https://srk.thai.ac นายชาญณรงค์ มุมทอง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตของพชื
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวญั แสงอนุ่
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวัญ แสงอนุ่
การเจริญเติบโตเป็นคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด การเจริญเติบโตของพืช
สังเกตได้จากการเพิ่มขนาดหรือเพ่ิมจานวน เช่น มีใบเพ่ิมข้ึน มีรากยาวข้ึน มีลาต้น
สงู ข้นึ หรือมนี ้าหนักท่เี พิม่ ขึน้ การเจริญเติบโตของพืชจะเกิดขึ้นอยา่ งมีขั้นตอนและ
ต่อเน่ือง ทาให้มีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาโครงสร้างท่ีมี
ลักษณะงา่ ยๆ จนกลายเป็นโครงสร้างทซี่ ับซ้อนเพือ่ ทาหนา้ ที่เฉพาะอย่าง
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวัญ แสงอนุ่
3.2.1 ปัจจัยภายนอก
ปัจจยั เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวญั แสงอนุ่
ภายนอก
environment
3.2.2 ปจั จยั ภายใน
ปัจจยั ภายใน
genetic
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวัญ แสงอนุ่
Plant Hormones
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช (plant growth regulator)
ซึ่งพืชสร้างขน้ึ ภายในเซลล์ เรยี กว่า ฮอร์โมนพืช Plant Hormones
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวัญ แสงอนุ่
ออกซิน (Auxin) : IAA
บริเวณที่สร้าง
สรา้ งจากกลุ่มเซลลเ์ น้ือเยอ่ื เจรญิ (ปลายยอด,ปลายราก) และ Embryo
หน้าที่
- การตอบสนองตอ่ แสง (Phototropisn) แรงดงึ ดดู ของโลก (Gravitropism)
- กระตุน้ การยดื ตวั ของเซลลต์ ามยาว
- กระตุน้ การขยายขนาดของผนงั เซลล์
- กระตุน้ ใหย้ อดเจรญิ เตบิ โตรวดเรว็ แต่ยบั ยงั้ ในรากใหโ้ ตชา้
- ยบั ยงั้ การเจรญิ ตาขา้ ง
- กระตุน้ การออกดอก พฒั นารงั ไขเ่ ป็นผลทงั้ ทย่ี งั ไมไ่ ดป้ ฏสิ นธิ
- กระตุน้ การแตกของกง่ิ ในการเพาะชาและชะลอการหลดุ รว่ งของใบ,ดอก
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวญั แสงอนุ่
ไซโทไคนิน (Cytokinin)
บริเวณที่สร้าง
สรา้ งจากกล่มุ เซลลเ์ น้ือเยอ่ื เจรญิ (ปลายราก) ผลอ่อน นอกจากน้ียงั พบใน
น้ามะพรา้ วและสารสกดั ทไ่ี ดจ้ ากยสี ต์
หน้าท่ี
- กระตุน้ การแบง่ เซลลแ์ ละการเจรญิ เปลย่ี นแปลงของเซลล์
- กระตุน้ การเกดิ หน่อใหม่
- กระตุน้ การเจรญิ ของตาขา้ ง การเจรญิ ของกงิ่ แขนง
- ชะลอการสลายตวั ของคลอโรฟิลลแ์ ละการแกข่ องผลไม้
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวญั แสงอนุ่
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) : GA
บริเวณท่ีสรา้ ง
สรา้ งจากกลุ่มเซลลเ์ น้ือเยอ่ื เจรญิ เหนือขอ้ พชื ใบเลย้ี งเดย่ี ว และ Embryo
หน้าที่
- กระตุน้ ใหย้ อดเจรญิ เตบิ โตของเซลลร์ ะหวา่ งขอ้ ปลอ้ ง ทาใหต้ น้ ไมส้ งู
- กระตุน้ การงอกของเมลด็ และตา ชว่ ยยดึ ชอ่ ผลได้ ไมใ่ หแ้ ต่ละลกู เบยี ดกนั
- กระตุน้ การออกดอก พฒั นารงั ไขเ่ ป็นผลทงั้ ทย่ี งั ไมไ่ ดป้ ฏสิ นธิ
- เปลย่ี นดอกตวั ผใู้ หเ้ ป็นดอกตวั เมยี ในตระกลู แตง
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวญั แสงอนุ่
เอทีลิน (Ethylene)
บริเวณที่สร้าง
สรา้ งขณะทเ่ี ซลลม์ ี Metabolism เน้ือเยอ่ื บรเิ วณผลไมใ้ กลส้ กุ บรเิ วณขอ้ และใบแก่
หน้าท่ี
- กระตุน้ การสกุ ของผลไม้ เรง่ Metabolism
- กระตุน้ การหลุดรว่ งของใบ
- กระตุน้ การออกดอกของพชื สบั ปะรด
- กระตุน้ การงอกของเมลด็
- กระตุน้ การไหลของน้ายางพารา
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวญั แสงอนุ่
กรดแอบไซซิค (Abscisic acid) : ABA
บริเวณท่ีสรา้ ง
สรา้ งจากราก ลาตน้ ใบแก่และผลดบิ
หน้าท่ี
- กระตุน้ การหลุดรว่ งของใบและผลทแ่ี กเ่ ตม็ ท่ี
- กระตุน้ การเปิด-ปิดปากใบ เมอ่ื อยใู่ นสภาวะขาดน้า
- การพกั ตวั ของเมลด็
- ยบั ยงั้ การเจรญิ ของเซลลต์ า
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวญั แสงอนุ่
สรปุ ฮอรโ์ มนพืชที่ทางานตรงข้าม
กนั Hormone การทางาน
Hormone การทางาน
Gibberellin กระตุน้ การงอกเมลด็ ทางาน Abscisic เพมิ่ การพกั ตวั ของ
acid เมลด็
ตรง
ยบั ยงั้ การเจรญิ ตา ข้ามกบั Cytokinin กระตุน้ การเจรญิ ตา
ขา้ ง ขา้ ง
Auxin
ชะลอการหลดุ รว่ ง Abscisic กระตุน้ การหลดุ รว่ ง
ของใบ acid ของใบ
เอกสารประกอบการเรยี นการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ : นางสาวทรายขวัญ แสงอนุ่