The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดแต่งกายประจำชาติไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ชุดแต่งกายประจำชาติไทย

ชุดแต่งกายประจำชาติไทย

1

คำนำ

หนังสืออเิ ลคทรอนิกส์(E-book) “ชดุ แต่งกายประจำชาติไทย” เลม่ นี้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอบางเสาธง ได้
สบื ค้นขอ้ มูลและรวบรวมจัดทำข้ึนมาจากหนังสอื และเวปไซต์ต่างๆ เพื่อเปน็ เอกสารใช้ในการอา่ นเป็นองค์ความร้ใู ห้กับผู้ทำ
แบบทดสอบออนไลน์ “ชุดแต่งกายประจำชาติไทย” และเพื่อให้ นกั เรียน นกั ศึกษา และประชาชนทวั่ ไปไดร้ ับทราบถึงพระ
มหากรณุ าธคิ ุณสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ต์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชนนีพันปหี ลวง

หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอบางเสาธง หวงั เป็นอย่างยง่ิ วา่ หนังสอื อเิ ลคทรนกิ ส์(E-book) เล่มนี้จะเปน็ ประโยชน์
ใหก้ บั ผอู้ า่ นทุกท่านรวมท้ัง ผู้ทีส่ นใจเกี่ยวกับวิวัฒนาการของชดุ แต่งกายประจำชาติไทยและความเป็นมาของชุดแตง่ กาย
ประจำชาติไทย นำไปเป็นฐานข้อมลู ได้

หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอบางเสาธง

2

ประวตั ชิ ุดแต่งกายไทย

เคร่อื งแต่งกายสตรไี ทย

การแต่งกายของไทยตงั้ แตอ่ ดีต มลี กั ษณะเด่นๆ ๓ ประการใหญๆ่ ลักษณะแรกของการแต่งกายของไทยคือ
การใช้ประโยชน์ เคร่ืองนุ่งหม่ ของไทยเรานับตั้งแต่อดตี เน้นการใช้ประโยชน์ในด้านความเหมาะสม การประหยัดและความ
คลอ่ งตวั ในการดดั แปลงตัวอย่างเชน่ ในสมัยอยุธยาการแตง่ กายของสตรไี ทย ตามปกติจะแสดงออกซ่งึ ความนุ่มนวลและ
ความเปน็ ผหู้ ญิง แต่ครัน้ ปลายสมัยอยุธยา เรามีสงครามกับพม่า เปน็ เวลาที่สตรีไทยต้องออกต่อสูเ้ คียงบ่าเคยี งไหลก่ ับชาย
การแต่งกายของสตรีก็เปล่ยี นไปใหเ้ หมาะสมกับบทบาทใหม่ที่เพ่ิมขึ้น กล่าวคือ ให้รดั กมุ ไมร่ ่มุ รา่ ม สะดวกในการเคล่ือนไหว
ห่มผา้ ”ตะเบงมาน” คือห่มผา้ ออ้ มทางด้านหลังมาไขวก้ ันตรงอก เอาชายขึ้นไปผูกไวท้ ตี่ ้นคอ สว่ นผมก็ตดั สั้นเพอ่ื สะดวกใน
การรบ ในการหนีภัย และการปลอมแปลงตวั เป็นชาย
สำหรบั เครอ่ื งแต่งกายทใี่ ชส้ ำหรับทำงานกลางแจง้ หรอื ทำไร่ของคนไทยนัน้ จะใช้ส่ีเขม้ เพ่ือไม่ใหเ้ ห็นสกปรกง่าย ตัวเสื้อของ
สตรีเปน็ เสื้อผ่าอก แขนกระบอก เพื่อกันแดด

ในเรื่องการใช้ประโยชนน์ ้ี ชาวตา่ งประเทศเคยวิจารณว์ ิธกี ารนุ่งหม่ แบบหน่งึ ดว้ ยความท่ึงนั่นกค็ ือ การน่งุ โจง
กระเบนและหม่ สไบหรือหม่ ผ้าแถบคาดอก ซ่งึ สำหรบั คนไทยเองเปน็ เคร่ืองแต่งกายในอดีตท่ีค่อนขา้ งจะคนุ้ เคย ไม่แปลกตา
แต่อย่างใด แต่ประเดน็ ทที่ ำใหช้ าวตา่ งประเทศท่ึงก็คือ ผ้าทีน่ ำมาโจงกระเบนกด็ ี ห่มเป็นสไบหรอื ผ้าแถบกด็ ี ไมไ่ ด้เย็บใหเ้ ปน็
เสอ้ื ผา้ แตเ่ ป็นเพียงผา้ ๒ ชิ้น ยาวเป็นแถบ แตเ่ ม่ือนำช้นิ หน่ึงมานุ่ง โดยทบชายท้ังสองเขา้ ดว้ ยกัน ม้วนและรง้ั ไปเหน็บไว้ขา้ ง
หลงั หรอื ทีเ่ รยี กว่า “โจง” และสไบอกี ช้นิ หน่ึงมาห่มหรอื คาดอกกจ็ ะเป็นเครื่องแต่งกายที่รัดกมุ โดยไม่ตอ้ งมีการเย็บเลย
ความสวยงาม ชาติใดก็ตามมีประวัติอารยธรรมยาวนาน มีวฒั นธรรมเปน็ ของตนเองย่อมมีการแสดงออกซึง่ เป็นเอกลกั ษณ์
ของตนเอง ฉะนนั้ การแตง่ กายของไทย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงของสตรี จึงเนน้ ความละเอียดออ่ นละเมยี ดละไมซึง่ เป็นเอกลักษณ์
อกี อย่างหนึ่งของวฒั นธรรมไทย

เราจะมองยอ้ นไปถึงเครื่องแต่กายของคนไทยตงั้ แตต่ ้นสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ในสมยั รตั นโกสินทร์ตอนต้น ระหวา่ ง
รชั กาลที่ ๑ -๓ ผู้หญิงยงั คงตดั ผมสนั้ อยเู่ หมือนปลายสมยั อยุธยา ซงึ่ ผหู้ ญงิ ไว้ผมสน้ั เพือ่ ความสะดวกดังพูดไว้แล้วสว่ นแบบ
การแตง่ กายก็นุง่ ผา้ จีบสไบเฉียง

ต่อมาในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว สตรีนยิ มนุง่ ผา้ ลายโจงกระเบนห่มสไบทับเส้อื แขนกระบอก
ภายนอก

ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว เครื่องแตง่ กายสตรีมีหลายแบบ แบบทใ่ี ชใ้ นรชั กาลท่ี ๔ ก็
ยังคงมี นอกจากนน้ั ก็มีแบบซึ่งนุ่งโจงกระเบน เส้ือแขนยาวจีบโป่งถ้าจบี โปง่ ทตี่ ้นแขนตอนใกลบ้ ่า ก็เรยี กเส้อื หมูแฮม แลว้ ยงั มี
สะพายแพรอยา่ งหม่ สไบเฉยี งอีกทีเพื่อรกั ษาเคา้ เดิม ตอ่ มามีผ้าคาดเอวทำด้วยแพรเย่ือไมส้ ตี า่ งๆจีบย่น หรือคาดเอวเปน็ แถบ
ริบบิน้ แบบใหญ่ๆเป็นสตี ่างๆผมสนั้

ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หัว สตรีเรมิ่ ไวผ้ มยาวขน้ึ นุ่งโจงพระเบนก็มี นุ่งผ้าซนิ่ ก็มี สว่ นชาย

3

น้ันทีย่ ังคงแตง่ ตวั อยา่ งเดิมในรชั กาลที่ ๕ กม็ ี ท่ีเร่ิมนยิ มนุ่ง”กางเกงฝรงั่ ”ก็มี สวมหมวกกะโล่
ในสมยั พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั สตรีนิยมนงุ่ ซ่ินใสเ่ สือ้ ยาวคลุมสะโพก เลิกสะพายแพร ส่วนชายนยิ มนุ่งกางเกง
แพรสตี า่ งๆเช่นเดยี วกับผา้ มว่ ง หวีผมเรยี บ ไมส่ วมหมวก

เครื่องประดบั
สมัยตน้ ๆรัตนโกสินทร์ สตรีและเด็กใชเ้ ครื่องประดับหลายอยา่ งซ่ึงมที ้งั ทำดว้ ยทอง นาก เงนิ ถ้ามฐี านะกใ็ ช้ทองหรือ

นาก ถ้าเปน็ ราษฎรชาวบ้านธรรมดาสมยั น้ันกใ็ ช้เงนิ แตส่ ว่ นใหญ่เปน็ ทองเพราะทองสมัยน้ันราคาถูก เปน็ ทองบางสะพานสุก
ปลั่ง

เครือ่ งประดบั ดงั กล่าวมีสรอ้ ยคอ สร้อยข้อมือ กำไลมือ กำไลเทา้ ตมุ้ หู (ตา่ งห)ู แหวน พริกเทศ ประหลำ่ บ้าหวา่
แหวนรอบ ลูกไม้ปลายมอื สงั วาล เขม็ ขัด

สรอ้ ยคอ สวมเฉพาะผู้ใหญค่ ือสวมเป็นประจำ หรอื สวมเวลามงี าน
สร้อยข้อมือ สวมเฉพาะผใู้ หญ่เชน่ กนั สมยั รัชกาลท่ี ๕ เปน็ สร้อยบดิ (ข้อสรอ้ ยบดิ )กำไลมือ กำไลเทา้ เปน็ เคร่ืองมือ
ประดบั สำหรบั เด็กๆ
ตุม้ หู ใส่เป็นประจำทั้งเดก็ และผใู้ หญ่ในอดีตพอ่ แม่มักจะเจาะหูให้เด็กผ้หู ญิงตง้ั แต่อายุ ๕-๖ ขวบ
แหวน สวมเฉพาะผ้ใู หญ่ คอ สวมเป็นประจำและเวลามีงานมกี าร สมัยรัชกาลที่ ๕ แหวนเพชรนิยมทำเป็นรูปดอก
เบญจมาศ เพชรเกาะตัวทองขาว ก้านดอกเปน็ ทอง
พริกเทศ ทำเปน็ รูปเหมือนพริกเทศหรือพริกแห้งเม็ดยาวท่มี าจากตา่ งประเทศ ติดกบั สายเปน็ ระยะสำหรับผกู เอว
ประหลำ่ หรือปะวะหล่ำ ทำเป็นรูปกลมๆสลักลวดลายสำหรบั ผูกข้อมอื
บ้าหว่า คล้ายพาหรุ ัด สำหรบั ผูกตน้ แขนทั้งสองข้าง
เข็มขัด ไดแ้ กเ่ ขม็ ขัดทอง นาก และเงนิ สมยั ก่อนราษฎรธรรมดาและเด็กใชเ้ ข็มขดั เงินกนั ประจำ

ชุดไทยพระราชนยิ ม

ได้ถือกำเนดิ ขนึ้ ในวโรกาสท่ีสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถและพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่
๙ เสด็จพระราชดำเนินเยือนยุโรปและสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการ เม่ือพุทธศักราช ๒๕๐๓ ไดพ้ ระราชทานพระราชดำริ
วา่ สมควรทจ่ี ะสรรค์สร้างการแตง่ กายชดุ ไทยใหเ้ ปน็ ไปตามประเพณีที่ดงี าม จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมให้มี
การศึกษา ค้นควา้ เครอ่ื งแต่งกายสมัยต่าง ๆ จากพระฉายาลกั ษณข์ องเจา้ นายฝ่ายใน และปรึกษาผู้เชยี่ วชาญทาง
ประวตั ศิ าสตร์ โดยลำดับยคุ นั้นต้ังแตค่ ร้งั อาณาจกั รสุโขทัยมาจนถงึ สมัยต้นรตั นโกสินทร์โดยทรงอาศัยเคา้ แบบเหลา่ นั้นมา
กำหนดเปน็ พระราชนยิ ม จัดแบบแต่งกายของหญงิ ไทยเป็นชดุ สำหรบั โอกาสตา่ งๆ โดยทรงกำหนดการตกแตง่ ของแบบ
เหลา่ นี้ไวอ้ ยา่ งเหมาะสมตามกาลเวลา สวยสงา่ ดว้ ยผ้าไหมแบบตา่ งๆของไทยประกอบด้วยฝมี ือการปักตกแตง่ เป็นลวดลายที่
ประณีตแบบไทย พร้อมดว้ ยแบบเครอื่ งประดบั มีฝีมอื ชา่ งไทยเปน็ ชุดๆ เปน็ ๘ ชดุ ไทย ทสี่ วยงามเหมาะสมกบั สตรีไทยทีมี
ความงาม ความเรียบรอ้ ยและอ่อนหวาน เป็นท่ีนยิ มยกย่องอยูท่ ั่วไปว่า ชดุ ไทยพระราชนยิ มมคี วามสวยสดงดงาม เหมาะสม
กบั หญิงไทย ฉะนน้ั จึงพูดได้ว่า ชดุ ไทยพระราชนยิ ม มิใชจ่ ากการออกแบบของบุคคลท่วั ไป โดยพระกรุณาของสมเด็จพระนาง
เจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๙ พระองคเ์ ดยี วที่ไดท้ รงพระกรุณาใหห้ ญงิ ไทย มี

4

แบบอยา่ งการแต่งกายประจำชาติ นบั จากตน้ สมยั รชั กาลที่ ๙ เป็นต้นมา
เม่ือสตรไี ทยได้มชี ุดประจำชาตแิ ลว้ จงึ ควรทสี่ ตรีไทยทุกคนจะได้ศกึ ษาให้รถู้ งึ แบบอย่างท่ีถูกต้องไว้เปน็ ความรู้

ประจำ เพื่อแนะนำกันต่อไป ยงั มสี ตรีไทยรุ่นหลงั ๆอกี เปน็ จำนวนมากทย่ี ังไม่รแู้ ละใครจ่ ะรู้ ดังนัน้ จงึ นำมาลำดับใหเ้ ปน็ ท่ที ราบ
กนั
๑.ชดุ ไทยจติ รลดา

ชดุ ไทยจิตรลดา คือชุดไทยในพธิ ีกลางวัน ตงั้ ช่ือตามพระตำหนกั จิตรลดารโหฐาน ลกั ษณะเป็นทางการกวา่ ชดุ
ไทยเรือนต้น เป็นเส้อื คอกลม ขอบต้งั ขน้ึ มาเล็กนอ้ ย ใชผ้ า้ ไหมมีเชงิ หรือลายขวางสลบั สีตัด เป็นซ่นิ ป้ายหนา้ ยาวจรดขอ้ เท้า
สวมเป็นชุดกับเสื้อเขา้ รูป มีปกคอตง้ั ชดิ คอ มีกระดมุ ๕ เม็ด แขนยาวเข้าชุดกบั สร้อยคอ และตุ้มหแู บบไทย ใช้ในงานทผี่ ูช้ าย
แตง่ เต็มยศ เชน่ ตอ้ นรบั ผ้ปู ระมขุ จากต่างประเทศทม่ี าเยือนเป็นทางการ ซ่ึงฝา่ ยหญิงไมป่ ระดับเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ ใชเ้ ป็น
ชุดรับหมัน้ และชดุ พิธที างศาสนาของเจ้าสาว และชดุ ไทยจติ รลดาน้ีเปน็ ทนี่ ิยมสวมใส่เป็นชุดไทยไว้ทุกข์หรือถวายความอาลัย
แต่ควรตัดผา้ ท่งี ดงามเหมาะสมตามโอกาสนยิ ม ชดุ น้ถี า้ ตัดดว้ ยผ้าฝา้ ย สวมเปน็ ชดุ ลำลองทัว่ ไปก็ได้

๒.ชุดไทยเรือนตน้
ชดุ ไทยเรือนตน้ ต้ังช่ือตามเรือนต้น คือชุดไทยแบบลำลองใช้ผา้ ฝา้ ย หรือผา้ ไหมที่มีลายทอสลับสเี ปน็ ริว้ ตาม

ขวาง ตัดเป็นซน่ิ แบบปา้ ยหน้า มีความยาวเพยี งข้อเทา้ สวมเป็นชดุ กบั เส้ือผา้ เล่ยี น ตัดเปน็ เสอ้ื เข้ารูปคอกลมแขนยาวสามส่วน
ไดร้ ะดบั กบั ชายเสื้อ ถ้าต้องการให้แขนสวมสบาย ปลอ่ ยตะเขบ็ ปลายแขนและตะเขบ็ ชายเส้ือดา้ นข้างไว้ ๓ ซ.ม.ตัดเสื้อติด
กระดุม ๕ เม็ด เขา้ ชุดกบั เครื่องประดบั แบบไทย เป็นสร้อยคอหรอื เข็มกลดั ชดุ ไทยเรือนต้นน้ี นยิ มใชเ้ ป็นชดุ พธิ รี ับหม้ันพธิ ี

5

ทางศาสนา หรือในการต้อนรับแขกเมืองจะเหน็ ไดจ้ ากพนกั งานของโรงแรมใหญๆ่ จะใช้ชุดไทยเรือนต้นเป็นเครื่องแตง่ กาย ซึ่ง
มชี าวต่างประเทศทม่ี าเท่ียวและพักตามโรงแรมใหญ่ๆ เปน็ การเผยแพรช่ ุดแต่งกายประจำชาตไิ ทย นอกจากนั้นยังนิยมใช้ใน
งานประเพณีประจำปีสำหรบั ชุดนีอ้ าจจะเปลี่ยนแปลงผา้ ที่นำมาตดั เป็นผา้ ซิ่นแบบตา่ งๆหรอื จะตดั ผ้าซ่นิ ด้วยผ้าเน้อื เกลยี้ ง
สวมเป็นชดุ กบั เสื้อท่ตี ัดด้วยผา้ ลายพมิ พ์ก็ได้

๓.ชดุ ไทยอมรนิ ทร์
ชดุ ไทยอมรนิ ทร์ เปน็ ชดุ ไทยสำหรบั งานพิธีตอนคำ่ โดยเฉพาะ ต้งั ชอื่ ตามพระที่นง่ั อมรนิ ทร์วินจิ ฉยั แบบ

เหมอื นกบั ชุดไทยจิตรลดา แต่เนื้อผ้าและเครอ่ื งประดับหรหู รากว่า เหมาะกับงานเลยี้ งรับรอง ไปดูมหรสพ พระราชพิธีตา่ งๆ
พระราชพิธสี วนสนามวันเฉลิมพระชนมพรรษา หรืองานเลี้ยงรับรองท่ีต้องประดบั เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์
เส้ือชุดไทยอมรนิ ทร์ ตดั เป็นเส้อื คอกลมชดิ คอ มขี อบคอตั้ง แขนยาว เหมอื นกับเส้ือไทยจิตรลดา แต่เนื้อผ้าและเคร่ืองประดบั
หรหู รากวา่ ใชผ้ า้ ไหมยกดอกทมี่ ที องแกมหรอื ยกทองท้ังตัว เสื้อเปน็ คอตั้ง แขนยาว สวมเป็นชดุ กบั ซิน่ ปา้ ยหน้า ตัดด้วยผ้า
ไหมยกดอกเต็มตวั ด้วยดิ้นเงินหรือดน้ิ ทอง ไม่ใช้เขม็ ขัด เสอ้ื แบบนอี้ นโุ ลมใช้สำหรับสตรสี ูงอายุที่รปู ร่างอว้ น และไมป่ ระสงค์
จะคาดเข็มขัดแบบไทย สวมแทนเสอ้ื ชุดไทยบรมพิมานได้ และอาจเปลี่ยนคอเส้ือให้เป็นคอกลมกวา้ งได้ แตผ่ ้าท่ีนำมาตัด ควร
ใหเ้ หมาะสมตามท่ีกำหนดไว้

เคร่อื งประดับ ใช้เคร่ืองทองลายไทย หรือเครอ่ื งเงินที่ฝงั พลอยก็ได้ ทัง้ นี้ต้องใหเ้ หมาะกับผ้ายกด้ินเงินหรอื ด้นิ
ทอง สวมสร้อยคอ ตมุ้ หู กระดุม สร้อยข้อมือไดต้ ามโอกาสอนั ควร

6

๔.ชดุ ไทยดุสติ
ชุดไทยดุสิต เป็นเส้ือชุดไทยแบบเต็มยศ ตงั้ ชื่อตามพระท่ีนงั่ ดุสิตมหาปราสาทเสื้อชดุ ไทยดุสติ สำหรบั งานราตรี

โดยเฉพาะ เปน็ เสื้อชุดไทยพระราชนิยมทเี่ หมาะสำหรบั สตรีวยั สาวท่ชี ่วงไหล่งาม และลำแขนกลมกลงึ ไดร้ ับความนยิ มอยา่ ง
มาก สำหรับเจา้ สาวสวมในวนั เลี้ยงรับรองการสมรส ลักษณะตวั เสอ้ื เป็นคอกลม คอด้านหนา้ -หลังควา้ นคอกวา้ งมาก ไม่มีแขน
แขนกุด ตดั ด้วยผา้ ไหมเลยี่ นนำมาปกั ลวดลายไทยเต็มตวั มีความสวยงามเป็นพิเศษด้วยลายปัก ทปี่ ระณีตดว้ ยเหลอื่ ม ลูกปัด
ไขม่ ุก และพลอยสตี า่ งๆ สวมเปน็ ชุดกับซ่นิ จบี หนา้ นาง มชี ายพกที่ตดั ด้วยผา้ ด้ินเงนิ หรือดิ้นทอง ยกดอกเต็มตัว เป็นซิน่ แบบ
เดยี วกบั เสือ้ ชดุ ไทยบรมพิมาน มเี ข็มขัดคาดไวด้ า้ นนอกเปน็ ชุดไทยพระราชนยิ มทีส่ วยงามมาก เหมาะกับการใสส่ ายสะพายใน
พระราชพิธีเต็มยศ มักใช้ในงานตอนค่ำ เชน่ งานแต่งงาน งานราตรีสโมสร

เครื่องประดับ ใช้เครื่องประดับชดุ ทองลวดลายไทยฝังพลอย เช่นสร้อยคอ สรอ้ ยข้อมือ ตมุ้ หู และเกยี้ วประดบั
ผล

7

๕.ชดุ ไทยบรมพิมาน
ชดุ ไทยบรมพิมาน คือชุดไทยในพธิ ีตอนค่ำอีกแบบหน่งึ ต้งั ช่ือตามพระทีน่ ่ังบรมพมิ าน ท่ีใชเ้ ข็มขดั คาดทับซิ่นกับ

เสอ้ื ใชผ้ ้ายกไหมดิ้นทอง มลี ายเชิงหน้านาง เป็นยกด้ินเตม็ ตัว ตัดเป็นซ่ินจีบหนา้ นางและชายพกความยาวของซิน่ จรดหลงั เท้า
สวมกับเสอ้ื ลักษณะเป็นเสอ้ื คอกลม ขอบตัง้ แขนยาว ผา่ ด้านข้างหรอื ด้านหลงั หรอื เปน็ ชุดตดิ กนั กบั เส้ือท่ไี มม่ ีกระดุม
ดา้ นหนา้ มขี อบคอตงั้ แขนยาว ตดิ ซิปรดู กลางหลัง ชดุ นี้เหมาะสำหรับผู้ทมี่ ีรูปร่างโปรง่ มักใชส้ ำหรับงานพธิ คี ำ่ งานเต็มยศหรอื
ครึง่ ยศ เช่น งานอุทยานสโมสร งานพระราชทานเลี้ยงอาหารคำ่ อยา่ งเป็นทางการ เปน็ ชุดเจา้ สาวในพิธพี ระราชทานน้ำสงั ข์

เครื่องประดบั เข็มขัดประดับ เข็มขดั ทรงไทย สรอ้ ยคอสน้ั ตุ้มหู แหวน(ฯลฯ เนอ่ื งจากตัวเสอื้ นิยมเปน็ ไหมพืน้
จงึ ใช้เครื่องประดบั ไดม้ าก

8

๖.ชดุ ไทยจกั รพรรดิ
ชดุ ไทยจักรพรรดิ ตงั้ ชื่อตามพระตำหนักจักรพรรดิพิมาน เป็นเครื่องแตง่ กายของสตรีสูงศักดใ์ิ นสมัยโบราณ ปจั จุบนั

ได้อนโุ ลมใหเ้ ปน็ เครอ่ื งแต่งกายของสตรตี ามแบบพระราชนิยม ให้เปน็ ชุดไทยในงานพระราชพธิ ีงานเล้ียงพระราชทานอย่าง
เป็นทางการ สตรีไทยนยิ มสวมเปน็ ชดุ เจา้ สาวในงานเล้ียงรับรองตอนค่ำ
เสือ้ ชุดไทยจักรพรรดิ ลักษณะเป็นชดุ ไทยห่มสไบ คล้ายชดุ ไทยจักรี ตัดเป็นเสื้อรดั รูปทรงอยู่ช้นั ใน มีสไบห่มทับอยู่ชนั้ นอก
สวมเป็นชุดติดกับซิ่นจบี หน้านาง มชี ายพก ตัดด้วยผา้ ยกดิ้นเงนิ -ดนิ้ ทอง หรือยกไหมผสมทองเหมอื นกบั เสื้อชดุ ไทยจักรี
หากแตใ่ ช้สไบปักลวดลายไทยเป็นสไบเนือ้ นาง หรือสไบกรองทองห่มทับผ้าสไบจีบ ทงิ้ ชายสไบหอ้ ยไว้ท่ีเอวด้านหนา้ แล้วโอบ
ใต้แขนด้านขวา ท้ิงชายสไบไปดา้ นหลัง เสอ้ื ชดุ นีม้ ีสไบสวยเดน่ เป็นพิเศษ มีชายพกแต่งด้วยเคร่ืองประดับอย่างสวยงาม รดั
แขน รดั เกลา้ สร้อยสงั วาล สร้อยข้อมือ ต่างหู สร้อยคอตา่ งๆ มักใชส้ ำหรับงานทเ่ี ป็นพิธีรตี องมากกวา่ ชดุ ไทยจักรี อย่างงาน
แต่งงาน งานพธิ หี รอื ราชพิธีต่าง ๆ

9

๗.ชุดไทยจักรี
ชดุ ไทยจกั รี คือชุดไทยสไบเฉียง ตั้งชอ่ื ตามพระทนี่ ั่งจักรีมหาปราสาท ใชผ้ า้ ยกดนิ ทองมีลายเชิงหน้านาง เป็นยก

ดนิ เตม็ ตวั ตัดเปน็ ซน่ิ จบี หน้านาง และมีชายพกแบบเดียวกบั ชดุ ไทยบรมพมิ าน หากแต่เปลีย่ นท่ตี วั เสือ้ เปดิ ไหล่ ห่มทับด้วยผ้า
สไบที่ปักประกอบด้วย ลวดลายไทย ต้งั แตเ่ ข็มขดั สร้อยข้อมือ สร้อยคอ สร้อยสะพาย ตุ้มหู เกี้ยว และกำไลตน้ แขน ชุดไทย
จักรเี ปน็ ชุดไทยที่สวยสงา่ เป็นชุดเต็มยศ มกั ใชใ้ นงานตอนค่ำงานเล้ยี งรบั รองฉลองการสมรส หรอื ราตรีสโมสรทไ่ี ม่เป็น
ทางการก็ได้

ชุดไทยจักรี บางทนี ยิ มเรยี กไทยสไบ เป็นชุดสำหรบั งานกลางคนื ท่อี ากาศไมห่ นาวเย็นสามารถใชไ้ ด้กบั ทุก
รูปร่างไม่วา่ ผอมหรืออ้วน เพราะสว่ นของชายสไบจะปัดแกว่งไปมา ทำใหด้ ูไหวพล้ิวลวงตา ดูออ่ นชอ้ ยย่ิงข้ึน
แตเ่ ดมิ การนุง่ ผ้าปก้ จบั จีบ มักใชใ้ นโอกาสเข้าเฝา้ หรือมักใช้ผา่ ฝ้ายทส่ี วยงามเปน็ พเิ ศษ เช่นผ้ายก ผา้ เยยี รบบั ผ้าตาด หรอื ผา้
ต่วนปักดิ้นเงินดิ้นทอง การนุ่งห่มแบบจบี แตโ่ บราณ จะต้องจับจีบในขณะที่นุ่ง มิใช่จบั จีบไว้สำเร็จ เชน่ ปจั จบุ ัน จงึ ต้องพึ่งเข็ม
ขัด เพ่ือความม่นั ใจว่าจะกระชบั เอวไวแ้ นน่ พอ จะต้องคาดเอวด้วยเชือกชัน้ หน่งึ ก่อน แล้วจงึ คาดด้วยเขม็ ขัดทบั เข็มขัดจงึ ทำ
หน้าท่ที งั้ เป็นเคร่ืองประดบั ไปพรอ้ มกัน เข็มขดั คาดเอวแบบไทย มีความงดงามเฉพาะตัว โดยเฉพาะสว่ นหวั ของเข็มขัด มกี าร
ตกแตง่ อยา่ งประณีต ตระการตาเป็นพิเศษ บ้างก็ฝังพลอย บา้ งกต็ กแตง่ ดว้ ยลวดลายไทย ทัง้ เขม็ ขดั ควรให้เข้าชดุ กับ
เครอื่ งประดบั อน่ื ดว้ ย เช่นสรอ้ ยข้อมือ อุบะ ตมุ้ หู และแหวน ทำใหเ้ นน้ ความงามแบบไทย ใหเ้ ดน่ ย่งิ ขน้ึ นิยมใชเ้ ปน็ ชุดในพธิ ี
ตอนคำ่ เพอ่ื ให้เหมาะกับงานพธิ ยี ามคำ่ สมยั ใหม่ และเหมาะกบั อากาศอบอา้ วของเมืองไทย

10

๘.ชุดไทยศิวาลัย
ชุดไทยศิวาลัย เปน็ ชุดไทยของสตรบี รรดาศกั ด์ิในสมัยก่อน ต้งั ชอ่ื ตามพระทนี่ ง่ั ศวิ าลัย เป็นชุดไทยของสตรี

บรรดาศักด์ิในสมยั ก่อน เป็นเสอื้ ชดุ ไทยสำหรับงานพิธีทมี่ หี มายกำหนดการใหฝ้ า่ ยชายแต่งกายเต็มยศ เป็นเสื้อชดุ ไทยที่มสี ไบ
หม่ ทับเส้อื แขนยาว สวยงามด้วยลวดลายการปักสไบและเคร่ืองประดับแบบไทย สตรไี ทยนยิ มสวมเปน็ ชดุ เจ้าสาว ในพิธรี ด
นำ้ สังข์ และในพธิ เี ลย้ี งรับรองตอนคำ่ งานฉลองสมรส หรอื งานพิธเี ต็มยศ เหมาะสมสำหรับชว่ งอากาศเยน็ เพราะมหี ลายชัน้
เสือ้ ชุดไทยศิวาลยั มลี กั ษณะคล้ายกบั ชดุ ไทยบรมพมิ าน ตัดเปน็ เสอ้ื คอกลม คอต้ังเล็กน้อย แขนยาว ตดั ดว้ ยผา้ ไหมเล่ยี นหรือ
ผา้ ไหมสอดดิน้ ทอง สวมเป็นชดุ กบั ซน่ิ จบี หน้านาง มีชายพกตัดดว้ ยผ้าไหมยกดิ้นทอง หรอื ผ้ายก
ดอกไหมผสมทอง เหมือนเสอ้ื ชุดไทยบรมพมิ าน แตห่ ่มสไบปักลายไทยอย่างสไบชดุ ไทยจักรพรรดิ แต่ไม่ต้องมีแพรจีบรองพน้ื
ก่อน มีสไบกรองทองโอบทับเสอื้ รอบตัว ทง้ิ ชายสไบไปด้านหลังยาวถงึ ชายซน่ิ และอาจเปล่ียนจากสไบกรองทองเปน็ สไบเน้ือ
หนา ปกั ลวดลายไทยและห่มทิง้ ชายสไบไว้ทเ่ี อวเสอื้ ดา้ นหน้า โอบตัวดา้ นหลงั ลงไปดา้ นหนา้ ทิ้งชายดา้ นหลงั ยาวจรดซ่ิน แบบ
เดยี วกบั การห่มสไบชดุ ไทยจักรพรรดกิ ็ได้ความสวยงามของสไบช่วยใหผ้ ู้สวมงามสงา่ เหมาะสมกบั บุคลกิ ของสตรีไทย

เครื่องประดับ ใช้เคร่ืองประดับชดุ ทองลายไทย ฝงั พลอย ไดค้ รบชดุ เช่นสร้อยคอ สร้อยสังวาล สร้อยข้อมือ
เข็มขัด ตุ้มหู และรัดเกลา้

11

ชดุ เครง่ื แต่งกายชาย

ชุดราชปะแตน
ชุดราชปะแตน(เดิมเรียกว่า ราชแปตแตน มาจากคำบาลผี สมอังกฤษว่า Raj pattern แปลวา่ แบบหลวง) คอื

เครอื่ งแต่งกายชายไทย ประกอบด้วยเสื้อสูทสีขาว คอตง้ั สูง และมกี ระดมุ ห้าเมด็ โจงกระเบน สวมถุงเท้ายาวถงึ เข่า และ
รองเทา้ หุ้มส้น

ในเดอื นธันวาคม พ.ศ. ๒๔๑๕ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวเสด็จประพาสอินเดีย ผตู้ ามเสดจ็ แต่ง
เครอ่ื งแบบเสื้อฝรง่ั เวลาปกติกเ็ ปดิ อกผกู เน็กไท แต่นุง่ โจงกระเบนไม่นุ่งกางเกงแบบฝรั่ง ท่ีเมอื งกลั กตั ตามีชา่ งฝีมือดี โปรด
เกล้าฯ ให้ตัดฉลองพระองค์ใส่เล่นแบบปิดตง้ั แต่คอ มีดมุ กลัดตลอด เพื่อไม่ต้องผกู เน็กไท เปน็ ท่ีพอพระราชหฤทัย เจ้าพระยา
ภาสกรวงศ์ (พร บนุ นาค) ซงึ่ ขณะน้ันยังเป็นนายราชานัตยานุหาร ในฐานะราชเลขานุการ ได้ขอพระราชทานพระบรมรา
ชานุญาตคิดชอื่ ถวายวา่ ราชแพตเทิรน์ (Raj pattern) แต่ตอ่ มาเพยี้ นมาเปน็ ราชปะแตน

ราชปะแตนเปน็ เสมือนเครื่องแบบของข้าราชการพลเรือนไป โดยสว่ นมากสวมกบั ผา้ นุ่งโจงสีกรมทา่ ผา้ นุง่ โจง
นนั้ เรียกกนั สน้ั ๆ วา่ ผ้ามว่ ง บ้างกต็ ดั ด้วยแพร ผา้ ลายบา้ ง ต่อมาไมส่ วมแตเ่ ฉพาะกบั ผา้ ม่วง หากแตส่ วมกบั กางเกงแพรดว้ ย
เสือ้ ราชปะแตนเป็นท่นี ยิ มอยู่นาน จนยุคต้นเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ มปี ระกาศกฎหมายวฒั นธรรม ห้ามนงุ่
ผ้าม่วง และกางเกงแพร เส้อื ราชปะแตนจึงหายไปต้ังแตน่ น้ั ตอ่ มา

12

ในสมัยทพี่ ลเอก เปรม ติณสลู านนท์ ดำรงตำแหนง่ นายกรัฐมนตรี ดว้ ยแนวคดิ ของการกำหนดรปู แบบเครื่องแต่งกายไทยใหม้ ี
ลักษณะเฉพาะแต่ยังเปน็ สากล จงึ ไดท้ ูลเกลา้ ฯ ขอพระราชทานแบบจากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ซงึ่ ก็ได้พระราชทาน
แบบเสื้อตามทเี่ คยทรงอยบู่ ่อย ๆ โดยเปน็ เสอ้ื สูทคอตั้งที่เรียกกันว่าคอแมนดาริน (Mandarin Collar) หรือคอเหมา (Mao
Collar) โดยมี ๓ แบบคอื แบบแขนสน้ั สำหรับงานกลางวนั แบบแขนยาวสำหรับงานกลางคืน และแบบแขนยาวมผี า้ คาดเอว
สำหรับงานทเี่ ป็นทางการ หลังจากนน้ั คณะรัฐมนตรีจงึ มีมติให้สวมเสอื้ พระราชทานนี้แทนชุดสากลนับต้ังแต่วันท่ี ๒๖
กันยายน พ.ศ.๒๕๒๓ แตย่ ังมีลกั ษณะพิเศษเพม่ิ เติมแตกตา่ งจากเส้อื ราชปะแตนเดิม คือใหเ้ ลือกใชผ้ ้าตามแต่ละท้องถ่นิ ทำให้
ชดุ มีสสี นั และลวดลายแปลกตากวา่ เดมิ

เสอื้ พระราชทาน

เสอื้ พระราชทาน เป็นเสื้อท่พี ระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรด
กระหม่อมให้ช่างตัดฉลองพระองค์ ได้แก่ ชพู าสน์ ชูโต, พิชยั วาศนาส่ง และสมภพ หลุยลาภประเสรฐิ ออกแบบใหเ้ ป็น
เคร่ืองแบบประจำชาติในปี พ.ศ.๒๕๒๒ จากนนั้ โปรดให้พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรฐั มนตรใี นขณะนัน้ แต่งเส้ือดังกล่าว
เพอื่ เปน็ แบบอย่างแก่สาธารณชนจนภาพจำของพลเอกเปรมมักคู่กบั เสอ้ื พระราชทานนเี้ สมอ ตอ่ มามีการประยุกตแ์ ละมีการ
แตง่ กายด้วยเส้ือแบบนี้เปน็ จำนวนมาก โดยเฉพาะนักการเมืองและขา้ ราชการในวาระสำคัญต่าง ๆ บ้างก็แตง่ ในงานพิธีต่าง ๆ
เช่น งานมงคลสมร

เสอ้ื พระราชทานนม้ี ลี กั ษณะใกล้เคียงกบั เสือ้ ราชปะแตนซึง่ เปน็ เส้อื ทีม่ ีมาก่อนโดยไดร้ บั การประยุกต์จากเสือ้
คลุมเนห์รขู องอนิ เดยี แตม่ คี วามต่างทว่ี ัสดุในการตัดเย็บท่ีมีความหลากหลายกวา่ เสือ้ พระราชทานมีลกั ษณะคอเส้อื ตั้งอยา่ ง
แมนดารินสูง ๓.๕ ถึง ๔ เซนตเิ มตร และเรียวคอเสอ้ื เขา้ สาบอก ขลิบรอบคอ สาบอก แขนเสอ้ื หรือรอยพบั แขนเสื้อ กระดุม
กลมแบน ๕ เม็ดคลุมดว้ ยผ้าหรือวัสดุทใ่ี กลเ้ คยี งกบั สีและเนื้อผา้ มกั เจาะกระเป๋าบนเสื้อท่ีแนวเหนือกระดมุ เม็ดล่างสดุ
เล็กนอ้ ย ข้างละ ๑ กระเป๋า กระเป๋านอก ๒ กระเปา๋ กระเป๋าดา้ นบนตรงอกซา้ ย ๑ กระเปา๋ หรืออาจมีมากกว่าหรือไม่มเี ลยก็

13

ได้ ตวั เสอื้ มีทั้ง
แบบแขนส้ัน ใชส้ อี ่อนหรือมีลวดลายสุภาพ สวมใสใ่ นโอกาสธรรมดาทัว่ ไป หรอื ในการปฏิบัตงิ านหรใื นงานพธิ ีกลางวนั และ
อาจใชส้ เี ขม้ ได้ในพิธีการเวลากลางคืน

แบบแขนยาว ใชส้ อี ่อนหรอื มีลวดลายสุภาพ ในโอกาสพธิ ีกลางวนั หรอื ใช้สเี ขม้ ในโอกาสพธิ ีเวลากลางคืน

14

แบบแขนยาวผกู เอว เส้อื แบบแขนยาวโดยมากจะเย็บแขนเสื้อทาบดว้ ยผา้ แบบและสีเดยี วกนั กบั ตัวเสื้อกวา่ งประมาณ ๔ ถึง
๕ เซน็ ติเมตรเริ่มจากดา้ นในอ้อมด้านหน้าไปสุดเป็นปลายมนดา้ นหลังแขนเสอื้ และชายเส้อื อาจผ่ากนั ตงึ หรอื มเี ส้นรอยตดั ตอ่
มีหรอื ไม่มกี ็ได้ สวมกบั กางเกงขายาว

โจงกระเบน หรือ ถกเขมร เป็นเครื่องแต่งกายท่พี ันรอบรา่ งกายส่วนลา่ งในประเทศกัมพูชา, ลาว และไทย ถือเป็นเคร่อื งแตง่
กายในชวี ิตประจำวันของชนชน้ั สงู และกลาง ซึ่งมีรปู ร่างคลา้ ยกางเกงมากกวา่ กระโปรง มีความแตกตา่ งจากผา้ นุ่ง เอกสดุ า
สงิ ห์ลำพอง นักประวตั ิศาสตร์ศลิ ป์ กล่าวถึงโจงกระเบนไว้ว่า "...เปน็ เครอ่ื งแต่งกายที่ดูคล้ายกับกางเกงหลวม ๆ ผูส้ วมใส่นำ
ชิ้นผ้าสเี่ หลีย่ มผนื ผา้ มาพันรอบเอวของเขา [หรือเธอ] ขอบผ้าจะผ่านระหวา่ งขาและเหน็บทีข่ า้ งหลงั สว่ นล่างของผ้สู วมใส่
รายงานของชาวยโุ รปในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ หลายแห่งมักเรียกมนั ว่ากางเกงขายาวแคเ่ ข่า กางเกงขีม่ ้า หรือนกิ เกอรบ์ อก
เกอส์"

15

สไบ หรือ ผ้าแถบ เป็นผา้ ผืนยาวแคบสำหรบั คาดอกสตรีต่างเสอื้ พบได้ในภาคพื้นทวีปเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะใน
ประเทศกมั พชู า ลาว และไทย ในขณะที่บริเวณชายฝัง่ สมุ าตรากับคาบสมุทรมลายูจะใช้คำนี้กับผู้คลมุ ไหล่ ๔๑๐ สไบมที ีม่ า
จากสา่ หรอี ินเดีย ซ่ึงคลุมทับไหล่ขา้ งหนง่ึ ในกลุ่มวฒั นธรรมอ่นื นอกจากวัฒนธรรมไทย สไบยังถูกใชโ้ ดยผชู้ ายในกจิ กรรมทาง
ศาสนา

ในภาษาไทยจะเรยี กผ้าชนิดนีว้ า่ "ผ้าแถบ" ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ให้ความหมายไว้
วา่ "ผา้ ผนื ยาว ๆ แคบ ๆ ใช้หม่ คาดหน้าอกต่างเสื้อ" มีอกี คำหนึ่งคอื "สไบ" เป็นคำยืมมาจากภาษาเขมรว่า "ไสฺบ" มี
ความหมายว่า "ผา้ แถบ ผ้าคาดอกผู้หญิง" นอกจากนย้ี งั เรยี กในอีกชื่อวา่ ผา้ กะแสง, กระแสง

"ตะเบ็งมาน" หรือ "ตะแบงมาน" แปลว่า "วิธหี ่มผา้ แถบแบบหน่งึ โดยคาดผ้าอ้อมตวั จากดา้ นหลงั ไขวข้ ึ้นมาดา้ นหน้า แล้ว
เอาชายทั้ง ๒ ไขวไ้ ปผกู ท่ีต้นคอ"

16

"ผ้าสะพกั " หรอื "ผ้าทรงสะพัก" เป็นสไบอีกชนิดหนงึ่ สำหรบั สตรชี น้ั สูงในราชสำนกั ไทย มีลักษณะเปน็ ผ้าแพรหรอื ผ้าสไบ
อย่างหนาใชค้ ลุมทับสไบหรือเสอื้ อีกชนั้ หนง่ึ ต่อมาราชสำนักกัมพูชานำไปใช้ เรียกว่า "พระสภุ าก"และมสี ไบอกี อยา่ งหน่งึ คอื
"ผ้าหม่ " มีวธิ หี ม่ หลากหลาย เช่น ห่มผ้าคลอ้ งไหล่ หม่ ผ้าคล้องคอ หรอื ห่มคลุมซ่งึ ใชใ้ นฤดูหนาว มีการต่อผ้าใหห้ น้ากว้างข้นึ จะ
เรียกว่า "เพลาะ" ใชห้ ม่ ไหล่กันลมหนาว หรือห่มนอนก็ได้ส่วนผา้ ห่มอย่างสไบ จะเป็นสไบหนา้ แคบกลายเปน็ ผ้าเฉวียงซา้ ย

การห่มผา้ สะพัก
ต่อมาในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั มีการพฒั นาการการหม่ สไบเปน็ การ "สะพายแพร"
คอื การนำผ้าแพรจบี ขวางเอวมาจีบตามยาวอีกคร้ัง จนเหลอื ผนื แคบ แลว้ ตรึงใหแ้ น่น สะพายบนบา่ ซ้าย รวบชายไว้ทเ่ี อว
ดา้ นขวาเพื่อสะดวกแก่การเดินทางหากเปน็ ผา้ โปร่งบางไม่จับจบี จะเรียกวา่ "แพรฝรงั่ "และการสะพายแพรถูกยกเลิกไปใน
รชั กาลถดั มา
เส้ือปัด (ไทยถิ่นเหนือ: เสื้อป๊ัด, หรอื เสอื้ ปา้ ย เป็นเสอ้ื ท่ีนยิ มสวมใส่โดยสตรใี นภาคเหนือของประเทศไทย ประเทศลาว และ
ประเทศอื่น ๆ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ซึ่งโดยมากมักนงุ่ โดยผ้หู ญงิ ไทยวนลา้ นนา ไทลือ้ ลาวหลวงพระบาง และ ลาว
เวยี งจันทน์ เปน็ ต้น
ปัจจบุ ันในประเทศลาวมกั มีการสวมใสเ่ ส้ือปัดในงานพิธีสำคัญต่าง ๆ เชน่ งานแต่งงานและในแขวงหลวงพระ
บางของประเทศลาวจะมีการสวมใส่เสอื้ ปดั โดยนางสังขาร (นางสงกรานต)์ อีกด้วย
บางคร้งั เส้อื ปัดมักถกู เรียกวา่ "เส้ือคอปัด หรือ "เสอื้ คอป้าย" ที่มาของคำวา่ ปดั หรอื ปา้ ย น่าจะมีรากมาจากการท่ตี ้อง "ปัด"
หรอื "ป้าย" เฉยี งมาผกู ไว้ขา้ งเอว นอกจากน้ยี ังมชี ื่อเรยี กอืน่ อกี ซ่งึ ขึ้นอยู่กบั ท้องถนิ่ ของผู้นงุ่ เชน่ "เสื้อป๊ดั จา้ ง" หรอื "เส้ือ
แขบ" หรอื "เสอ้ื ปา้ ยข้าง"

17

ลักษณะของเสื้อปดั
เสือ้ ปดั เป็นเสอ้ื แขนยาว ไม่มีกระดุม แต่จะปา้ ยเฉยี งมาผกู ไว้ทเ่ี อวดา้ นข้าง ชายเส้อื ยกลอยขึ้นทัง้ สองข้าง เส้ือ

ปดั ของหลวงพระบางมกั จะมีปกคอทค่ี ่อนข้างหนาและมสี ีทอง

นงุ่ ผ้าสีมงคลประจำวนั หญิงชาววงั ในราชสำนกั ไทยชว่ งต้นรัตนโกสนิ ทร์มีการเลือกสผี ้านงุ่ และผา้ หม่ ให้ตัดกันสวยงาม และ
อบรำ่ ใหผ้ า้ มีกล่ินหอม โดยถือเป็นคติสีมงคลประจำวนั ดงั น้ี
หญงิ สยามห่มสไบนางหน่งึ

วันจนั ทร์ น่งุ เหลอื งอ่อนห่มนำ้ เงินอ่อนหรือบานเยน็ , นุ่งน้ำเงินนกพริ าบห่มจำปาแดง
วันองั คาร นงุ่ สีปนู หรือม่วงเม็ดมะปรางห่มโศก, นงุ่ โศกหรือเขียวออ่ นห่มม่วงอ่อน
วนั พุธ นงุ่ สีถัว่ หรอื สีเหลก็ ห่มจำปา
วนั พฤหัสบดี น่งุ เขยี วใบไม้ห่มแดงเลือดนก หรือ นุ่งแสดห่มเขียวออ่ น
วันศุกร์ น่งุ นำ้ เงินแกห่ ม่ เหลือง
วนั เสาร์ นุ่งเม็ดมะปรางห่มโศก หรือนุง่ ผ้าลายพ้นื ม่วงห่มโศก
วนั อาทิตย์ แตง่ เหมอื นวนั พฤหัสบดี หรอื นุ่งผ้าลายพืน้ สีลนิ้ จี่หรือเลอื ดหมู แล้วหม่ โศก

18

ส่วนใน สวัสดริ กั ษาคำกลอน อธิบายเก่ยี วกบั การนงุ่ หม่ ผ้าตามสีมงคลประจำวนั ดงั น้ี

๏ อนึง่ ภษู าผ้าทรงณรงค์รบ ให้มีครบเคร่ืองเสรจ็ ทงั้ เจ็ดสี

วนั อาทติ ยส์ ิทธโิ ชคโฉลกดี เอาเครื่องสีแดงทรงเป็นมงคล

เครอ่ื งวนั จนั ทรน์ ้นั ควรสนี วลขาว จะยืนยาวชนั ษาสถาพร

อังคารม่วงชว่ งงามสีครามปน เปน็ มงคลขัตติยาเข้าราวี

เครือ่ งวันพุธสดุ ดีดว้ ยสแี สด กับเหลอื บแปดปนประดับสลับสี

วนั พฤหัสจดั เครือ่ งเขยี วเหลืองดี วันศกุ รส์ เี มฆหมอกออกสงคราม

วนั เสาร์ทรงดำจึงล้ำเลศิ แสนประเสรฐิ เส้ียนศึกจะนกึ ขาม

หนง่ึ พาชขี ข่ี ับประดับงาม ใหต้ อ้ งตามสีสนั จงึ กันภยั ฯ

https://www.wongnai.com/articles/traditional-thai-clothing
https://th.wikipedia.org/wiki/
ตำราตดั เส้ือสตรี


Click to View FlipBook Version