The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phonnapa Ponyiam, 2024-01-29 23:45:49

ใบงาน1พรนภา

ใบงาน1พรนภา

ใบงาน รหัสนักศึกษา 63010210008 นางสาวพรนภา พลเยยี่ม ช้นั ปีที่4 สาขาเทคโนโลยดีิจิทลัทางธุรกิจ ใหน้กัศึกษาตอบคา ถามต่อไปน้ีใหค้รบถว้น 1. ให้นักศึกษาค้นคว้าติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการของเทคโนโลยีที่เล็งเห็นการ เปลี่ยนแปลงและสามารถเขา้ใจผลกระทบของเทคโนโลยีสมยัใหม่รวมท้งัสามารถนา ไปประยุกตไ์ด้ ถูกต้อง โดยเขียนบรรยายมาครึ่ งหน้ากระดาษ A4 ว่าสนใจเรื่องน้ีเพราะเหตุใด มาอย่างครอบคลุม และ น ามาเขียนเป็ นผังมโนทัศน์หรือ ไมด์แมป (Mind Map) ตอบ เทคโนโลยี Cloud Computing (คลาวดค์อมพิวติ้ง)จะเป็นเรื่องใกลต้วัมากยงิ่ข้ึน และมีแนวโนม้ การน าเทคโนโลยี Cloud Computing ไปประยกุตใ์ชเ้พื่อประโยชน์ในดา้นต่าง ๆ ในปัจจุบนัมากข้ึนเรื่อย ๆ ซ่ึงจะเริ่มเห็นเป็นรูปธรรมมากยงิ่ข้ึน ไม่วา่จะเป็นท้งัจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรือจากองคก์ร ต่าง ๆ มากมายท้งัในและต่างประเทศ แนวคิดการใช้งานทางด้านไอทีที่ใช้วิธีดึงพลังและสมรรถนะจากคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องจากต่าง สถานที่ให้มาท างานสอดประสานกันเพื่อช่วยขับเคลื่อนการบริการทางด้านไอที ส าหรับประโยชน์ของ Cloud Computing มีอยู่หลายประการ เช่น ช่วยให้การน าไอทีไปประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจท าได้ง่ายและ ประหยัดค่าใช้จ่าย, ช่วยองคก์รประหยดัพลงังานหรือเพิ่มความอุ่นใจในดา้นความปลอดภยัของระบบ ไอที เป็ นต้น Cloud Computing หรืออาจจะเรียกว่า การประมวลผลเป็ นกลุ่มเมฆโดยผู้ให้บริการจะ แบ่งปันทรัพยากรไปยงัผทู้ี่ตอ้งการใชบ้ริการน้นั โดยที่ผู้ใช้งานไม่จ าเป็ นต้องมีความรู้หรือเทคนิค ส าหรับการท างานเลย รูปแบบของ Cloud Computingจะแบ่งออกเป็ น 3 รูปแบบ -Public Cloud คือ มี Server ต้งัอยใู่นสถานที่ที่แตกต่างกนัซ่ึงผใู้ชง้านจะใชบ้ริการผา่น Web Services -Private Cloud คือ ผู้งานจะเป็ นผู้บริหารจัดการระบบเอง โดยมีการจ าลอง Cloud Computing เพื่อใช้ งานส่วนตวัจะช่วยลดค่าใชจ้่ายไดม้ากข้ึน - Hybrid Cloud คือ การรวมเอา Public Cloud และ Private Cloud เข้ามาด้วยกัน


คุณสมบัติเด่น ๆ ของ Cloud Computing คือ - สามารถเข้าถึงได้ทุกทีที่มีอินเตอร์เน็ต - ใชง้านเท่าไรก็จ่ายเท่าน้นั - มีอิสระทางทรัพยากรคอมพิวเตอร์ - มีความยดืหยนุ่ ในการเพิ่มหรือลดระบบใหต้รงกบัความตอ้งการ -ลดต้นทุน ค่าดูแล บ ารุงรักษา แนวโน้มการใช้งาน Cloud Computing ก็จะเป็นไปอย่างกวา้งขวางมากข้ึน ด้วยแรงผลักดันจาก แนวโนม้ สา คญั5 ประการดงัต่อไปน้ี 1.แนวโนม้ของเวบ็ที่กลายเป็นสื่อกลางสา หรับการติดต่อสื่อสารของคนทวั่โลก 2. แนวโน้มความต้องการประหยัดพลังงาน 3. ความต้องการสร้างสรรค์นวัตกรรมขององค์กร 4. ความต้องการใช้งานไอทีที่ง่ายและไม่ซับซ้อน 5.การจดัระเบียบขอ้มูลใหม้ีประสิทธิภาพดียงิ่ข้ึน แหล่งที่มา https://tanc.dev/cloud-computing/


2. ให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้างานวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่นักศึกษาสนใจ โดยให้ศึกษาค้นคว้าจาก แหล่งข้อมูลงานวิจัย ไม่ว่าจะเป็ นวิทยานิพนธ์ งานวิจัย วารสาร และหนังสือ ที่ดาวน์โหลดฟรี โดย ไม่ต้องออกจากบ้าน ท างานทางผ่าน Website ต่าง ๆ พร้อมท้งัผา่นระบบ online จาก Link website โดยเลือกเอามา 7 เรื่อง โดยแบ่งออกเป็ น ภาษาไทย 5 เรื่อง ภาษาอังกฤษ 2 เรื่อง 1. การวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับรถยนต์บนเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ใน ประเทศไทยโดย เทคนิคการวิเคราะห์โซเชียลมีเดีย มหาวิทยาลัยนเรศวร แหล่งที่มา https://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/4076/3/61062403.pdf คนไทยมีการตดัสินใจซ้ือรถยนตน์ ้นัเกิดจากหลายปัจจยัซ่ึงผบู้ริโภคส่วนใหญ่เริ่มพจิารณา จากส่วนของการตลาด เช่น ผลิตภัณฑ์ รุ่น ราคารถยนต์ ช่องทางการจัดจ าหน่าย และการส่งเสริม การตลาด เป็ นต้น เนื่องจากรถยนต์เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีราคา สูง ดงัน้นัการเลือกซ้ือรถยนตข์องผบู้ริโภคจึงจ าเป็ นต้องศึกษาพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ มาประกอบกันให้ละเอียดถี่ถ้วน เพื่อให้การ ซ้ือรถยนตน์ ้นัเกิดความคุม้ค่าเหมาะสมกบัการใชง้านของผบู้ริโภคคนน้นันอกจากน้นก็ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่อาจจะมี ั ผลต่อการ พิจารณาดว้ยเช่น มาตรการการให้บริการหลงัการขายของบริษทัน้นัๆดว้ยแบรนดร์ถยนต์หรือบริษัทจ าหน่ายรถยนต์ จึงเป็ น ส่วนหน่ึงที่มีอทิธิพลต่อการตดัสินใจซ้ือรถยนตข์องผบู้ริโภคดว้ย เช่นกนัเพราะบริษทัรถยนตน์ ้นัจะเป็นตวับ่งบอกคุณค่าให้แก่ ผู้บริโภคที่เลือกใช้ ข้อมูลข่าวสารเป็ นอีก หน่ึงปัจจยัที่อาจจะส่งผลกระทบในการตดัสินใจซ้ือของผบู้ริโภคได้เนื่องจากการซ้ือ รถยนตน์ ้นั 2 ผบู้ริโภคจาเป็นตอ้งหาขอ้มูลของผลิตภณัฑก์ ่อนเสมอไม่ว่าจะเป็นจากโทรทศัน์อินเทอร์เนต็เอกสาร ประชาสัมพันธ์ ผเู้ชี่ยวชาญ หรือบุคคลที่รู้จกัเป็นตน้ซ่ึงจะตอ้งเริ่มจากการคน้หาขอ้มูลที่ตนเองสนใจก่อน โดยเฉพาะการ ออกแบบรถยนต์ ประเภทเครื่องยนต์ วัสดุที่ใช้ในการประกอบรถยนต์ หรือเทคโนโลยทีี่ใช้เป็นตน้เพื่อพิจารณาขอ้มูลน้นั ใน การตดัสินใจซ้ือรถยนต์ดงัน้นัขอ้มูลดงักล่าว ถ้า บริษทัผลิตรถยนตร์ู้ทิศทางของความตอ้งการของผบู้ริโภค ที่ตอ้งการซ้ือ รถยนตก์ ็จะเป็นสิ่งที่ดีมาก สามารถนาไปเป็นแนวทางในการออกแบบรถยนต์ได้นอกจากการพูดคุยกับศูนย์ผู้ให้บริการรถยนต์ หรือข้อมูลที่สามารถรับฟังจากผู้เชี่ยวชาญแล้วผู้บริโภคส่วนใหญ่ก็เลือกที่จะหาขอ้มูลบนอินเทอร์เน็ต ท้งัเวบ็ไซตห์รือโซเชียล มีเดีย ซึ่งผู้บริโภคมักจะ ไปต้งักระทูถ้ามหรืออาจจะเป็นการกดไลค์(Like) การแชร์ (Share) การโพสตามโซเชียลต่าง ๆ ข้อมูล เหล่าน้นัจะขยายขนาดไปเรื่อยแบบไร้ขอบเขต ดงัน้นัถา้สามารถนาขอ้มูลเหล่าน้ีมาพิจารณาไดก้็จะ ส่งผลประโยชน์เป็ นอย่าง มาก โดยเฉพาะบริษัทรถยนต์ที่จ าเป็ นต้องรู้เพื่อน าขอ้มูลเหล่าน้ีไปพฒันา บริการ การออกแบบรถยนต์ หรือรูปแบบ ความสัมพนัธ์บางอยา่งนนั่เอง ปัจจุบันข้อมูลที่มีอยู่จ านวนมากน้นัสามารถนามาวิเคราะห์ไดส้ะดวกข้ึน ตวัอยา่งเช่น ขอ้มูล ขนาดใหญ่ (Big Data) (Hu, Wen, Chua และLi, 2014; Zikopoulos, Eaton, DeRoos, Deutsch และLapis, 2012) เป็ น การรวบรวมข้อมูลมาท าการประมวลวิเคราะห์ข้อมูลและน าไปใช้ประโยชน์ ซึ่ง โดยปกติมีท้งัขอ้มลูที่มีโครงสร้าง


(Structured) เช่น ข้อมูลที่เก็บในโครงสร้างตารางข้อมูลใน ฐานข้อมูล และแบบข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้าง (Unstructured) ซึ่ง ไดแ้ก่ขอ้มูลที่เป็นขอ้ความยาวๆ รูปภาพ และวิดีโอต่าง เป็นตน้ขอ้มูลท้งัสองรูปแบบน้นัหาไดจ้ากเวบ็ ไซตแ์ละโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) (Mayfield, 2008) แม้ว่าเว็บไซต์จะมีข้อมูลอยู่จ านวนมากและหลากหลาย ในส่วน ของ โซเชียลเน็ตเวิร์ค ก็เป็นสิ่งที่มีความน่าสนใจเช่นกนั โซเชียลเน็ตเวิร์คเป็นแหล่งที่ผคู้นสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล แบ่งปันข่าวสาร ความสนใจ การ แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องราวต่าง ๆ ร่วมกัน ทุกคนสามารถเลือกรับข่าวสารข้อมูล ได้อย่างอิสระ ท าให้เครือข่ายสังคมออนไลน์กลายเป็นแหล่งการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ข้อมูล จ านวนมาที่เกิดข้ึนในระบบโซเชียลต่าง ๆ ลว้นสอดคลอ้งกบัสถานการณ์บา้นเมือง ซ่ึงมีมุมมองหรือการแสดงทัศนะคติจ านวน มากถูกโพสลงบนโซเชียลเน็ตเวิร์ค ท้งทางด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ หรือ ั ด้านสังคม เป็ นต้น การเก็บรวบรวมข้อมูลบน โซเชียลน้นัเป็นการเก็บขอ้มูลแบบไม่วิธีการหรือมีคา ถาม ล่วงหน้าว่าอยากรู้อะไร หรืออยากได้ค าตอบอะไรแบบเฉพาะเจาะจง กบักลุ่มเป้าหมายน้นัแต่เป็นการ เก็บสิ่งที่ผบู้ริโภค’พูด’ หรือ’ทา ’ บนโซเชียล เหมือนเราท าการสังเกตุพฤติกรรมของผู้บริโภค บนโลกโซเชียลโดยเก็บข้อมูลในรูปแบบตัวเลขไม่ว่าจะโพสท์อะไร โพสท์เมื่อไหร่ โพสท์ที่ไหน เนื่องจากข้อมูล บนโซเชียลมี อยู่ตลอดเวลา ท าให้สามารถท าวิจัยได้ตลอด รวมถึงใช้เวลาในการท าที่รวดเร็วข้ึนได้ทา 3 ให้แบรนดแ์อคชนั่ต่อผบู้ริโภคได้ รวดเร็ว ที่ส าคัญเป็ นข้อมูลแบบไม่มีความล าเอียง (Bias) เพราะเป็นสิ่ง ที่ผู้บริโภคพิมพ์หรือพูดบนโลกโซเชียลอย่างเป็ น ธรรมชาติการวิเคราะห์โซเชียลมีเดีย (Social Media Analytics: SMA) คือวิธีการรวบรวมข้อมูลจากไซต์โซเชียลมีเดียและ บล็อกจากน้นัทา การประเมินข้อมูลเพื่อน ามาใชใ้นการตดัสินใจทางธุรกิจ ดงัน้นัการวิเคราะห์โซเชียลมีเดียจึงเป็นสิ่งที่สา คัญ มากในปัจจุบัน สามารถนามาพัฒนาช่วยธุรกิจต่าง ๆ ได้เพื่อพิจารณาหาแนวโน้มหรือนัยส าคัญบางอย่าง อันจะสร้างแรงกระตุ้น หรือสร้างกลยุทธ์ให้กับธุรกิจ ได้ ซึ่งงานวิจัยของ Google (ประเทศไทย, 2560)แสดงให้เห็นแล้วว่านักการตลาดของค่าย รถยนต์ควร เขา้หาผบู้ริโภคต้งัแตใ่นช่วงการเริ่มตน้หาขอ้มูลจากอนิเทอร์เน็ตไปจนถึงช่วงเวลาของการตดัสินใจซ้ือรถยนต์ซ่ึงช้ี ชัดว่าข้อมูลเว็บไซต์และข้อมูลบนสังคมออนไลน์มีความส าคัญอยา่งมาก นอกจากน้นัจะมีการใช้การวิเคราะห์ความรู้สึก (Sentiment Analysis) เพื่อวิเคราะห์อารมณ์และความรู้สึกจากข้อความ (Bakshi, Kaur, Kaur และKaur, 2016) เพื่อที่จะ บ่งบอกความรู้สึกของผคู้นที่มีต่อบางสิ่ง บางอยา่ง ณ ตอนน้นั โดยใชข้อ้ความบนโซเชียลมีเดียที่ถูกน ามาวิเคราะห์ข้างต้น ดงัน้นัผวู้จิยัจึงเลือกศึกษาการนา การวิเคราะห์ข้อมูลสังคมออนไลน์มาช่วยในการวิเคราะห์หารูปแบบความสัมพันธ์ของการ ตดัสินใจซ้ือรถยนตข์องผบู้ริโภคในประเทศไทยเพื่อหาพิจารณาการออกแบบรถยนต์ในประเทศไทย โดยการน าข้อมูลจาก เว็บไซต์สังคมออนไลน์ซ่ึงขอ้มูลน้นัจะมีความ เกี่ยวข้องกับงานด้านประชาสัมพันธ์ การตลาด การรับรู้ข่าวสาร และคุณค่าแบ รนด์ของบริษัทที่มีอทิธิพลต่อการตดัสินใจซ้ือรถยนตใ์นประเทศไทยจากน้นัจะทา การวิเคราะห์ความรู้สึกของผู้ใช้ว่าไป ใน ทิศทางใด เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจบางอย่างของบริษทัรถยนต์หวงัว่าผลการวิจยัในคร้ังน้ีจะ เป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบ ธุรกิจเกี่ยวกับรถยนต์ในการก าหนดแนวทางในการด าเนินกิจกรรมทางการตลาด ในการออกแบบรถยนต์ให้เหมาะสมกับชาว ไทยรวมถึงท้งัภาครัฐบาลและเอกชนสามารถ น าไปเป็ นแนวทางวางแผนด าเนินโครงการต่าง ๆ ในประเทศไทยในอนาคตได้ เป็ นอย่างดี ถ้ายอดขาย รถยนตไ์ดต้ามที่บริษทัไดต้้งัเป้าหมายไว้ก็จะส่งผลให้อตุสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนรถยนตข์องไทย เติบโตตามไปด้วย


2.รูปแบบการบริหารสถาบันอุดมศึกษาในยุคดิจิทัล มหาวิทยาลัยนเรศวร แหล่งที่มา https://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/5024/3/60032148.pdf ปัจจุบันการจัดการศึกษาอยู่ในท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) ในโลกยุค ดิจิทัล (Digital Era) ดงัน้นัผบู้ริหารสถาบนัการศึกษาจะตอ้งปรับเปลี่ยนแนวทางการจดัการศึกษา ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทุก องค์กรต้องเผชิญกับยุคโลกป่ วน (Disruptive World) อย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้กล่าวคือเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สิ่ง หน่ึงเขา้มาแทนที่อีกสิ่งหน่ึง ทา ใหเ้กิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง รวดเร็ว ดังเช่น การเข้าถึงนวัตกรรมและ เทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งเป็ นปัจจัยส าคัญที่ท าให้เกิด การเปลี่ยนแปลง และจากปัจจัยคุกคาม 5 ปัจจยั ไดแ้ก่ เทคโนโลยี ความสะดวก ความเร็ว ข้อมูล และ พฤติกรรมนอกกรอบ ที่เข้ามาเป็ นปัจจัยกระตุ้นให้โลก เปลี่ยนแปลง (พัชราภรณ์ ดวงชื่น, 2561, น. 249) ตลอดจนถึงข้อมูลที่มีอยู่จ านวนมากในโลกออนไลน์ ก็ท าให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงดว้ยเช่นกนัรวมท้งั พฤติกรรมของคนที่ไม่ต้องการอยู่ในกรอบแบบเดิม ๆ เพราะมีทางเลือก ใหม่เข้ามา ก็สามารถหาวิธีการใหม่ ที่จะสนองความต้องการตัวเองได้ หาความรู้ได้ การเตรียมตัวเข้าสู่ยุคที่มีการ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด หรือเรียกว่าเป็ นเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (Disruptive Technology) ท าให้ทุกองค์กร ได้เห็นภาพในยุคโลกป่ วน ที่ต้องตระหนักว่าเราไม่ได้อยู่บนโลกใบเดิม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดในปัจจุบัน และก าลังจะเกิดข้ึนในอนาคตเป็นสิ่งที่ทา ใหผ้บู้ริหารองคก์รตอ้งมีการวิเคราะห์ทา ความเขา้ใจ ต้องลุกข้ึนมาเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนมุมมองการบริหารองคก์รการศึกษาในยคุโลกป่วน เป็นเรื่องที่สา คญั ใน การบริหารสถาบันการศึกษาในยุคปัจจุบัน เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกที่ก าลังเข้าสู่ยุค "ดิจิทัลเปลี่ยน โลกการศึกษา" อย่างเต็มตัว 2 การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีดิจิทัลแบบก้าวกระโดด เราก าลังอยู่ในยุคที่ทุกคน ต้องปรับตัวแบบก้าวกระโดด และปรับตัวตลอดชีวิต ในยุคที่คนต้องเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ และสามารถปรับตัว เข้ากับ ยุคใหม่ได้ ก็จะกลายเป็ นพรสวรรค์ทางดิจิทัล (Digital Talent) ซ่ึงแต่ละคนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม ทาง เศรษฐกิจแก่องคก์รและประเทศชาติได้ในยคุที่การศึกษาแบบด้งัเดิมไม่ไดต้อบโจทยก์ารอยรู่อด ในโลกยุคใหม่ อีกต่อไป และในขณะที่ทวั่โลกกา ลงัมีการปฏิวตัิการศึกษากนัอยา่งเขม้ขน้ที่ตอ้งการให้ผู้เรียนทุกคนมีความ เข้าใจทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรม หรือการเน้น การศึกษาทางด้าน STEAM (Science, Technology, Engineering, Art, and Mathematics) และ สอนกระบวนการคิดอย่างเป็ นระบบ และเป็ น Project-Based, Play-Based Learning ที่มาปฏิวัติระบบการศึกษาต้งเดิม เปลี่ยนไปเป็ นการศึกษาที่ ั แตกแขนงกิ่งกา้นไปตามเส้นทางความถนดัและเป้าหมายการเรียนรู้ของแต่ละคน โดยนวัตกรรมทางการศึกษา


หลายอยา่งน้ีก่อกา เนิดมาจาก นวัตกรรมการสอนยุคดิจิทัล (พัชราภรณ์ ดวงชื่น, 2561, น. 250) การ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีมีผลกระทบต่อการบริหารสถาบันการศึกษาเป็ นอย่างมาก ดงัน้นัผบู้ริหาร สถาบันการศึกษาจึงมีความจ าเป็ นที่ต้องเปลี่ยนทัศนคติและแนวคิดการบริหารของ ตนเองให้ทันต่อสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน ท้งัน้ีเพื่อใหส้ถาบนัการศึกษามีความทนัสมยั สามารถบริหารจัดการศึกษาได้อย่างมี คุณภาพในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะในยุคดิจิทัล (Digital Era) เป็ นยุคของอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ที่มีความรวดเร็วในการสื่อสาร การส่งผ่านข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสังคมไม่ว่าจะเป็ นข่าวสาร ภาพ หรือ วิดีโอที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วทุกที่ ทุกเวลา ซึ่งการพัฒนาการจากยุคอุตสาหกรรมมาสู่ยุคดิจิทัล ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า มีความแตกต่างกัน อย่างเห็นได้ชัดเจน โดยเฉพาะในปัจจุบันนับได้ว่าเป็ นยุคของข้อมูล ข่าวสารและอินเตอร์เน็ต ซึ่งความก้าวหน้าของเทคโนโลยีนี่เองที่ท าให้อาจารย์และผู้เรียนของสถาบันการศึกษา สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้ได้ โดยไม่มีข้อจ ากัดในเรื่องเวลาหรือแม้แต่สถานที่ จุดเด่นของยุคดิจิทัลที่ ส าคัญ คือ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ไม่มีขอบเขตหรือข้อจ ากัด และการใช้เทคโนโลยีมาบูรณาการ เชื่อมโยงเครือช่ายต่าง ๆ ให้ทุกคนสามารถจัดเก็บ เข้าถึง ใช้พัฒนาความรู้ เผยแพร่ และแบ่งปัน ความรู้ได้อย่าง ทวั่ถึง 3.กรอบแนวคิดส าหรับการสร้างกรณีทดสอบด้วยออนโทโลยีความต้องการซอฟต์แวร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แหล่งที่มา https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/19180/1/6030223005.pdf ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทส าคัญในการใช้ชีวิตของมนุษย์ทุกคน การออกแบบนวัตกรรม ใหม่ๆ หรือซอฟตแ์วร์ต่าง ๆ เริ่มไดร้ับความสนใจและมีจา นวนเพิ่มมากข้ึน เรื่อย ๆ เพื่อตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์ทุกคน ในกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์จ าเป็ นต้องค านึงถึงความถูกต้องแม่นย าและคุณภาพ ของผลิตภณัฑท์ ี่พฒันาข้ึน เพื่อใหไ้ดผ้ลิตภณัฑท์ ี่ตรงตาม ความต้องการและผู้ใช้งานได้รับความพึงพอใจสูงสุด ในด้านอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาผลิตภณัฑใ์หไ้ดม้าตรฐานและมีคุณภาพประกอบไปดว้ยข้นัตอนและ กระบวนการต่าง ๆ มากมายซึ่งกระบวนการหนึ่งที่เป็ นส่วนส าคัญหลักในการรับประกันคุณภาพของซอฟต์แวร์ คือข้นัตอนของการทดสอบซอฟต์แวร์ (software testing) อย่างไรก็ตาม จากรายงานประจ าปี ค.ศ. 2013 ของ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์(Cambridge University) ระบุว่าค่าใช้จ่ายของข้อผิดพลาดซอฟต์แวร์อันเป็ นผล มาจาก ข้นัตอนดา้นคุณภาพที่ไมดีในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์มีมูลค่าประมาณ ่ 312 พันล้านเหรียญ สหรัฐ (Brady, 2013)


หรือประมาณ 10,489.44 พันล้านบาทต่อปี และมีแนวโน้มว่าค่าใช้จ่ายยังคง เพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ อยา่งต่อเนื่องซ่ึงเป็น ตวัเลขที่ค่อนขา้งสูงสา หรับค่าใชจ้่ายที่เกิดข้ึน โดยขอ้ผิดพลาด เกิดมาจากสาเหตุหลายประการ แต่เป็ นที่น่า แปลกใจวา่สาเหตุหลกัของขอ้บกพร่องที่เกิดข้ึนไม่ได้เกิดจากข้อผิดพลาดในการเขียนโปรแกรม (coding) หรือ การออกแบบ (design) แต่สาเหตุอันดับหนึ่งของขอ้ผิดพลาดเกิดจากข้นัตอนของการระบุขอ้กา หนดความ ต้องการ (specification) (Patton, 2005) ซึ่งเป็นข้นัตอนเริ่มตน้ ในการพฒันาซอฟตแ์วร์เพื่อรวบรวมความตอ้งการ ของผู้ใช้งาน จากข้อผิดพลาด ดังกล่าวข้างต้น วิธีการหนึ่งที่จะช่วยลดระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดการ ขอ้ผิดพลาดเหล่าน้ีคือการทวนสอบ (verification) ต้งัแต่กระบวนการเริ่มตน้ซ่ึงเป็นข้นัตอนแรกของการ รวบรวมข้อก าหนด ความตอ้งการที่เป็นสาเหตุหลกัของขอ้ผิดพลาดที่เกิดข้ึนในกระบวนการทดสอบ จากปัญหา ที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยได้มีการศึกษาค้นคว้าและให้ความสนใจในเรื่องการน าแนวคิดและเทคนิคการพัฒนา ออนโทโลยี (ontology) มาประยุกต์ใช้กับศาสตร์ทางด้านการ ทดสอบซอฟตแ์วร์เพื่อเพิ่มโครงสร้างใหก้บั ข้อก าหนดความต้องการในเอกสารข้อก าหนดคุณลักษณะความต้องการซอฟต์แวร์ (SRS) ที่เป็ นภาษาธรรมชาติ ใหอ้ยใู่นรูปแบบเชิงโครงสร้างมากข้ึน โดยไดน้า เครื่องมือ (Rabbit to OWL Ontologies Authoring: ROO) (Denaux, et al., 2008) ซึ่งเป็ นเครื่องมือในการพัฒนาออนโทโลยีที่สามารถท าความเข้าใจได้ง่ายและไม่ซับซ้อน เครื่องมือน้ีมีการกา หนด โครงสร้างของออนโทโลยีโดยใช้ภาษาธรรมชาติควบคุม (Controlled Natural Language: CNL) ที่มีชื่อเรียกว่า Rabbit language ด้วยไวยากรณ์ที่มีรูปแบบเฉพาะและถูกก าหนดไว้อย่างชัดเจน สามารถขจดัความคลุมเครือของคา ศพัทท์ ี่ใชภ้ายในออนโทโลยอีีกท้งัยงัสามารถใชโ้ครงสร้างความรู้ที่เป็น นามธรรมซึ่งสามารถช่วยลดความซับซ้อนของการสร้างความรู้และง่ายต่อการออกแบบและพัฒนาโดยออน โทโลยเีป็นรูปแบบการแทนองคค์วามรู้ของคุณสมบตัิและความสัมพนัธ์ในขอบเขตของสิ่งที่สนใจ สามารถ น ามาใช้เป็ นรูปแบบข้อก าหนดซึ่งประกอบไปด้วย ค าศัพท์ภายในโดเมน (domain vocabularies) แนวคิดที่สนใจ (concepts) การจ าแนกแนวคิด (classifications) ลา ดบัช้นัของแนวคิด (taxonomies หรือ concept hierarchies) ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิด (relationships) ขอบเขตและข้อจ ากัด (constraints) รวมถึงสัจพจน์ของโดเมน (domain axioms) (Keet, 2020) ดงัน้นัการนา ออนโทโลยมีาใชใ้นการแทนความหมายของเอกสารขอ้กา หนด คุณลักษณะความต้องการ ซอฟต์แวร์ (SRS) จึงส่งผลใหเ้กิดประโยชน์ในการเพิ่มโครงสร้างที่ชดัเจนใหก้บั ข้อก าหนด ความต้องการที่น ามาใช้ในการสร้างกรณีทดสอบ โดยมีงานวิจัยมากมาย (Barbosa, et al., 2006; Castañeda, et al., 2010; Siegemund, et al., 2011; Sim and Brouse, 2014; Souza, et al., 2013; Tarasov, et al., 2016; Thongglin, et al., 2013; Ul Haq and Qamar, 2019; Wang, et al., 2007) ที่ให้ความสนใจในการแก้ไข ปัญหาดังกล่าวข้างต้น และเพื่อให้การด าเนินการทดสอบมีความถูกต้อง มากยงิ่ข้ึน ในกระบวนการแทนความรู้


เพื่อให้ค าอธิบายเชิงความหมายสามารถแทนได้หลากหลาย 3 รูปแบบ (Russell and Norvig, 2003) จากการศึกษา งานวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องพบว่างานวิจัยส่วนใหญ่ได้กล่าวถึงการน าออนโทโลยีมาประยุกต์ใช้กับศาสตร์ ทางด้านต่าง ๆ มากมาย โดยมีงานวิจัยของ Castañeda และคณะ (Castañeda, et al., 2010) งานวิจัยของ Ul Haq และ Qamar (Ul Haq and Qamar, 2019) และงานวิจัยของ Wang และคณะ (Wang, et al., 2007) ได้น ารูปแบบ การแทนแบบโครงข่ายความหมาย (semantic network) ซึ่งเป็ นการแทนโดยเลียนแบบหน่วยความจ าของมนุษย์ ที่มีความสัมพนัธ์กนัของโหนดแต่ละโหนดในรูปของลา ดบัช้นั (hierarchy) ในงานวิจัยของ Barbosa และคณะ (Barbosa, et al., 2006) ได้น าออนโทโลยีมาใช้ในกระบวนการทดสอบ ซอฟตแ์วร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหก้บั ซอฟต์แวร์และมีรูปแบบการแทนแบบกราฟความคิด (conceptual graph) ซึ่งเป็ นการแทนโดยอธิบายในรูป สัญลักษณ์ของการสืบถอดคลาสแม่และคลาสลูกในงานวิจัยของ Souza และคณะ (Souza, et al., 2013) เป็ นการ น าออนโทโลยีมาใช้ในกิจกรรมการ ทดสอบและข้นัตอนการทดสอบเพื่อเชื่อมโยงและเก็บองคค์วามรู้ในการ สร้างความเข้าใจส าหรับ ความต้องการซอฟต์แวร์ โดยมีลักษณะการแทนความรู้ในรูปแบบของเฟรม (frame) เพื่อแสดง โครงสร้างของข้อมูลแทนสถานการณ์ เหตุการณ์การกระทา บุคคลและสถานที่ภายในเฟรมน้นัๆ นอกจากน้ียงัมีงานวิจยัของ Tarasov และคณะ (Tarasov, et al., 2016) ที่ได้มีการแทนความรู้ใน รูปแบบของ สคริปต์ (script) โดยน าออนโทโลยีมาประยุกต์ใช้กับกฎการอนุมาน (inference rules) เพื่อใช้ในการแทน โครงสร้างของเอกสารข้อก าหนดคุณลักษณะความต้องการซอฟต์แวร์ (SRS) และแปลงเป็ นไวยากรณ์ Prolog ส าหรับการสร้างกรณีทดสอบ เป็ นต้น 4.กรอบแนวคิดส าหรับระบบแนะน าโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แหล่งที่มา https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/19242/3/6030223006.pdf การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Ross, 2001) เป็ นการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อที่จะเข้าถึง ประสบการณ์หรือมีส่วนร่วมกับ กิจกรรมกีฬาที่เกี่ยวขอ้ง ต้งัแต่ปีพ.ศ. 2561 เป็ นต้นมา ประเทศไทย ได้เพิ่มความสนใจในการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงกีฬา เนื่องจากมีผลกระทบในดา้นต่าง ๆ ท้งัในเชิง เศรษฐกิจและการเสริมสร้างตัวตนทางท่องเที่ยว ของประเทศ องค์กรที่เกี่ยวข้องกับกีฬาและท่องเที่ยว ได้ร่วมมือกันเพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเที่ยวที่ น่าสนใจในประเทศไทย การท่องเที่ยวเชิงกีฬาใน ประเทศไทยกลับมามีความนิยมและเป็ นที่นิยมอย่างสูง ด้วย


การจัดกิจกรรมกีฬาที่สร้างความสนุกและ ประสบการณ์ที่น่าตื่นเต้นให้กับนักท่องเที่ยว นอกจากจุดหมาย ปลายทางท่องเที่ยวเชิงกีฬาที่ได้รับ ความนิยมในประเทศไทย ยังมีการแข่งขันกีฬาระดับสากลที่ดึงดูด นักท่องเที่ยวและผู้สนใจกีฬา มากมาย การแข่งขันกีฬาในประเทศไทยได้รับความสนใจอย่างมากในปี พ.ศ. 2564 (กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา, 2564) จงัหวดัภูเก็ตเป็นจงัหวดัหน่ึงที่นกัท่องเที่ยวเชิงกีฬาน้นัตอ้งการจะมา เที่ยวเนื่องจากเป็ นจังหวัดที่มีความหลากหลายทางสภาพแวดล้อมที่เหมาะส าหรับท ากิจกรรมต่าง ๆ ไม่ว่า จะ เป็นกิจกรรมทางน้า หรือกิจกรรมชายหาด (วรวินทุ์ สุวัณ ณ เขมรัฐ, 2547) นอกจากการท ากิจกรรม แล้วจังหวัด ภูเก็ตยังเป็ นจังหวัดที่มีการจัดการแข่งขันระดับโลกหลายรายการเช่นกันไม่ว่าจะเป็ นการ แข่งขัน Laguna Marathon ที่มีการจัดข้ึนทุกปีและการแข่งขนัเรือใบนานาชาติชิงถว้ยพระราชทาน คิงส์คัพ (The Phuket King's Cup Regatta) นอกจากการแข่งขันระดับที่โลกที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว จังหวัดภูเก็ตยังได้มีการจัดการ แข่งขนักีฬาประเภทวิ่งตลอดท้งัปีอีกดว้ยยกตวัอย่างเช่น การแข่งขนั 2 Laguna Marathon การแข่งขัน King of the Mountain และการแข่งขัน Phukethon เป็นต้น จากรายงานทางสถิติของการท่องเที่ยวแห่งประเทศ ไทยพบว่าการจดัการแข่งขนัวิ่ง King of the Mountain ที่จัดโดยธัญญปุระ สปอร์ต แอนด์ เฮลท์ รีสอร์ท มี นักท่องเที่ยวกว่า 700 คนเดินทางมา เพื่อเขา้ร่วมการแข่งขนัน้ีโดยเป็นชาวต่างชาติที่เดินทางมาเพื่อเข้าร่วม รายการน้ีถึง 20 เปอร์เซ็นต์ จากผูเ้ขา้แข่งขนัท้งัหมด (กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2560) นอกเหนือจาก น้นัการแข่งขนัวิ่งรายการ Laguna Phuket International Marathon เป็ นงานมหกรรมกีฬาของจังหวัดภูเก็ต และเป็นงานวิ่ง มาราธอนช้ันน าของประเทศไทย ที่สมาคมวิ่งมาราธอนนานาชาติและการแข่งขันทางเรียบ (IAAF AIMS) รับรองมาตรฐานสนามวิ่งมาราธอนระดบัสากลต้งัแต่เริ่มจดังานในปีแรกจนถึงปัจจุบนัและนกัวิ่ง สามารถนา ผลการแข่งขนัไปคดัเลือกเพื่อเขา้แข่งขนัวิ่งระดบัโลกเช่น บอสตนัมาราธอน หรือโตเกียว มาราธอน เป็ นต้น (ส านักงานจังหวัดภูเก็ต, 2566) จากแนวโนม้ของนกัท่องเที่ยวที่มีความตอ้งการที่เฉพาะเจาะจงมากข้ึน ตามที่ได้อธิบายขา้งตน้ ประกอบกบั ในปัจจุบนัขอ้มูลของกิจกรรมกีฬาและการท่องเที่ยวน้นักระจดักระจายอยู่ ในอินเทอร์เน็ต ท าให้นักท่องเที่ยวต้องเสียเวลาในการค้นหาข้อมูลของกิจกรรมและสถานที่ท่องเที่ยวที่ ต้องการ ไป และในบางคร้ังก็ไม่สามารถคน้หาสถานที่ท่องเที่ยวที่ตรงกบัความตอ้งการของตนเองได้ส่งผลให้เกิดความ ต้องการระบบแนะน าสถานที่ท่องเที่ยวเพื่ออา นวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวเพิ่ม มากข้ึน (Noguera, Barranco, Segura, and MartNez, 2012) ท าให้นักท่องเที่ยวสามารถเลือก สถานที่ท่องเที่ยวได้ตรงตาม ความสนใจของตนเองที่แทจ้ริงไดน้อกเหนือจากน้นัระบบแนะนา ใน ปัจจุบนัน้นั ไม่สามารถใหค้า แนะนา ให้กบั นักท่องเที่ยวที่มีความต้องการที่เฉพาะเจาะจงเหล่าน้ีได้โดย ระบบแนะน าด้านการท่องเที่ยวในปัจจุบันจะ แนะน าให้นักท่องเที่ยวในลักษณะที่คล้ายกัน โดยระบบ แนะน าส่วนใหญ่จะแนะน าเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวในเชิง


ธรรมชาติหรือแนะน าเฉพาะสถานที่ท่องเที่ยวที่ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทวั่ๆ ไป ซ่ึงการแนะน าเหล่าน้ีจึงไม่ สามารถตอบโจทย์ของนักท่องเที่ยวที่มีความ เฉพาะเจาะจงได้ จึงท าให้เกิดระบบแนะน าตามบริบทของ นักท่องเที่ยวข้ึนมา โดยระบบแนะนา เหล่าน้ีได้มีการน าการรับรู้บริบท (context – aware) เข้ามาใช้ในการ วิเคราะห์บริบทของนักท่องเที่ยว (Setten et al., 2004; Schwinger et al., 2009) โดยเมื่อน าการรับรู้บริบท เข้ามาสู่ระบบจะสามารถ ท าให้ระบบสามารถรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวขอ้งกบันักท่องเที่ยวและนา เสนอขอ้มูลให้แก่ นักท่องเที่ยวตาม บริบทของนักท่องเที่ยวได้ซ่ึงท้งัระบบแนะนา และการรับรู้บริบทน้ันต่างถูกสร้างข้ึนมาเพื่อ น าเสนอ ขอ้มูลที่เกี่ยวขอ้งกบัผูใ้ช้เหมือนกัน ดงัน้ันการนา แนวคิดการรับรู้บริบทมาประยุกต์ใช้ในระบบการ แนะน าจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการแนะน านักท่องเที่ยวให้ตรงตามความตอ้งการได้(Setten et al., 2004) ในปัจจุบันมีงานวิจัยได้น าเสนอระบบแนะน าด้านการท่องเที่ยวตามบริบทของ นักท่องเที่ยว ดังเช่น งานวิจัยของ Noguera et al. (2012) ได้มีการน าเสนอระบบแนะน าสถานที่ ท่องเที่ยวตามบริบทและแผนที่ แสดงลกัษณะทางภูมิศาสตร์แบบสามมิติงานวิจยัน้ีได้มีการใช้hybrid recommendation engine ในการ วิเคราะห์บริบทของนกัท่องเที่ยวและวิเคราะห์ถึงสิ่งที่จะแนะนา ให้กับนักท่องเที่ยว และยังได้มีการใช้เทคนิค การค านวณ Distance-based re-ranking ในการค านวณระยะความสนใจของนักท่องเที่ยว ซึ่งมีประโยชน์ อย่างมากในการทา ระบบน้ีแต่อย่างไรก็ตาม งานวิจยัน้ีไม่ไดก้ล่าวถึงการใชอ้อนโทโลยีและการนา กฎมาใช้ใน ระบบแนะน าตามบริบท ซึ่งการน า 3 ออนโทโลยีมาใชใ้นระบบแนะนา ตามบริบทน้นัสามารถสร้างประโยชน์ ให้แก่ระบบแนะน าตามบริบท (Buriano et al., 2006) โดยออนโทโลยีสามารถท าให้การท างานของการ แนะน าเป็ นไปได้แบบ อัตโนมัติผ่านทางเว็บเชิงความหมาย จากประโยชน์ของออนโทโลยีข้างต้นหากน าออน โทโลยีมาใช้ใน ระบบแนะน าจะท าให้ระบบแนะน าสามารถเรียนรู้บริบทของผู้ใช้ในเชิงความหมาย และ สามารถให้คา แนะนา แก่ผใู้ชได้ตรงกับบริบทของผู้ใช้ด้วยการสร้างกฎหรือหลักเหตุผลในการแนะน า ้ 5.การประยกุตใ์ชเ้ทคโนโลยอีินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งร่วมกบัอุปกรณ์เก็บตวัอยา่งฝ่นุตกแบบอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยนเรศวร แหล่งที่มา https://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/5744/3/ChirawatThongkaemkaeo.pdf อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things) หรือ ไอโอที (IoT) คืออุปกรณ์สิ่งของ เครื่องใช้ พาหนะ และสิ่งอา้นวยความสะดวกที่มนุษยส์ร้างข้ึน โดยมีการติดต้งัอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เซ็นเซอร์ และ


ซอฟต์แวร์ ใช้งานร่วมกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่งผลให้อุปกรณ์สามารถจัดเก็บหรือ รับส่งข้อมูลแบบ เรียลไทม์ได้ รวมถึงการใช้เซ็นเซอร์ตรวจสอบสภาพแวดล้อมและควบคุมอุปกรณ์ได้จากระยะไกล ไอ โอทีช่วยให้อุปกรณ์มีประสิทธิภาพ ความแม่นย้า และความสะดวกในการใชง้านเพิ่ม มากข้ึน สามารถ น้ามาประยุกต์ใช้กับงานได้หลายด้าน เช่น ด้านพลังงาน ด้านวิศวกรรม ด้านการ สื่อสาร ด้านการ คมนาคม เป็ นต้น การตรวจวดัฝุ่นละอองในบรรยากาศโดยทั่วไป มีการใช้อุปกรณ์เก็บตัวอย่างฝุ่น ละอองใน บรรยากาศเพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ การเลือกใช้อุปกรณ์เก็บตัวอย่างมี หลากหลายเทคนิคข้ึนอยู่กบัขนาดของฝุ่นละอองการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศอยา่งง่ายโดยใช้ อุปกรณ์เก็บตัวอย่างฝุ่ นตก (Dust fall Jar) วิธีน้ีเป็นการเก็บรวบรวมฝุ่นละอองแขวนลอยในบรรยากาศ ที่ตกลงตามแรงโนม้ถ่วงของโลก อุปกรณ์น้ีสามารถเก็บตวัอยา่ งฝุ่ นละอองได้โดยไม่ต้องอาศัยการไหล ของอากาศผา่นอุปกรณ์โดยขนาดของฝุ่นละอองที่อุปกรณ์น้ีสามารถเก็บไดม้ีต้งัแต่ขนาดใหญ่กว่า 100 ไมครอน ถึงขนาดเล็กสุด 20 – 50 ไมครอน ซึ่งข้อจ้ากัดของอุปกรณ์เก็บตัวอย่างฝุ่ นตก คือ ไม่ สามารถ ท้าการตรวจวัดในช่วงเวลาที่เกิดฝนตกได้เพราะอาจทา้ใหเ้กิดน้า ขังภายในโหลเก็บตัวอย่างฝุ่ น ตกได้ ซึ่ง ส่งผลต่อความแม่นย้า ในการเก็บตัวอย่างฝุ่ นตกและการวิเคราะห์ผล จากข้อจ้ากัดข้างต้นจึงมี2 การ พัฒนาอุปกรณ์เก็บตัวอย่างฝุ่ นตกแบบป้องกันฝนอัตโนมัติโดยใช้พลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่ง อุปกรณ์ดังกล่าวได้มีการพฒันาระบบเปิดปิดฝาครอบโหลเก็บตวัอยา่งฝ่นุตก เพื่อป้องกนัน้า ฝนที่เข้า ไป ขังภายใน มีหลักการท้างาน คือ เมื่อฝนตกเซ็นเซอร์วัดฝนจะส่งข้อมูลให้กับไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อ ควบคุมมอเตอร์ในการเปิ ดปิ ดฝาครอบโหลเก็บตัวอย่างฝุ่ นตกโดยอัตโนมัติในการพัฒนาอุปกรณ์เก็บ ตัวอยา่งฝ่นุตกน้ีไดใ้ชเ้ซ็นเซอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการ ควบคุมการท้างานของอุปกรณ์ ผู้วิจัย จึงเล็งเห็นการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ดังกล่าวร่วมกับเครื อข่าย อินเทอร์เน็ต เพื่อให้การพัฒนามี ประสิทธิภาพและความสะดวกในการท้างานมากข้ึน งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งร่วมกบัอุปกรณ์เก็บตวัอย่างฝุ่นตกแบบอจัฉริยะโดยทา้การติดต้งั โมดูลวดัค่ากระแสไฟฟ้า เซ็นเซอร์วดัค่าพารามิเตอร์การสั่งการ ระยะไกลผ่านแอปพลิเคชันใช้งาน ร่วมกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและแสดงผลข้อมูลสภาพแวดล้อมแบบ เรียลไทม์


6. Blockchain-based Online Review System (ระบบตรวจสอบออนไลน์บนบล็อคเชน) Songkla University แหล่งที่มา https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/18068/1/6230622001.pdf In online review systems, three main problems are possible to be reduced or solved by utilizing blockchain technology. Firstly, the biggest problem in online reviews is the fake review spam problem because it directly declines the trustworthiness of the overall system (Luca and Zervas,2016). Secondly, the reputation score forging problem is conducted by fraudsters in order to increase the credibility of fakeinformation (Mayzlin,et al.,2014). This problem occurs when a fake reviewer posts a review and uses another fake account to give a “helpful” score to the fake review. The last is the review content tampering problem, which was mentioned by many customers (from web https://www.tripadvisor.com/ShowTopic-g1-i12105-k8465871-o60-Review_censorshipTripadvisor_Support.html, 3 March 2021). This problem can be conducted by a hacker or a platform itself. Some posted reviews are edited or removed by others without acknowledgment of the review author and other users. In some cases, platforms inform the review authors with automatic messages for the reasons of review filtering. However, many of them are not sensible. These problems undermine the credibility of online review systems. Additionally, people do not freely express their actual opinion towards the products and services they experienced.A blockchain has been applied to online review systems by a fewcompanies. They aim to improve the trust of online reviews by providing transparentsystems. Additionally, the immutability of a blockchain ensures that posted reviewswill not be changed or removed by hackers and platform providers. The most famous blockchain-based online review platform at the time of writing is Revain (Revain LLP,2018). It is a crypto-community online review platform, which collects reviews aboutblockchain-related services. Revain uses the automatic filtration system to validate andremove suspect reviews. The platform introduces token-based incentives to rewardreviewers. Lina.review is general product review platform (Lina Network, 2019). Peoplecan give scores and provide information about products, such as cars,


houses, movies,computers, and many others, on these platforms. Dentacoin is the first blockchainbased online review system for the dentists (Switch, 2017). All mentioned platforms use similar methods like AI and automatic filtration to manage fake reviews. Theyleverage the value of tokens in the blockchain economy to encourage users to properly interact with the systems. Even though the platforms provide customers with high transparency services, they still have some vulnerability due to lacking best practices of online review providers. Revain does not validate users’ experience towards products or services they mention. Users can rewrite phrases presented on other reviews and create their own reviews (without any actual experiences) to get rewards. Furthermore, the automatic filtering system scopes the real opinion of users.People who have extreme experience with some products or services are inclined topost their experience because they will not pass the filtering process. The blockchainbased online review platforms today still rely on a central authority while they utilize a decentralized technology. The observable advantages of a blockchain in online review systems have not been presented on these projects. Thus, the results are possible to be the same as the centralized online review platforms. 7. A Profit-Maximizing Strategy for Cryptocurrency Arbitrage Songkla University แหล่งที่มา https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/19215/1/6330621002.pdf The primary method of investing in digital currencies is through cryptocurrency trading. Due to the market's great return, more people participate in it. However, volatility is the primary drawback of the cryptocurrency market (Katarzyna 2019). An investor has no prior experience studying the market, he or she may lose money owing to unfavorable market conditions, as well as make an error. Our research investigates DEX market speculation, and the results can help explain why trading in the same or different markets is not always successful. It can help investors who lack investment expertise, according to the conclusions of the research. It can enter and profit while reducing the amount of time


it takes to find a successful market. Some people may panic according to the high amount of money they waste. People commit suicide because of the stress caused by the loss of investment costs. Thus, investigating and introducing lower-risk strategies are crucial for researchers. These studies produced the centralized exchanges (CEX) arbitrage system, which is now widely used. A decentralized exchange (DEX) is a peer-to-peer (P2P) marketplace that connects cryptocurrency buyers and sellers, and it works on the blockchain. On the other hand, Cross-exchange is one strategy that is almost as meaningful as CEX. We change the default exchange from CEX to DEX because theprice fluctuation may not be the same. Thus, to this reason, it is an advantage that allows us to create more arbitrage opportunities. Research has not yet been done on innovations like decentralized exchanges, which came about with larger returns and dangers. In this paper, we investigate how to reduce the use of the "Arbitrage" list approach on DEX. We use and recommend a search tool that is inefficient for the market. The tool automatically determines the listed tokes highest profit route. The suggested technique is used in conjunction with a few well-known DEX platforms to determine which one will yield the highest profits in each row However, we look more closely at the crucial elements influencing arbitrage profit. The findings show that variables like the state of the market and port size have an impact on earnings. More significantly, enlarging the port does not always result in higher earnings.


Click to View FlipBook Version