ในแกว้ นำ้ ทำให้มองดูเหมือนมหี ลอดไฟเกิดขึน้ โดยติดสวา่ งใน
แก้วน้ำได้

12. การเกิดภาพบนกระจกเงาทที่ ำมุมตา่ งกัน
วัตถุประสงค์
เพอ่ื ศกึ ษาจำนวนภาพของตัวตกุ๊ ตาที่สะท้อนบนกระจกเงา 2 แผน่

ท่ที ำมมุ กันด้วยจำนวนองศาท่ีต่างกันว่าจำนวนภาพที่ปรากฏจะเพ่มิ ขนึ้
อย่างไรเม่ือมมุ หรือองศาของกระจกเปลี่ยนแปลงไป

วิธที ดลอง
ใหข้ ยับกระจกบานทสี่ ามารถพับไปมาได้ซง่ึ มี 1 บานให้ตรงกบั เสน้ สี
ที่ปรากฏอยากทราบวา่ จำนวนภาพท่ปี รากฏเก่ียวขอ้ งกับจำนวนองศา
อยา่ งไร

ฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 14

คำตอบ
จำนวนภาพที่ปรากฏจากกระจกทที่ ำมุมเปน็ ตามสูตรจำนวนภาพ =(360 องศา ÷ มมุ กระจกเงา)-1

มุมกระจกเงา 120 ํ 90 ํ 60 ํ 45 ํ 30 ํ

จำนวนภาพ 2 3 5 7 11

13. การเคลือ่ นไหวบนกระจกเงา
วธิ ที ดลอง
หมนุ แป้นวงกลมด้วยความเร็วพอประมาณ

แลว้ สงั เกตภาพท่ปี รากฏบนกระจกเงาทีอ่ ย่ภู ายในจานหมนุ ทา่ น
เหน็ ภาพเป็นอยา่ งไร

คำตอบ
จะเห็นภาพเคล่ือนไหวไดท้ ั้งน้ีเพราะความเร็ว
ของการหมุนภาพสะท้อนท่ีปรากฏบนกระจกด้วยความเรว็
ตอ่ เนอื่ งท่ที ำให้เกดิ ภาพตดิ ตาเพราะประสาทตายงั คงจำภาพเดมิ
ไดอ้ ีกระยะหน่งึ จงึ เหน็ การเกิดภาพตอ่ เน่ืองเป็นภาพเคล่ือนไหว
ได้ก่อนที่ภาพใหมจ่ ากเล่อื นมาใหเ้ ห็นความเรว็ ของภาพที่เล่ือน
ประมาณ วนิ าทีละ 20 ภาพหรอื เรว็ กว่าน้ี

ประโยชน์
ภาพยนตร์และการต์ นู เคล่ือนไหวไดโ้ ดยอาศยั หลกั การน้ี

ฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน 15

14. การสะท้อนของกระจกเว้า
วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ ให้รจู้ กั กฎการสะท้อนแสงของกระจกนนู

เวา้
2. เพอ่ื ให้สามารถเขียนเส้นแสดงทางเดินของแสง

ในการเกดิ ภาพของกระจกเว้าได้
3. เข้าใจการเกดิ ภาพของกระจกเว้า
กระจกเว้า (Concave miror) คอื กระจกท่ใี ชผ้ ิว

โคง้ เวา้ เป็นผวิ สะท้อนแสงหรือกระจกเงาทีร่ ังสตี กกระทบ
และรงั สสี ะท้อนอยูด่ ้านเดยี วกับจุดศนู ยก์ ลางความโคง้
อยากสมบัติของกระจกเวา้ ที่มคี วามยาวโฟกสั มากๆจะมี
กำลงั ขยายมากและลักษณะของภาพเปน็ ภาพเสมือนซึ่งตา
เราสามารถมองเหน็ ได้จากกระจกเว้าภาพทเ่ี กิดจากวตั ถทุ ี่
อย่หู า่ งจากกระจกเวา้ ไม่เกนิ สองเทา่ ของระยะของจดุ
โฟกสั ภาพที่ได้มีขนาดใหญ่กว่าวัตถเุ ปน็ ทาสจึงมลี ักษณะ
หวั กลับกับวัตถุธาตุที่เกดิ ขึ้นสามารถนำฉากมารับได้

ประโยชน์
กระจกเวา้ ใชใ้ นกล้องจลุ ทรรศนเ์ พ่ือช่วยรวมแสงให้ตกทแี่ ผ่นสไลดเ์ พ่ือทำให้เราเหน็ ภาพชดั ขนึ้ ทันต
แพทย์ใช้ส่องดฟู ันคนไข้เพ่ือใหเ้ ห็นภาพของฝนั มีขนาดใหญ่กวา่ ปกติทำให้สะดวกต่อการรักษา

ฐานการเรียนรู้ วิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 16

15. การสะทอ้ นของกระจกนนู
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ให้รู้จักกฎการสะท้อนแสงของ

กระจกนนู โค้งและกระจกเงาราบ
2. เพือ่ ให้สามารถเขียนเสน้ แสดงทางเดนิ

ของแสงในการเกดิ ภาพของกระจกนนู ได้
กระจกนนู
เป็นกระจกที่มีผิวดา้ นหน่ึงโค้งออก

เรียกว่ากระจกนูน (Convex mirror) ดังรปู แสดง
การสะท้อนของลำแสงขนานจากกระจกนูนแสงที่
สะท้อนออกมาจากกระจกนูนเป็นลำแสงทมี่ าจาก
จุดโฟกัสทอ่ี ยู่ดา้ นหลังกระจกโดยจดุ โฟกสั ของ
กระจกนูนจะทำหน้าทีเ่ สมือนวา่ เป็นแหล่งกำเนิด
แสงเน่ืองจากรังสีของแสงไม่ได้มาพบกันจริงภาพท่ี
เกิดจากกระจกนนู จึงเปน็ ภาพเสมือนหวั ตั้งเสมอมี
ขนาดเล็กกวา่ วตั ถแุ ละเป็นภาพทมี่ ุมมองกวา้ ง

ประโยชน์
1. ใชเ้ ปน็ กระจกมองหลงั รถยนต์
เชน่ เดียวกับกระจกเงาราบแต่ภาพท่ีเหน็ จาก
กระจกนนู จะอย่ใู นระยะใกล้กวา่
2. ใชเ้ ปน็ กระจกตดิ ตามทางเลยี้ วหรือมุมมองของถนนเพ่ือช่วยให้มองเห็นรถทีว่ ่งิ สวนทางมาได้

ฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 17

16. ชิงช้าแม่เหล็ก
วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อให้เข้าใจปรากฏการณ์ตามธรรมชาติจากการ

ทดลองว่าโคตรลวดท่ีมีกระแสไฟฟา้ สลับไหลผ่านจะ
เหนยี วนำกบั สนามแม่เหล็กถาวรทำใหเ้ กิดการแกว่งไกว
ของชงิ ช้าได้

วธิ ปี ฏิบัติ
กดสวิตชแ์ ลว้ ปลอ่ ยมือทำเช่นน้ตี ่อเนอ่ื งกันไปให้
ได้จงั หวะที่พอดีๆ สงั เกตผลการทดลองท่ีเกิดข้นึ ทำไมถึง
เป็นเช่นนัน้
คำตอบ
จริงช้าจะแกว่งไกวไปมาได้อย่างสวยงามโดย
อำนาจเหนยี วนำของกระแสไฟฟา้ กบั สนามแม่เหล็ก
กล่าวคอื กระแสไฟฟา้ ที่ไหลผ่านขดลวดซึ่งออกแบบให้เหมือนพ้ืนชิงชา้ จะทำให้ขดลวดมีอำนาจเหนียวนำ
ไฟฟา้ จงึ จะเหนยี วนำกบั สนามแมเ่ หล็กถาวรซง่ึ วางอยทู่ ่ฐี านทำให้เกิดการแกว่งไกวของชิงช้าได้

17. ภาพอนันต์
วัตถปุ ระสงค์
เพ่อื ให้เขา้ ใจปรากฏการณ์ของการเกิดภาพเม่ือวาง

วตั ถุอยู่ระหว่างกลางของกระจกเงาสองบานท่ีวางขนานกันว่า
จะมจี ำนวนภาพเกิดขึน้ เท่าไหร่

วิธที ดลอง
ให้ผดู้ ูสังเกตว่าเงารูปตุ๊กตาท่เี กิดขน้ึ ในกระจกเงาท้ัง
สองบานเป็นอยา่ งไรและลองนบั จำนวนเงาตกุ๊ ตาท่ีปรากฏมี
จำนวนเทา่ ไหร่
คำตอบ
เงาท่เี กิดจากการสะท้อนของกระจกเงาสองบาน ทวี่ าง
ขนานกนั มีจำนวนนบั ไม่ได้ (จำนวนอนันต์)

ฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 18

18. กล้องตาเรอื
วตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื ศกึ ษาการสะท้อนของแสงโดยใชก้ ระจกเงา
วธิ ที ดลอง
ใชก้ ระจกเงาสองแผน่ วางทำมุม 45 องศาในกล่องหัก

มมุ ละ 1 แผน่ ทำใหม้ องเห็นภาพในมุมสูงไดโ้ ดยอาศัยภาพ
สะทอ้ นจากกระจกเงา 2 แผน่

ประโยชน์
ใชใ้ นกิจการเรือดำนำ้ สามารถมองเหน็ วัตถุบนผวิ น้ำได้
หรอื ใช้เป็นกล้องดขู บวนแห่

19. การสะทอ้ นภาพบนกระจกเงาทรงกระบอก
จดุ ประสงค์
เพื่อศึกษาการเกิดภาพบนกระจกเงาทรงกระบอก

โดยสงั เกตภาพท่ีถกู ยดื ให้เปน็ วงกลมจนไม่ได้สัดส่วนและ
ภาพสะท้อนจากกระจกเงาทรงกระบอกจะเห็นวา่ ภาพบน
กระจกท่ีสะท้อนภาพท่ีถูกยดื ออกจะกลายเปน็ ภาพที่ถกู
สัดส่วนเนื่องด้วยคุณสมบัติของการสะท้อนภาพทกุ ทิศทาง
ของภาพสะท้อนจากวตั ถุทรงกระบอก

ภาพสะท้อนจากวตั ถทุ รงกระบอก
ภาพที่เกิดจากการสะท้อนของวัตถุทรงกระบอก
จะได้ภาพทสี่ ะทอ้ นจากทุกทศิ ทุกทางและการทวี่ ตั ถุ
ทรงกระบอกจะสะท้อนภาพท่ีเสมอื นวา่ มีพน้ื ทม่ี ากกวา่ นี(้ แต่มอี งศาเทา่ กัน) ทำให้เกิดภาพสะทอ้ นทีบ่ ีบเข้า
และสะท้อนได้ครบ 360 องศา
ประโยชนจ์ ากภาพสะท้อนทุกทิศทาง
ในปจั จุบนั ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั และนำไปใช้มากทสี่ ดุ ของคุณสมบตั กิ ารสะท้อนทกุ ทิศทางนี้เหน็ จะไม่พ้น
ระบบรักษาความปลอดภยั ท้งั ใช้เป็นกระจกสังเกตการณแ์ ละนำประยุกต์ใชก้ บั กล้องวงจรปดิ

ฐานการเรียนรู้ วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 19

20. แรงและเครอื่ งผ่อนแรง
การทดลองและสงั เกต
- หมนุ ดา้ มจบั ไปตามเขม็ และทวนเขม็

นาฬิกาแลว้ สงั เกตการเคลือ่ นทขี่ องมวล
- ลองใชม้ ือดนั มวลให้เคลือ่ นท่ไี ป

ทางซ้ายหรือขวาแลว้ สังเกตว่ามวลเคลื่อนที่ได้
หรือไม่อย่างไร

เกดิ อะไรข้นึ
การหมนุ ได้มจับจะสามารถเคล่อื นทม่ี วล
ไปทางซ้ายหรือขวาได้โดยใชแ้ รงไมม่ ากแต่มวนจะ
เคลอ่ื นที่ไปได้ชา้
แม้จะใช้มือดันมลู ใหไ้ ปทางซา้ ยหรอื ขวาดว้ ยแรงท่ีมากเท่าไหร่กต็ ามกจ็ ะไมส่ ามารถดันมวลเคลื่อนที่
ได้เลย
เพราะอะไร
การทำงานของเครื่องผอ่ นแรงชนดิ นี้ไดน้ ำประโยชนข์ องเฟืองชนดิ หน่ึงมาใช้คือเฟืองหนอน
เฟืองหนอน (Worm gear)
เปน็ ลักษณะเสียงครบที่มีเกรยี วสกพู นั อยโู่ ดยรอบ ใชส้ ำหรับเปลี่ยนทศิ ทางการเคล่ือนทีแ่ ละความเรว็
รวมถึงแรงในการเคลื่อนที่ด้วยเฟอื งหนอนมีลักษณะเด่นคอื เฟอื งหนอนไมส่ ามารถหมนุ เกลียวหนอนได้ ทำให้
นิยมใชเ้ ฟืองลกั ษณะน้ีกับระบบการลำเลยี งเพ่ือป้องกันการไหลยอ้ นกลับของระบบลำเลียงอกี ท้งั ยังสามารถ
ลำเลียงของหนักมากๆ ได้โดยใชแ้ รงขบั เคลื่อนที่ไมต่ รงมากนัก

21. แรงหนศี ูนย์กลาง
วัตถุประสงค์
เพ่ือให้ผ้ดู เู กดิ ความสนกุ และเขา้ ใจปรากฏการณต์ าม

ธรรมชาตเิ รอ่ื งแรงหนศี นู ย์กลาง
วธิ ีการทดลอง
ให้ปลอ่ ยรปู แกว้ จากปลายลาง ณระดบั ความสูงตา่ งๆ กัน

สังเกตดูวา่ การปล่อยรูปแก้ในระดบั ท่ีสามารถทำให้ลกู ยงั ไม่ตกจาก
หลังไดอ้ ยากทราบวา่ แรงทม่ี ากระทำกบั ลูกแกว้ ไมต่ กจากรางคอื แรง
อะไร

คำตอบ
แรงหนศี นู ย์กลาง

ฐานการเรียนรู้ วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 20

22. รอก
หลกั การทำงานของรอก
โดยปกติแล้วหากเราต้องการทจ่ี ะยกหรือลากวตั ถุ

ใดๆ เราจะต้องออกแรงกระทำต่อวตั ถุน้นั ๆ ดว้ ยปรมิ าณ
เท่ากบั แรงตา้ นทีว่ ัตถนุ น้ั นัน้ มีอยู่ (load) (มดยกของธรรมดา)
หมายความว่าหากวัตถุที่เราต้องการยกน้ันมีน้ำหนักมากเราก็
ต้องออกแรงมากตามไปดว้ ย (มดยกของแล้วยกไม่ไหวโดนทับ)
จงึ มีการคิดคน้ อปุ กรณ์ทชี่ ว่ ยให้ เราสามารถยกวตั ถุทห่ี นัก
มากๆโดยการออกแรงนอ้ ยๆได้เรียกวา่ เคร่อื งผ่อนแรง (Machines) เคร่อื งผอ่ นแรงนนั้ ใช้หลกั การของการ
ไดเ้ ปรียบเชิงกล (Mechanical Advantage M.A.) เพอื่ ช่วยลดแรงทีเ่ ราต้องใชก้ ับวตั ถุตา่ งๆ

การได้เปรยี บเชิงกลสามารถหาได้จากอตั ราสว่ นระหว่างแรงตา้ นที่วัตถุนั้นๆ มีอย่กู บั แรงที่เรากระทำ
ต่อวตั ถุ (แรงพยายาม) และอัตราส่วนระหวา่ งระยะทางที่เคลอ่ื นท่โี ดยแรงพยายามกับระยะทางทีเ่ คลือ่ นที่
โดยโหลดนัน้ เรียกว่า "อัตราส่วนความเร็ว (Velocity Ration - V.R.)"

รอก (Pulley) เป็นเคร่อื งมอื ที่มลี กั ษณะกลมแบนมันหมุนได้ขายวงลอ้ ใชเ้ ชือกหรอื โซ่คล้องสำหรบั ดึง
รอกแบ่งออกเป็นหลายชนดิ ไดแ้ ก่

รอกเดีย่ วตายตัว จะมีเชือกคล้องผา่ นวงรอกหนึ่งตัว ปลายเชือกด้านหน่งึ ผกู ตดิ กับวตั ถทุ ี่ต้องการยก
อีกดา้ นหนงึ่ สำหรบั จบั เพื่อดึงวัตถลุ อกแบบนี้ไม่พน้ แรงแตอ่ ำนวยความสะดวกในการทำงาน

รอกเดี่ยวเคล่ือนที่ เปน็ รอกท่ีเคล่ือนที่ได้เมื่อนำไปใชง้ านรอกแบบนี้ช่วยผอ่ นแรงครึ่งหนงึ่ ของนำ้ หนัก
รอกพวง เกดิ จากการนำรอกหลายอยา่ งและหลายตวั มาต่อกันเป็นระบบมีลักษณะเป็นพวง
23. หลักการทำงานของจกั รยานสูบน้ำ
จกั รยานเป็นจกั รกลท่ีมีหลักการทำงานงา่ ยง่ายไม่ซับซ้อนไม่ตอ้ งใชเ้ ครื่องยนต์ไม่ใช้นำ้ มันเชือ้ เพลงิ ใช้
พลงั งานตน้ กำลังจากแรงปัน่ ของผู้ขี่ไปหมุนเฟืองล้อทำใหล้ ้อมหมนุ นอกเหนือจาก การใชจ้ ักรยาน เปน็
พาหนะแลว้ ยงั สามารถดัดแปลงโครงจักรยานมาใชเ้ ป็นต้นกำลงั ฉุดปั๊มน้ำแทนมอเตอรไ์ ฟฟา้ หมนุ เคร่ืองปน่ั
ไฟฟา้ หมนุ เครอื่ งบดบนเคร่ืองซักผ้าและ อ่ืนๆ อีกมากมายนับว่าเปน็ เทคโนโลยที ส่ี ง่ เสริมวถิ ีชวี ิตพอเพยี งลด
ต้นทุนดา้ น

ฐานการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 21

24. หัวหุน่ นักวิทยาศาสตร์
1. อัลเบิรต์ ไอน์สไตน์

เกิด  วันที่ 14 มนี าคม ค.ศ.1879 ทเี่ มืองอลู ์ม (Ulm) ประเทศเยอรมนี (Germany)
เสียชีวิต  วันที่ 18 มถิ ุนายน ค.ศ.1955 ท่ีเมอื งนวิ เจอร์ซ่ี
(New Jersey) ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
ผลงาน  - ค้นพบทฤษฎสี ัมพทั ธภาพ (Theory of
Relativity)

- ค้นพบทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect
Theory)

- ได้รบั รางวลั โนเบล สาขาฟิสกิ ส์ ในปี ค.ศ.1921
ผลงานของไอน์สไตน์ในสาขาฟิสิกส์มีมากมาย ต่อไปนี้เป็น
ส่วนหนึ่ง : ทฤษฎสี ัมพัทธภาพพเิ ศษ ซ่ึงนำกลศาสตรม์ าประยุกต์รวม
กับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป, ทฤษฎีใหม่เกี่ยวกับ
แรงโน้มถ่วง ซึ่งเป็นไปตามหลักแห่งความสมมูล,วางรากฐานของ
จกั รวาลเชงิ สัมพัทธ์ และค่าคงท่จี กั รวาล, ขยายแนวความคิดยุคหลัง
นิวตัน สามารถอธิบายจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดของดาวพุธได้อย่างลึกซึ้ง, ทำนายการหักเหของแสงอัน
เนื่องมาจากแรงโน้มถว่ งและเลนส์ความโนม้ ถ่วง, อธบิ ายการเกิดปรากฏการณ์ของแรงยกตัว, รเิ ร่ิมทฤษฎีการ
แกว่งตวั อย่างกระจายซึ่งอธบิ ายการเคลื่อนท่ขี องบราวน์ของโมเลกลุ , ทฤษฎโี ฟตอนกบั ความเกีย่ วพันระหว่าง
คลื่น-อนุภาค ซึ่งพัฒนาจากคุณสมบัติอุณหพลศาสตร์ของแสง, ทฤษฎีควอนตัมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ
อะตอมในของแขง็ , พลังงานท่ีจุดศูนย์, อธิบายรูปแบบยอ่ ยของสมการของชเรอดงิ เงอร์, EPR paradox, ริเริ่ม
โครงการทฤษฎแี รงเอกภาพ

ฐานการเรียนรู้ วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 22

2. หลุยส์ ปาสเตอร์
เกิด  วันที่ 27 ธนั วาคม ค.ศ. 1822 ทีเ่ มืองโดล(Dole) มล
รฐั จรู า(Jura) ประเทศฝรัง่ เศส(France)
เสยี ชวี ติ  วนั ท่ี 28 กนั ยายน ค.ศ. 1895 ประเทศฝรั่งเศส
(France)
ผลงาน  - ค้นพบวัคซีนป้องกนั โรคพษิ สุนัขบา้

- คน้ พบว่าจุลินทรียเ์ ป็นสาเหตทุ ่ที ำใหเ้ กดิ การเนา่ เสีย
- ค้นพบวิธกี ารฆ่าเชื้อจลุ ินทรีย์โดยการนำมาตม้ หรือ
เรยี กว่า พาสเจอร์ไรเซซัน (Pasteurization)
ในวงวิชาการด้านจลุ ชวี วทิ ยา ยกย่องกนั วา่ หลุยสป์ าสเตอร์
“เป็นบิดาแหง่ จลุ ชวี วิทยา” ผู้วางรากฐานและให้กำเนดิ วิชาจลุ
ชีววทิ ยา

3. มาดาม มารี คูรี่
เกิด  วนั ที่ 7 พฤศจกิ ายน ค.ศ.1867 ท่ีเมืองวอรซ์ อร์
(Warsaw) ประเทศโปแลนด์ (Poland)
เสยี ชวี ติ  วนั ท่ี 4 กรกฎาคม ค.ศ.1934 ทก่ี รุงปารีส (Paris)
ประเทศฝรั่งเศษ (France)
ผลงาน  - คน้ พบธาตเุ รเดยี ม

- ไดร้ บั รางวัลโนเบลสาขาฟสิ กิ ส์ ในปี ค.ศ.1903 จาก
ผลงานการพบธาตเุ รเดียม

- ได้รบั รางวัลโนเบลสาขาฟสิ กิ ส์อกี ครั้งหน่ึง ในปี ค.ศ.
191 จากผลงานการคน้ ควา้

หาประโยชนจ์ ากธาตุเรเดียม

ฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 23

4. ไอแซก นวิ ตัน
เกิด  วันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 เมืองลินคอรน์ เชยี ร์
(Lincohnshire) ประเทศอังกฤษ(England)
เสยี ชวี ติ  วนั ที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 กรุงลอนดอน (London)
ประเทศอังกฤษ (England)
ผลงาน  1. ตัง้ กฎแรงดงึ ดดู ของโลก

2. ตงั้ กฎเกยี่ วกบั การเคลื่อนท่ขี องวตั ถุ
3. ตั้งทฤษฎีแคลคลู สั (Calculus)
4. ประดิษฐก์ ลอ้ งโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง
5. ค้นพบสมบัติของแสงที่วา่ แสงสขี าวประกอบขึ้น
จากแสงสีรงุ้
5. นโิ คลัส โคเปอร์นคิ สั
เกดิ  วันท่ี 19 กมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ. 1473 ท่ีเมืองตูรัน (Torun)
ประเทสโปแลนด์ (Poland)
เสียชวี ิต  วนั ท่ี 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1543 ท่เี มืองฟรอนบรู ์ก
(Frauenburg) ประเทศโปแลนด์ (Poland)
ผลงาน  ต้งั ทฤษฎีโลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ (Copernicus
Theory) โดยทฤษฎนี ี้กล่าววา่ ดวงอาทติ ยเ์ ป็นศูนย์กลางของสรุ ิย
จักรวาล โลก ดาวเคราะหอ์ ่นื ๆต้องหมุนรอบดวงอาทิตย์และโลกมี
สณั ฐานเปน็ ทรงกลม
ระบบสุริยจักรวาลท่ีโคเปอรน์ ิคัสเปน็ ผคู้ น้ พบ โดยสามารถสรุปเป็น
ทฤษฎีได้ท้ังหมด 3 ขอ้ คือ
1. ดวงอาทติ ยเ์ ป็นศูนย์กลางของระบบสุรยิ จักรวาล โลก
และดาวเคราะหอ์ นื่ ๆตอ้ งโคจรรอบดวงอาทิตย์ การโคจรของโลก รอบดวงอาทติ ย์ต้องใช้เวลา 1 ปหี รือ 365
วัน ซง่ึ ทำให้เกิดฤดูกาลขนึ้
2. โลกมีสณั ฐานกลมไมไ่ ด้แบนอยา่ งท่ีเข้าใจกันมา โคเปอรน์ คิ สั ใหเ้ หตุผลในข้อนีว้ า่ มนษุ ย์ไม่สามารถ
มองเห็นดาวดวงเดียวกนั ในเวลาเดยี วกันและสถานทตี่ ่างกันได้ อีกทง้ั โลกต้องหมนุ อยู่ตลอดเวลาไม่ได้หยดุ นิง่
โดยโลกใช้เวลา 1 วัน หรอื 24 ชัว่ โมง การหมุนรอบตวั เอง ซง่ึ ทำใหเ้ กดิ กลางวนั และกลางคืน
3. ดาวเคราะหต์ ่างๆที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เปน็ ไปในลกั ษณะวงกลม โคเปอร์นคิ สั ได้เขียนรูปภาพแสดง
ลกั ษณะการโคจร ของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทติ ย์ แตท่ ฤษฎีของโคเปอร์นิคัสขอ้ นผี้ ิดพลาดเพราะเขากล่าวว่า
"การโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์เปน็ วงกลม" ตอ่ มานกั ดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน โจฮันเนส เคพเลอร์
(Johanes Kepler) ได้คน้ พบว่า การโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์น้นั มีลกั ษณะเปน็ วงรี

ฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 24

การวดั และประเมนิ ผล
ในการวัดและประเมินผล กำหนดให้มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการจัด

กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยบูรณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมผ่านนิทรรศการ

ผจู้ ดั ทำ ฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 25

ท่ีปรกึ ษา ผู้อำนวยการ
นายประพรรณ์ ขามโนนวดั
ครูผู้ช่วย
คณะผูจ้ ดั ทำ ครูผูช้ ว่ ย
นายมนัสชยั โสคำภา นกั วิชาการศึกษา
นายศราวฒุ ิ ภูมาศ นกั วชิ าการวิทยาศาสตร์ศึกษา
นายอำพร ทองอาจ นกั วชิ าการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา
นางสาวกนกวรรณ จิปิภพ นักวิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา
นางสาวเยาวลักษณ์ กล้วยนอ้ ย นกั วิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา
นางสาวสุกญั ญา ศรีภูมิ นกั วิชาการวทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา
นางสาวสาวติ รี ไชยรตั น์
นางสาวเดอื นรัตน์ เฉลียวกจิ นักเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ออกแบบปก
นางสาวนุชนาภ นงค์พรมมา

ฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 26

อ้างอิง
http://www.sciencetoy.in.th/home/
https://sites.google.com/site/srangprasiththiphaphkarsxn
https://p-ject.com/tag
https://mgronline.com/science/detail/
https://www.toytorich.com


Click to View FlipBook Version