The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือป้องกันโรค63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือป้องกันโรค63

คู่มือป้องกันโรค63

Keywords: คู่มือป้องกันโรค63

โครงการเพิ่มศกั ยภาพการเรยี นรูโ้ รคภยั ใกลต้ วั
เพื่อป้ องกนั และเผยแพรค่ วามรูใ้ นชมุ ชน

คมู่ ือ

ภยั

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองสมุทรปราการ

ไวรสั โคโรนา หรือโควดิ -19 คอื อะไร ? COVID-19

ไวรัสโคโรนา (Coronavirus)เป็นไวรัสท่ีถูกพบคร้ังแรกในปี 1960 แต่ยังไม่ทราบ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

แหล่งที่มาอย่างชัดเจนว่ามาจากท่ีใด แต่เป็นไวรัสที่สามารถติดเชื้อได้ท้ังในมนุษย์และ

สัตว์ ปจั จุบันมีการค้นพบไวรัสสายพันธ์ุนี้แล้วทั้งหมด 6 สายพันธ์ุ ส่วนสายพันธ์ุท่ีกาลัง

แพร่ระบาดหนักท่ัวโลกตอนน้ีเป็นสายพันธุ์ที่ยังไม่เคยพบมาก่อน คือ สายพันธุ์ที่ 7 จึง

ถกู เรยี กวา่ เปน็ “ไวรสั โคโรนาสายพันธุ์ใหม่” และในภายหลังถูกตั้งช่ืออย่างเป็นทางการ

วา่ “โควดิ -19” (COVID-19) นน่ั เอง

อาการของไวรัสโควิด-19 ทีส่ ังเกตได้งา่ ย ๆ ด้วยตวั เอง ดงั นี้

มีไข้ นำ้ มกู ไหล

เจ็บคอ หำยใจเหน่ือยหอบ
ไอแห้ง ๆ

กลุ่มเส่ียงตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใุ หม่ หรือโควิด-19

1. เด็กเล็ก (แต่อาจไม่พบอาการรุนแรงเท่า
ผสู้ ูงอายุ)

2. ผู้สูงอายุ
3. คนทม่ี ีโรคประจาตัวอยู่แล้ว เช่นโรคหัวใจ

เบาหวาน โรคปอดเร้ือรัง
4. คนท่ีภูมิคุ้มกันผิดปกติ หรือกินยากดภูมิ
5. คนท่มี นี ้าหนักเกนิ มาตรฐานมาก (คนอ้วนตมา้ านกท)านโรคอยู่
6. ผทู้ เี่ ดินทางไปในประเทศเส่ยี งตดิ เชื้อ เชน่ จนี เกาหลีใต้ ญ่ีปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง มา
เก๊า สิงคโปร์ มาเลเซีย เวยี ดนาม อิตาลี อหิ รา่ น ฯลฯ
7. ผู้ท่ีต้องทางาน หรือรักษาผู้ป่วย ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ หรือโควิด-19
อย่างใกล้ชิด
8. ผู้ที่ทาอาชีพท่ีต้องพบปะชาวต่างชาติจานวนมาก เช่น คนขับแท็กซี่ เจ้าหน้าที่ใน
โรงพยาบาล ลูกเรอื สายการบินต่าง ๆ เป็นต้น

COVID-19 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

วธิ ีป้องกันการตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ใุ หม่

1. หลีกเลยี่ งการใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการ
ไอ จาม นา้ มกู ไหล เหนอื่ ยหอบ เจบ็ คอ

2. หลกี เลี่ยงการเดินทางไปในพน้ื ที่เสีย่ ง
3. สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่ออยู่ในท่ี

สาธารณะ

4. ระมดั ระวังการสมั ผสั พ้นื ผวิ ทไ่ี มส่ ะอาด และอาจมีเชื้อโรคเกาะอยู่ รวมถึงส่ิงท่ีมี
คนจับบ่อยคร้ัง เช่น ที่จับบน BTS, MRT, Airport Link ที่เปิด-ปิดประตูในรถ
กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้า ราวบันได ฯลฯ เม่ือจับแล้วอย่าเอามือสัมผัสหน้า
และข้าวของเคร่อื งใชส้ ่วนตัวตา่ ง ๆ เช่น โทรศพั ทม์ ือถอื กระเปา๋ ฯลฯ

5. ล้างมือให้สม่าเสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลอย่างน้อย 20 วินาที ความ
เข้มขน้ ของแอลกอฮอล์ไม่ต่ากว่า 70% (ไม่ผสมนา้ )

6. งดจับตา จมูก ปากขณะทไ่ี ม่ไดล้ า้ งมอื
7. หลีกเลี่ยงการใกล้ชดิ สมั ผัสสัตว์ตา่ ง ๆ โดยท่ีไมม่ ีการปอ้ งกนั
8. รบั ประทานอาหารสกุ สะอาด ไม่ทานอาหารที่ทาจากสตั วห์ ายาก
9. สาหรบั บคุ ลากรทางการแพทย์หรือผู้ท่ีต้องดูแลผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสาย

พันธุ์ใหม่ หรือโควิด-19 โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรือใส่แว่นตานิรภัย
เพอ่ื ป้องกนั เชอื้ ในละอองฝอยจากเสมหะหรอื สารคัดหลง่ั เข้าตา

ข้อมลู โดย :

ไข้เลือดออก (Dengue) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

โรคไข้เลือดเกิดจากการติดเช้ือไวรัส "เด็งกี่"
(Dengue)

โดยมี ยงุ ลาย เป็นพาหะนาโรค ไข้เลือดออก
นับเป็นโรคอันตรายเพราะถ้ารักษาไม่ทันอาจ
ทาให้เสียชีวิตได้ แต่หากรู้ตัวและรักษาต้ังแต่
เน่ิน ๆ ก็สามารถรักษาให้หายได้ภายในเวลา
ไม่นาน
สายพนั ธข์ุ องเชื้อไวรัสทีก่ อ่ ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลอื ดออกเกิดจากเชอ้ื ไวรสั เด็งกี่ ซ่ึงมีอยู่ 4 สายพันธ์ุ ได้แก่ เด็งก่ี-1 เด็งกี่-2
เด็งกี่-3 และเด็งก่ี-4 หากได้รับเช้ือไวรัสไม่ว่าจะสายพันธุ์ใดก็สามารถเป็นโรค
ไข้เลือดออกได้ทัง้ นัน้
แต่หากร่างกายติดเช้ือจากสายพันธุ์ใดสายพันธ์ุหน่ึงไปแล้ว ร่างกายจะสร้างภูมิ
ต้านทานสายพนั ธุ์น้ันข้ึนมา หมายความวา่ เราจะไมต่ ิดเช้ือจากสายพันธน์ุ ้ันอีกไปตลอด
ชีวิต แต่ยงั มโี อกาสติดเชื้อจากสายพนั ธุ์อืน่ ได้

อาการของโรคไขเ้ ลอื ดออก
อาการของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกมี

ความรุนแรงต่างกัน แตอ่ าการทเ่ี ดน่ ชดั คอื

วิธีการสังเกตลกั ษณะของตมุ่ ไข้เลือดออก
การสงั เกตลักษณะของตุม่ ทเ่ี กิดบริเวณ

ผวิ หนงั วา่ มาจากแมลงกดั ต่อย ผลพวงจาก
โรคอ่ืน หรือเป็นตุ่มท่ีมาจากไข้เลือดออก
สังเกตไดด้ ังน้ี

ไข้เลือดออก (Dengue)

การป้องกันโรคไขเ้ ลอื ดออก 1. ป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด ไม่ว่าทั้งกลางวัน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ
และกลางคืนควรทายากันยุง ติดมุ้งลวด
ไ ม่ ส ว ม เ สื้ อ ที่ มี สี ทึ บ แ ล ะ ไ ม่ อ ยู่ ใ น ท่ี มื ด
โดยเฉพาะเด็กและผู้สูงอายุควรอยู่ในห้อง
ที่มีการป้องกันยุงมิดชิดเพราะคนกลุ่มนี้มี
ภูมิคุ้มกันต่า อาจมีโอกาสได้รับเช้ือ
มากกว่า

2. ก้าจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงและลูกน้ายุงลายรอบบริเวณบ้าน ยุงลายมักวางไข่
ตามแหล่งน้าขังต่างๆ โดยเฉพาะน้าน่ิง จึงต้องกาจัดลูกน้ายุงลายอย่างต่อเนื่อง
ทกุ ๆ สัปดาห์ โดยการเปลี่ยนน้าในโอ่ง หรือถังน้าบ่อยๆ ถ่ายถ้วยน้ารองขาโต๊ะ
หรือนา้ ในแจกนั คว่าภาชนะทม่ี ีน้าขงั เพ่ือป้องกนั ยุงลายวางไข่ เลี้ยงปลาเพ่ือช่วย
กาจัดลกู น้า หรอื ใส่ทรายอะเบท หรือเกลอื แกงลงไปเพื่อทาลายไขย่ งุ

3. แจ้งเจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ ในเขตพื้นท่ีเพื่อฉดี ยากนั ยุงและใสท่ รายอะเบทในแหล่ง
นา้ รวมถงึ แจง้ เจ้าหนา้ ทเ่ี มอื่ มีคนใกลต้ ัวปว่ ยเปน็ โรคไขเ้ ลือดออก

4. เฝ้าระวงั ตวั เองและผู้อ่นื เมอ่ื มีอาการพยายามอย่าให้ผู้ป่วยท่ีกลับมาพักฟ้ืนที่บ้าน
โดนยงุ กดั ในระยะเวลา 5 วนั แรก เพราะระยะนีผ้ ู้ปว่ ยจะยังมเี ชื้อไวรัสไข้เลือดออก
หลงเหลืออยู่ หากผู้ป่วยถูกยุงกัด เช้ือจะติดไปกับยุงและอาจแพร่กระจายสู่คนใน
บ้านได้

5. ออกกา้ ลงั กาย เพื่อสขุ ภาพแขง็ แรงจะเป็นการสรา้ งภูมิคุ้มกนั โรคได้

ข้อมูลโดย :

ไข้หวัดใหญ่ (INFLUENZA) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

โรคไขห้ วัดใหญ่ (INFLUENZA)

โรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล เป็นโรคติดเช้ือ
ของระบบทางเดินหายใจ มีการระบาดเป็นครั้ง
คราวเกดิ ได้ทุกเพศ ทกุ วัย ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ โรค
นี้มักมีอาการรุนแรงกว่าไข้หวัดธรรมดา และมี
โอกาสเกิดอาการแทรกซ้อนไดม้ ากกว่า

สาเหตุ เกิดจากเช้อื ไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza
virus) ซึง่ อยใู่ นน้ามูกและเสมหะของผู้ป่วย ระยะฟัก
ตวั ประมาณ 1-3 วนั

การติดต่อ การติดต่อเกิดขึ้นได้ง่าย ระหว่างผู้
ใกลช้ ิดที่อยู่ในสถานท่ีแออัด อากาศถ่ายเทไม่สะดวก
เช่น โรงมหรสพ ห้างสรรพสินค้า สวนสนุก
รถโดยสาร และอาคารบา้ นเรือนที่มีอากาศถ่ายเทไม่สะดวก ไข้หวัดใหญ่ ติดต่อจากคน
หน่งึ ไปสู่อีกคนหน่ึงโดยตรงจากการหายใจเอาเชื้อไวรัสในฝอยละอองน้ามูก น้าลาย ที่
ฟงุ้ กระจายใน อากาศจากการไอ จามรดกัน เข้าสู่ร่างกายทางเย่ือบุจมูกและปาก หรือ
ติดต่อทางอ้อมโดยเชื้อไวรัสอาจติดมากับ มือ ผ้าเช็ดหน้า แก้วน้า ฯลฯ ท่ีปนเป้ือน
น้ามูก น้าลาย เสมหะของผู้ปว่ ยแลว้ สัมผัสถูกตาหรือจมูก ไข้หวัดใหญ่ สามารถแพร่เชื้อ
จากคนหนึง่ สู่คนหน่งึ ไดม้ ากช่วง 3 – 7 วนั หลังจากเร่มิ มีอาการ

อาการ หลังจากได้รับเช้ือไวรัสไข้หวัดใหญ่เข้าสู่
ร่างกายประมาณ 1 – 3 วนั ผปู้ ่วยจะเริ่มมีไข้สูงเฉียบพลัน
(โดยทัว่ ไปประมาณ 38-39 องศาเซลเซยี ส) หนาวสั่น ปวด
ศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ อ่อนเพลียมาก ไอแห้ง ๆ
คอแหง้ เจบ็ คอ อาจมอี าการคัดจมูก น้ามูกไหล จาม หรือ
มีเสมหะมาก และตาแดง ตาแฉะตามมา โดยท่ัวไปผู้ป่วย
เด็กมักมีไข้สูงกว่าผู้ใหญ่ อาจพบอาการคล่ืนไส้ อาเจียน
และอุจาระรว่ งได้ ผปู้ ่วยไขห้ วดั ใหญ่สว่ นมากมอี าการ
รนุ แรงและปว่ ยนานกว่าไข้หวัดธรรมดาโดยท่ัวไป มักมีอาการดีขึ้นภายใน 5 วันหลัง
ปว่ ย และหายเป็นปกติ ภายใน 7 – 10 วัน

ไข้หวัดใหญ่ (INFLUENZA)

โรคแทรกซ้อน ผู้ป่วยบางรายโดยเฉพาะ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ
ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคปอด
โรคหัวใจ อาจเกิด ภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม
หลอดลมอักเสบ ได้มากกว่าคนอื่น ๆ และอาจมี
อาการรนุ แรงถงึ ขั้นเสียชีวิตได้

การรักษา ผู้ป่วยท่ีมีอาการน้อย ให้การรักษา

ตามอาการ เช่น ยาลดไข้พาราเซตามอล ยาละลาย

เสมหะ เป็นต้น การให้ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ทันที

หลังจากทม่ี ีอาการชว่ ยลดความรุนแรงและอัตราตาย

ในผ้ปู ว่ ย ยาต้านไวรัส ไขห้ วัดใหญ่ ได้แก่ ยาโอเซลทา

มเิ วยี ร์ (Oseltamivir) และซานามเิ วยี ร์ (Zanamivir)

การพจิ ารณาเลือกใชต้ ัวไหน ขึ้นอยู่กับข้อมูลความไว

การป้องกันโรค ของยาตอ่ เชอื้ ไวรสั ไขห้ วดั ใหญใ่ นแตล่ ะประเทศ

1. รักษาร่างกายให้แขง็ แรง เพอื่ ใหร้ า่ งกายสามารถสรา้ งภมู ติ ้านทานโรคไดด้ ี

2. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ ผัก และผลไม้ เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหาร

และวิตามินเพยี งพอ

3. ระมดั ระวังการตดิ เชื้อไข้หวัดใหญ่ โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน และช่วงอากาศเย็น

4. ปจั จุบนั ยังไมแ่ นะนาการใชว้ คั ซนี ไข้หวัดใหญ่ในประชาชนท่ัวไป แต่ผู้สูงอายุและผู้

ที่มีโรคปอด โรคหัวใจเรื้อรังที่จะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ หรือจะไปอยู่ใน

ประเทศเขตหนาวเป็นเวลานาน อาจปรึกษาแพทย์ เพื่อฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัด

ใหญล่ ่วงหนา้

5. ผูป้ ่วยโรคไข้หวัดใหญ่ควรระมัดระวังไม่แพร่เช้ือโดยระวังการไอหรือจามรดผู้อ่ืน

และใชผ้ า้ ปิดปากทุก ครั้งเมื่อไอหรือจาม หรือหากทาได้ควรสวมหน้ากากอนามัย

และไมค่ ลกุ คลีกบั ผู้อน่ื

ข้อมลู โดย :

วัณโรค (Tuberculosis หรือ TB) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

วัณโรค เป็นโรคติดต่อท่ีเกิดจากเช้ือ
แบคทีเรีย Mycobacterium ซ่ึงมีหลายชนิด
เชอ้ื ท่ีพบบ่อยทส่ี ดุ และเป็นปญั หาในประเทศไทย
คือ เชื้อ Mycobacterium tuberculosis วัณ
โรคเกิดได้ในทกุ อวัยวะของร่างกาย ส่วนใหญ่มกั
เกิดที่ปอดพบร้อยละ 80 สว่ นวัณโรคนอกปอดเป็นผลมาจากการแพร่กระจายของการ
ติดเชือ้ ไปยงั อวยั วะอนื่ ๆ ได้แก่ เย้อื หุม้ ปอด ต่อมน้าเหลือง กระดูกสันหลัง ข้อต่อ ช่อง
ทอ้ ง ระบบทางเดินปสั สาวะ ระบบสบื พนั ธ์ุ ระบบประสาท เปน็ ต้น

การแพร่กระจายวัณโรคปอด
เชื้ อ วั ณ โร ค จะ แพ ร่ ก ร ะ จา ย จ า ก ป อ ด

หลอดลม หรือกล่องเสียงของผู้ป่วยวัณโรค เม่ือ
ผู้ป่วยไอจามพูดดังๆ ตะโกน หัวเราะ หรือร้อง
เพลง เชือ้ เหลา่ น้ีจะอยู่ในละอองฝอยของเสมหะท่ี
ออกมาสูอ่ ากาศ อนภุ าคของละอองฝอยขนาดใหญ่มักตกลงพื้นและแห้ไป เหลือส่วนที่
เลก็ ที่สุดที่มเี ช้อื วัณโรคจะลอยอยใู่ นอากาศได้หลายชั่วโมง และถูกทาลายโดยแสงแดด

แผนภูมกิ ารติดเชื้อและการป่วยเปน็ วัณโรค

วัณโรค (Tuberculosis หรือ TB) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

อาการสงสัยวัณโรคปอด
1. อาการท่ีสาคัญของวัณโรคปอด คือ ไอเร้ือรังนาน 2

สัปดาห์ข้ึนไป
2. อาการอื่นๆ ท่ีอาจพบได้ น้าหนักลด เบ่ืออาหาร

อ่อนเพลีย มีไข้ (มักจะเป็นตอนบ่าย เย็น หรือตอน
กลางคนื ) ไอมีเลือดปน เจบ็ หน้าอก หายใจขัด
3. ถา้ มีอาการอย่างน้อย 2 อาการข้ึนไป รีบตรวจหาวณั โรคท่ีสาถานพยาบาลใกลบ้ า้ น

กลุม่ เสยี่ งติดเช้ือวณั โรค
1. ผอู้ าศยั รว่ มบา้ นผูป้ ว่ ยวัณโรค
2. ผปู้ ่วยเบาหวาน
3. ผตู้ ดิ เชอ้ื HIV
4. ผสู้ ูงอายุ

การป้องกันโรค
1. ดแู ลสุขภาพออกกาลังกายใหแ้ ข็งแรง
2. รบั ประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
3. ตรวจการทางานของปอด
4. ตรวจสุขภาพประจาปี เพ่ือคัดกรองโรค โดยเฉพาะผู้สัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิด

บุคลากรทางการแพทย์
5. เล่ียงการคลุกคลใี กล้ชิดผูป้ ่วยวณั โรค
6. หากมีอาการน่าสงสยั ว่าจะเปน็ วณั โรค ควรรบี ไปพบแพทย์

ข้อมูลโดย :

“โรคตาแดง” โรคตาแดง

“โรคตาแดง” หรือที่ทางการแพทย์เรียกว่า “โรค ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

เยื่อตาขาวอักเสบ” (Conjunctivitis, pink eye) นั้น

เป็นการอักเสบของช้ันเนื้อเยื่อใสท่ีคลุมอยู่บนตาขาว

ซ่งึ จะมีการเปล่ยี นเป็นสแี ดงอ่อนหรอื แดงจัด จากการ

อกั เสบและเส้นเลือดฝอยขยายตวั เม่ือพดู ถงึ โรคตาแดงท่ีจากดั อยเู่ ฉพาะตาแหนง่ เยื่อตา

แล้ว พบว่าสาเหตุส่วนใหญ่มักเกิดจากการติดเชื้อ หรือโรคภูมิแพ้ที่ตา สาเหตุอ่ืน เช่น

การได้รับสารพิษ, การมีส่ิงแปลกปลอมเข้าตา, การใส่ Contact lens, โรคภูมิต้าน

ตนเอง (Autoimmune) ในกรณีท่ีติดเชื้อ ชนิดเช้ือโรคที่เป็นสาเหตุหลัก คือ เชื้อไวรัส

และเชือ้ แบคทีเรีย โดยมกั พบเป็นเชอ้ื ไวรสั มากกว่า

อาการของโรคตาแดง

ได้แก่ การมีเย่ือตาสีแดง น้าตาไหล ปวดตา แสบตา แพ้แสง

เคืองตา คันตา มีขี้ตา สีของขี้ตาจะแตกต่างกันไปตามสาหตุ

เช่น ขี้ตาใส สีขาว หรือขุ่น มักเกิดจากการติดเช้ือไวรัสหรือ

โรคภูมิแพ้ ในขณะท่ีข้ีตาสีเขียวหรือเหลือง มักเกิดจากเช้ือ

แบคทเี รยี บางรายอาจพบมีเย่ือตาบวมหรือจุดเลือดออกท่ีใต้

เยือ่ ตาได้ อาจเปน็ ขา้ งเดียว สองข้าง หรือเปน็ ข้างใดขา้ งหน่ึง
นามาก่อนก็ได้ โดยทั่วไปโรคตาแดงมักไม่ทาให้การมองเห็นลดลง แต่ถ้ามีอาการปวด

ตา หรือตามัวลงมากผิดปกติ อาจต้องคิดถึงโรคตาชนิดอื่นร่วมด้วย เช่น โรคต้อหิน

โรคมา่ นตาอักเสบ สาเหตุของโรคตาแดงมอี ะไรบ้าง?

โรคตาแดงเกิดจากการสัมผัสส่ิงคัดหล่ังของผู้ป่วยตา

แดง เช่น นา้ ตา ขต้ี าทตี่ ิดอยู่ตามส่ิงของ พื้นผิวต่างๆ หรือ

ในน้า แล้วมาสัมผัสที่ตา, การใช้ของส่วนตัวร่วมกันกับ

ผู้ป่วย เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว แว่นตา เครื่องสาอาง,

การเล่นน้าในท่ีท่วมขังและสกปรก หรือจากการท่ีพาหะ

โรค เชน่ แมลงหว่ี แมลงวัน นามาสู่ตาเรา

สาเหตุของโรคตาแดง โรคตาแดง

1. เชื้อไวรัส ท่ีพบบ่อย คือ Adenoviruses ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ
และ Herpes Simplex viruses

2. เช้อื แบคทเี รีย ทพ่ี บบ่อย คือ
Staphylococcus aureus,
Streptococcus pneumoniae และ
Haemophilus influenzae

3. โรคภมู ิแพ้ สารกอ่ ภูมแิ พ้ท่พี บบ่อย ได้แก่ ละอองเกสรดอกไม้ นา้ หอม เคร่ืองสาอาง

ควันบุหร่ี ไรฝ่นุ หรือแม้แต่ยาหยอดตาบางชนดิ

4. สาเหตุอื่น เชน่ สารเคมที ก่ี ่อใหเ้ กดิ การระคายเคือง ที่มีความเป็นกรดหรือดา่ งมาก,

การมีส่ิงแปลกปลอมเขา้ ตา, การใส่ Contact lens, โรคภมู ิต้านตนเอง

(Autoimmune) การป้องกนั โรคตาแดง

1. ลา้ งมือบอ่ ยๆ ด้วยนา้ และสบู่

2. หลีกเลย่ี งการสมั ผัสกบั สิ่งคดั หลั่งโดยตรงหรือ

ของที่ปนเป้อื นสงิ่ คัดหล่ังผูป้ ว่ ย เช่น ผ้าเชด็ หน้า

ผา้ เช็ดตวั ผ้าเช็ดมือ เครื่องสาอาง แว่นตา

3. หลกี เลี่ยงการสมั ผสั นา้ ทว่ มขงั หรือน้าสกปรก

ระวงั ไม่ให้น้ากระเดน็ เขา้ ตา หากสมั ผสั แล้ว ให้

รีบทาความสะอาดบริเวณนัน้ และ/หรอื อาบนา้ ใหส้ ะอาดทันที

4. ไม่ควรใช้มอื ขยีต้ า

5. ผูท้ เ่ี ปน็ โรคตาแดง ควรงดการใช้ของสาธารณะหรอื ไปในทส่ี าธารณะจนกว่าจะหาย เช่น

การเดินหา้ งสรรพสินคา้ การใช้รถโดยสารประจาทาง การลงสระว่ายน้า เพื่อป้องกันการ

แพร่ กระจายของเชื้อ

6. ไมค่ วรใช้ยาหยอดตาร่วมกับผู้อื่น ควรลา้ งมอื ใหส้ ะอาดกอ่ นและหลงั การหยอดยาเสมอ

ข้อมลู โดย :

โรค มือ เท้า ปาก โรค มือ เท้า ปาก

โรคมือเท้าปากเปื่อยเป็นโรคที่เกิดจาก ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

การติดเชอ้ื ไวรัส พบได้บ่อยในทารกและเด็ก

เล็ก ทาให้มีอาการไข้ เป็นแผลในปาก มีตุ่ม

น้าใสตามฝ่ามือ ฝ่าเท้า และลาตัว จัดเป็น

โรคท่ีสร้างความกังวลใจให้กับคุณพ่อคุณแม่

สาเหตขุ องโรค อยไู่ ม่นอ้ ย

โรคมือเท้าปากเปอื่ ยเกดิ จากการติดเชือ้ ไวรสั ใน

กลุ่มเอนเทอโรไวรสั ซง่ึ มมี ากกว่า 100 สายพันธ์ุ โดย

สายพันธ์ุท่ีทาให้เกิดโรคที่พบได้บ่อย เช่น คอกซากี

ไวรัส เอ16 (coxsackievirus A16) และเอนเทอโร

ไวรัส 71 (enterovirus 71) กลุ่มเส่ียงท่ีพบบ่อยคือ

เดก็ ทารกและเด็กเล็กอายุต่ากว่า 5 ปี ซ่ึงมักมีอาการ

รนุ แรงมากกว่าเด็กโต สาหรับผใู้ หญ่พบโรคนี้ไดบ้ า้ ง

การติดต่อของโรค
โรคมือเท้าปากเปื่อยสามารถติดต่อ

โดยตรงจากการสัมผัสกับสารคัดหล่ัง จาก
จมกู ลาคอ น้าลาย และน้าจากตุ่มใส รวมถึง
อุจจาระของผู้ป่วยท่ีมีเชื้ออยู่ และสามารถ
ติดต่อโดยอ้อมจากการสัมผัสของเล่น พื้น
ผวิ สัมผสั ท่มี ีการปนเปอ้ื นของเชื้อ อาหารหรือ
น้าด่ืมที่ปนเป้ือนเช้ือ มือของผู้เล้ียงดู โดย
สถานทีท่ ี่มักพบการ
ระบาดของโรค ได้แก่ สถานรับเลี้ยงเด็กและโรงเรียนอนุบาล และช่วงท่ีมักมีการระบาด
ของโรคน้ีคอื ช่วงฤดฝู นเข้าสู่ฤดูหนาว อย่างไรก็ดี โรคน้ีไม่ติดต่อจากคนสู่สัตว์หรือสัตว์สู่
คน ทัง้ นี้ โรคน้ีสามารถเป็นซ้าได้อีก เนื่องจากภูมิคุ้มกันท่ีเกิดข้ึนในผู้ป่วยท่ีหายจากการ
ติดเชือ้ ไวรสั สายพันธุ์ หนง่ึ ๆ อาจไม่สามารถชว่ ยป้องกนั การตดิ เชอื้ จากไวรสั สายพันธ์ุอ่ืนๆ
ได้ แม้จะจดั อยใู่ นกลมุ่ ยอ่ ยของเชือ้ ไวรัสเดียวกัน

ลักษณะอาการ โรค มอื เท้า ปาก

โ ร ค มื อ เ ท้ า ป า ก เ ป่ื อ ย อ า จ ท า ใ ห้ เ กิ ด ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

ภาวะแทรกซ้อนท่ีรุนแรง เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ

สมองอักเสบ อัมพาตกล้ามเน้ืออ่อนปวกเปียก หรือ

กล้ามเน้ือหัวใจอักเสบ ไปจนถึงเสียชีวิตได้ โดยอาการ

แทรกซอ้ นไม่สมั พนั ธก์ บั จานวนแผลในปากหรือตุ่มที่พบ

ตาม ฝ่ามือฝ่าเท้า หรืออาจมีตุ่มเพียงไม่ก่ีตุ่มตามฝ่ามือ

ฝ่าเท้าก็ได้ ซ่ึงคุณพ่อคุณแม่ควรดูแลลูกอย่างใกล้ชิด

ในช่วง 1-2 สัปดาห์แรก แม้จะดูว่าผื่นและแผลในปาก

หายไปแลว้ ก็ตาม

การป้องกัน

1. หลกี เลยี่ งการให้เด็กคลุกคลีหรือใกล้ชิดกบั ผู้ป่วย
2. รักษาอนามยั สว่ นบคุ คล
3. ไม่ใช้ภาชนะในการรบั ประทานอาหารร่วมกับผูอ้ น่ื
4. โดยเฉพาะผู้เล้ยี งดูเดก็ เล็กควรลา้ งทาความสะอาดมือก่อนหยิบจับ อาหารให้เด็ก

รับประทาน และรบั ประทานอาหารทสี่ ุก สะอาด ปรุงใหม่ๆ
5. รีบซักผา้ อ้อมหรอื เสอ้ื ผา้ ท่เี ป้อื นอุจจาระใหส้ ะอาดโดยเรว็
6. เมอื่ เชด็ น้ามกู หรือนา้ ลายใหเ้ ด็กแล้วตอ้ งล้างมือใหส้ ะอาดโดยเร็ว และทิ้งน้าลงใน

โถส้วม ห้ามทิ้งลงท่อระบายน้า หากเด็กมีอาการของโรคมือเท้าปากเป่ือยให้รีบ
พาเด็กไปพบแพทย์ และเมื่อแพทย์วนิ จิ ฉยั ว่าเป็นโรคมอื เท้าปากเปื่อย ต้องให้เด็ก
หยดุ เรยี นอยา่ งนอ้ ย 1 สัปดาห์ หรือจนกวา่ แผลจะหาย

ข้อมลู โดย :

จดั ทา้ โดย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งสมทุ รปราการ
ห้องสมุดประชาชนจังหวดั สมทุ รปราการ
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งสมทุ รปราการ

ข้อมูลอา้ งอิง


Click to View FlipBook Version