The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการแข่งขัน-ผสาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by torsorachat, 2019-10-04 08:21:01

คู่มือการแข่งขัน-ผสาน

คู่มือการแข่งขัน-ผสาน

คู่มือการแขง่ ขนั
กิจกรรมการตอ่ คาศัพท์

ภาษาไทย (คาคม)
ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น
คร้ังท่ี 69 ประจาปี 2562

(อพั เดต 10 สงิ หาคม 2562)

1

คูม่ ือการแขง่ ขนั กจิ กรรมการตอ่ คาศพั ทภ์ าษาไทย(คาคม)
ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน ครง้ั ท่ี 69 ประจาปี 2562 (อพั เดต 10 สิงหาคม 2562)

ขอ้ พึงปฏิบตั สิ าหรับคณะกรรมการตัดสิน

1. ก่อนเริ่มการแข่งขนั ให้คณะกรรมการตดั สนิ ช้ีแจงกติกา และระบบการแข่งขันตามเกณฑ์การ
แข่งขันให้ผู้ฝกึ สอน และนักเรียนทเ่ี ขา้ รว่ มแขง่ ขันทราบ

2. การจัดการแข่งขันใหป้ ฏบิ ัตติ ามเกณฑก์ ารแขง่ ขันอยา่ งเคร่งครดั
3. การประกาศลาดับการแข่งขัน และผลประกบค่ใู นแตล่ ะกระดาน คณะกรรมการตัดสิน อาจ
กระทาได้ โดยวิธีการปิดประกาศบรเิ วณสนามแข่งขัน หรือวิธอี น่ื ๆ เพอื่ ความโปร่งใสในการแขง่ ขัน
4. หากมขี ้อติดขดั หรอื มีข้อสงสัยในระหว่างการแข่งขนั สามารถติดตอ่ สอบถาม ผ้ปู ระสานงาน
กจิ กรรมการต่อคาศัพทภ์ าษาไทย ตามรายชื่อท้ายค่มู ือนี้

ขอ้ พึงปฏบิ ตั สิ าหรับผเู้ ขา้ รว่ มการแขง่ ขัน

1. กอ่ นเรม่ิ การแข่งขนั ใหส้ อบถามกติกา และระบบการแข่งขนั จากคณะกรรมการตดั สนิ ใหเ้ ข้าใจ
2. ควรศึกษากติกา วธิ ีการแขง่ ขัน ตามเกณฑ์การแข่งขันใหถ้ ูกต้อง และจัดเตรยี มอุปกรณ์สาหรับ
แข่งขันให้ครบถ้วนก่อนเร่ิมการแข่งขัน โดยสามารถหาข้อมูลเพ่ิมเติมได้จาก Facebook : การต่อคาศัพท์
ภาษาไทย(คาคมเดิม)ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน https://www.facebook.com/groups/164873117370515/
3. เมอื่ นกั เรยี นแขง่ ขันจบในแตล่ ะกระดาน ใหต้ รวจสอบความถูกต้องของคะแนน และผลการแขง่ ให้
ตรงกนั พร้อมลงลายมือชื่อในใบบันทึกผลการแข่งขัน (Master score card) เพื่อยืนยันความถูกต้อง หากเห็น
ว่าผลการแข่งขันไม่ถูกต้องควรรีบแจ้งคณะกรรมการตัดสินก่อนที่จะลงลายมือชื่อใน ใบบันทึกผลการแข่งขัน
(Master score card)
4. หากมขี ้อสงสัยในกติกาการแข่งขนั สามารถตดิ ตอ่ สอบถาม ผปู้ ระสานงานกิจกรรมการต่อคาศัพท์
ภาษาไทย ตามรายชอื่ ทา้ ยค่มู ือน้ี

2

อุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการแขง่ ขัน

1. กระดาน ชอ่ งตา่ งๆบนกระดานแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดังน้ี
1.1 ช่องปกติ คือช่องสาหรับวางตัวเบี้ยพลาสติก เมื่อนาตัวเบ้ียมาวางทับช่องนี้จะได้คะแนนตาม

ค่าของตวั เบี้ยนัน้
1.2 ช่องสาหรับวางสระ หรือวรรณยุกต์ (ช่องเล็กสีเหลือง) ใช้สาหรับวางสระ ท่ีอยู่ด้านบน หรือ

ด้านล่างพยัญชนะ เช่น สระอิ สระอี สระอุ สระอู หรือใส่วรรณยุกต์ ซึ่งสามารถสมมุติสระ และวรรณยุกต์
ดังกล่าวมาเตมิ ได้ เนือ่ งจากไมม่ คี ะแนน แต่ต้องแจง้ ฝา่ ยตรงขา้ มใหท้ ราบทกุ คร้งั ทีส่ มมตุ ิสระ และวรรณยุกต์ขนึ้

1.3 ช่องคะแนนพิเศษ มี 6 ประเภท ดงั น้ี
- ช่องสชี มพู ( 2 เท่าของคา ) หมายถงึ หากมีตัวเบี้ยใดลงมาทับช่องน้ี จะได้คะแนนสองเท่า

ของทั้งคา
- ช่องสีแดง ( 3 เท่าของคา ) หมายถึง หากมีตัวเบี้ยใดลงมาทับช่องนี้ จะได้คะแนนสามเท่า

ของทัง้ คา
- ช่องสีฟ้า ( 2 เท่าของตัวอักษร ) หมายถึง หากมีตัวเบ้ียใดลงมาทับช่องนี้ จะได้คะแนน

สองเท่าของคะแนนตัวเบย้ี ทีล่ งมาทับ
-ช่องสีเขียว ( 3 เท่าของตัวอกั ษร ) หมายถึง หากมีตัวเบ้ียใดลงมาทับช่องนี้ จะไดค้ ะแนน

สามเท่าของคะแนนตวั เบ้ียท่ลี งมาทับ
- ช่องสสี ้ม ( 4 เท่าของตัวอักษร ) หมายถงึ หากมีตัวเบี้ยใดลงมาทับชอ่ งน้ี จะได้คะแนน

สี่เทา่ ของคะแนนตัวเบ้ยี ท่ลี งมาทบั
- ช่องสมี ่วง ( 5 เทา่ ของตวั อกั ษร ) หมายถึง หากมตี ัวเบี้ยใดลงมาทบั ชอ่ งน้ี จะไดค้ ะแนน

หา้ เท่าของคะแนนตวั เบีย้ ท่ีลงมาทบั

2. ตัวเบยี้ แบง่ เปน็ 2 ประเภท คือ

2.1 เบี้ยพลาสติก ประกอบไปด้วยพยัญชนะ และสระที่ใช้เติมหน้าหรือหลังพยัญชนะ เช่น สระอะ

สระอา สระเอ สระแอ สระโอ รวมถึงตัวว่าง ที่สามารถใช้แทนพยัญชนะ หรือสระท่ีใช้เติมหน้าหรือหลัง

พยัญชนะได้ โดยเบ้ยี พลาสตกิ แต่ละตัวจะมคี ะแนนระบุไว้ข้างๆ เช่น ก๑ หมายถึง ก มี ๑ คะแนน เบ้ียพลาสติก

มีจานวนรวมทงั้ หมด มี 104 ตวั ดังน้ี

ก๑ มี 4 ตวั ข๓ มี 2 ตวั ค๒ มี 2 ตวั

ฆ/ซ๖ มี 1 ตวั ง๑ มี 3 ตวั จ๒ มี 2 ตวั

3

ฉ๖ มี 1 ตวั ช๓ มี 2 ตวั ฌ/ษ๘ มี 1 ตวั

ฤ/ฏ๗ มี 1 ตวั ฐ/ฑ๖ มี 1 ตวั ฒ/ณ๗ มี 1 ตวั

ด๑ มี 3 ตวั ต๓ มี 2 ตวั ถ๔ มี 1 ตวั

ท๒ มี 2 ตวั ธ๕ มี 1 ตวั น๑ มี 3 ตวั

บ๑ มี 3 ตวั ป๓ มี 2 ตวั ผ๓ มี 1 ตวั

ฝ๔ มี 1 ตวั พ๓ มี 2 ตวั ฟ๔ มี 2 ตวั

ภ๗ มี 1 ตวั ม๑ มี 3 ตวั ย๑ มี 3 ตวั

ร๑ มี 3 ตวั ล๑ มี 3 ตวั ว๑ มี 3 ตวั

ศ/ฤ๖ มี 1 ตวั ส๓ มี 3 ตวั ห๔ มี 2 ตวั

ฬ/ญ๘ มี 1 ตวั อ๑ มี 3 ตวั ฮ/ฦ๖ มี 1 ตวั

า๑ มี 5 ตวั ำ๒ มี 2 ตวั เ๑ มี 5 ตวั

แ๒ มี 4 ตวั ไ๒ มี 2 ตวั ใ๒ มี 2 ตวั

โ๒ มี 3 ตวั ะ๑ มี 6 ตวั ตวั วา่ ง ๐ มี 4 ตวั

หมายเหตุ
ตวั ฤๅ หรือ ฦๅ นน้ั เน่อื งจาก ๅ ไม่มใี นเบย้ี พลาสตกิ มีเฉพาะ า แต่ผูเ้ ข้าแข่งขันสามารถใช้ตัวว่าง

แทน ๅ ได้ สาหรับเบ้ียพลาสติกที่มี 2 ตัวอักษรในเบี้ยเดียว (ตัวเบ้ียพิเศษ) เช่น ฬ/ญ๘ ผู้เข้าแข่งขันสามารถ
เลือกใช้ตัวอักษรตัวใดตัวหน่ึงในการนาไปลงในกระดานได้ เมื่อเลือกแล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้อีก
ในตาการเลน่ ถดั ไป

2.2 เบี้ยกระดาษ ท่ีเป็นวรรณยุกต์ และสระบางตัวที่เติมด้านบน และด้านล่างพยัญชนะ เบ้ียเหล่านี้
ไมม่ คี ะแนน แต่ใช้ช่วยในการสร้างคาศพั ท์ ผ้เู ลน่ สามารถหยบิ มาเตมิ ได้ หรอื สามารถสมมุติมาใช้ได้ตามทต่ี ้องการ
3. แป้น สาหรับวางตัวเบ้ีย ใช้สาหรับวางเบ้ียพลาสติก โดยผู้เข้าแข่งขันต้องจับตัวเบี้ยจานวน 9 ตัวมา
วางให้เต็มแปน้ เสมอ จนกว่าเบยี้ จะหมดถุง

4

4. ใบบันทกึ คะแนน ใช้สาหรบั บนั ทึกคะแนนในแตล่ ะคาท่ีผู้เข้าแข่งขันต่อคาศัพท์บนกระดาน โดยจะต้อง
บันทกึ คาศัพท์ และคะแนนท้ังของตัวเอง และคู่แข่ง ให้ตรงกันเสมอ ให้ผู้เข้าแข่งขันหม่ันตรวจสอบคะแนนทั้ง
สองฝ่ายให้ตรงกัน ไม่ควรเล่นจนจบเกมแล้วจึงมาสอบถามคะแนนฝ่ายตรงข้าม โดยก่อนทาการแข่งขัน
ทุกเกมผู้เข้าแข่งขันต้องตรวจนับตัวเบี้ยพลาสติกให้ครบ 104 ตัว ตามตัวอักษรท่ีปรากฏในใบบันทึกคะแนน
หลังจบการแข่งขันผู้เข้าแข่งขันสามารถขอถ่ายรูปใบบันทึกคะแนนเพื่อนาไปศึกษาในโอกาสต่อไปได้ ส่วน
ใบบนั ทึกคะแนนตัวจริงให้นาส่งกบั กรรมการพร้อมใบบนั ทึกผลการแขง่ ขนั (Master score card)

5. ใบบันทึกผลการแข่งขนั (Master score card) ใชส้ าหรับบันทึกผลการแข่งขันหลังจบเกมแต่ละเกม
แต่ละทีมจะมีใบบันทึกผลการแข่งขันทีมละ 1 ใบ โดยต้องกรอกชื่อ สกุล โรงเรียน รุ่น พร้อมเบอร์โทรศัพท์
ที่สามารถติดต่อได้ให้ชัดเจน การจัดอันดับการแข่งขันให้พิจารณาจากช่องคะแนนสะสมก่อน หากเท่ากันให้
พิจารณาท่ีช่องผลต่างสะสม หากช่องผลต่างสะสมก็เท่ากันอีก ให้พิจารณาจากผลต่างก่อนการปรับลด
Maximum Difference เชน่ A ชนะ 1 เกม ผลตา่ งเกมท่ี 1 + 255 สว่ น B ชนะ 1 เกม ผลต่างเกมที่ 1 +300
แต่ในใบบันทึกผลการแข่งขันช่องผลต่างสะสม จะกรอกผลต่างสะสมท่ีปรับลดแล้วเท่ากัน คือ +250 ดังนั้นใน
การพจิ ารณาทีมใดมอี นั ดบั ดกี ว่า ใหด้ ทู ี่ผลตา่ งก่อนปรบั ลด ดงั น้ัน B จึงมผี ลการแข่งขันดกี ว่า A

5

วิธีการกรอกใบบันทึกผลการแข่งขนั (Master score card)

๑ ๕6 7 8 9 10



3
4

1. เบอรโ์ ตะ๊ หมายถงึ เลขทน่ี งั่ สาหรับผเู้ ข้าแข่งขนั ในแต่ละเกม โดยกาหนดให้ผเู้ ข้าแข่งขันทไ่ี ด้
หมายเลข 1 แข่งกบั 2 / 3 แขง่ กบั 4 / 5 แข่งกับ 6...ไปเรื่อยๆจนครบทุกทีม

2. ช่อง W T L คือ ช่องสาหรับบนั ทึกผลการแขง่ ขนั ในแต่ละเกม
- ทีมที่ชนะ ใหบ้ ันทกึ ตัว W (เทา่ กบั 2 คะแนน)
- ทีมที่เสมอ ใหบ้ นั ทึกตวั T (เท่ากบั 1 คะแนน)
- ทีมทแ่ี พ้ ให้บันทึกตวั L (เท่ากับ 0 คะแนน)

3. ช่องคะแนนสะสม เป็นช่องที่มีผลตอ่ การจัดอนั ดับการแข่งขนั เปน็ ลาดับแรก โดยทมี ทชี่ นะในแตล่ ะ
เกมจะไดค้ ะแนนสะสม 2 คะแนน และจะต้องสะสมไปในทุกๆเกม เช่น หากแขง่ ขันครบ 6 เกม แลว้ ชนะทุก
เกม จะมีคะแนนสะสม 12 คะแนน หรือหากชนะเพยี ง 2 เกม จะมคี ะแนนสะสม 4 คะแนน

4. ชอ่ งคะแนนท่ีได้ หมายถงึ ช่องสาหรบั บันทกึ คะแนนฝา่ ยตวั เองที่ทาได้ในแต่ละเกม
5. ชอ่ งคะแนนคู่ต่อสู้ หมายถงึ ช่องสาหรบั บันทึกคะแนนฝ่ายคู่แข่งท่ีทาได้ในแต่ละเกม
6. ช่องผลต่างคะแนน ให้นาคะแนนท่ีทาได้ในแตล่ ะเกมของฝ่ายตัวเอง ลบด้วยคะแนนที่ทาได้ในแต่ละ
เกมของฝ่ายคู่แขง่

6

7. ชอ่ งผลต่างสะสม หมายถงึ ช่องสาหรับบนั ทึกผลต่างคะแนน โดยสะสมรวมกบั ผลตา่ งคะแนนจาก
เกมก่อนหน้าไปทกุ ๆเกม ซ่ึงมีผลต่อการจัดอนั ดับทใ่ี นการแขง่ ขันรองจากช่องคะแนนสะสม

8. ช่องเร่ิมก่อนหลงั โดยกาหนดใหฝ้ ่ายทีเ่ รมิ่ ลงคาแรกบนกระดานกรอกเลข 1 ฝา่ ยทเี่ ริ่มลงคาบน
กระดานทหี ลงั กรอกเลข 2

9. ช่องคูต่ ่อสู้ เป็นช่องสาหรับให้ฝ่ายคู่แข่งลงลายมอื ช่ือรับรองผลการแข่งขันในแต่ละเกม
10. ชอ่ งชือ่ สถาบนั คูต่ อ่ สู้ เปน็ ชอ่ งสาหรับกรอกชอ่ื สถาบนั ฝ่ายคูแ่ ขง่

ตวั อย่างการกรอกใบบนั ทกึ ผลการแข่งขนั (Master score card)

เด็กชายพงษ์ภทั ร เกรียงไกร ป.6 1 10
เดก็ ชายศักวิส เตชะก่งิ เพชร ป.6
อนุบาลชัยภมู ิ ชัยภมู ิ

นางธนวรรณ โชตสิ กุล 0910519814

1 3 45
2
6 10 W 2 750 430 +320 +250 1 วิทยา บ้านคนเก่ง 11
1
1 W 4 500 450 +50 8+300 2 นภา วัดสามัคคี
73 L 4 300 301 -1 2 วเิ ศษ อนุบาลขอนแก่น
+299

T 5 400 400 0 +299 2 สามารถ หนองแวงบึงงาม

2 W 7 510 300 +210 +509 1 วิเศษ อนุบาลขอนแก่น

1 W 9 700 690 +10 +519 1 อโณทัย บ้านป่ าแดง

9L 0 200 202 -2 -2 2 วเิ ศษ อนุบาลขอนแก่น
+3 1 วเิ ศษ อนุบาลขอนแก่น
W 2 565 560 +5

1. ผ้เู ขา้ แขง่ ขนั ตอ้ งนง่ั ประจาท่นี ่ังหมายเลข 10 ในการแข่งขนั เกมท่ี 1 และทาการแข่งขันกับทมี ท่ีนัง่
ประจาหมายเลข 9 ( ทมี ท่นี ่ังหมายเลข 1 แขง่ กับ 2 , 3 แข่งกบั 4 ...ไปเรอื่ ยๆ)

2. ทีมเป็นฝ่ายชนะ จงึ กรอก W ในชอ่ ง WTL
3. ทีมท่ชี นะ จะได้คะแนนสะสม 2 คะแนน
4. นาคะแนนฝ่ายตัวเอง 750 ลบ คะแนนฝ่ายคู่แขง่ 430 เท่ากบั ผลต่าง 320 แต้ม

7

5. เม่อื ผลต่างในเกมท่ี 1 ได้ 320 แตม้ ถือว่าเกนิ คะแนนสงู สดุ ทีจ่ ะแพช้ นะกันไดใ้ นแตล่ ะเกม
(Maximum Difference) จึงได้ผลตา่ งสะสม 250 แต้ม ( 250 แตม้ คือจานวนผลต่างที่จะแพช้ นะกนั ได้ใน
แตล่ ะเกม)

6. เม่อื ชนะในเกมท่ี 2 จึงได้คะแนนสะสมบวกเพิ่มอีก 2 คะแนน รวมกับคะแนนสะสมเกมแรก 2 คะแนน
จงึ เปน็ 4 คะแนน

7. ทมี เปน็ ฝา่ ยแพ้ จงึ กรอก L ในชอ่ ง WTL
8. จากเกมที่ 2 มีผลต่างสะสมอยู่ 300 แต้ม เม่ือแพใ้ นเกมที่ 3 ด้วยผลต่าง 1 แตม้ ผลตา่ งสะสมจึงเปน็

300 – 1 = 299 แต้ม
9. ในรอบชิงชนะเลิศ ใหเ้ ริ่มนับคะแนนสะสมใหม่ โดยไม่นาผลการแข่งขันรอบชงิ ชนะเลิศไปรวมกับผลการ

แข่งขันในรอบคัดเลอื ก
10. จากผลการแข่งขันในรอบชงิ ชนะเลิศจะเห็นไดว้ า่ ผลดั กันแพ้ชนะกบั ฝา่ ยคแู่ ข่ง แตเ่ น่ืองจากในเกมชงิ

ชนะเลิศท่ีแพ้ แพ้ดว้ ยผลต่าง 2 แต้ม แต่ชนะด้วยผลต่าง 5 แต้ม ดงั นัน้ ผลต่างสะสมในรอบชงิ
ชนะเลศิ จงึ มี 3 แต้ม ซง่ึ ดีกว่าทีมคู่แข่งท่ี -3 จงึ ทาให้ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1
11. ให้ผเู้ ขา้ แขง่ ขันฝ่ายตรงข้ามลงลายมือช่อื และช่อื สถาบัน การลงลายมือชอ่ื คือการยอมรับผลการแข่งขัน
ในแตล่ ะเกมแลว้ จะไม่มีการแก้ไขผลการแขง่ ขนั ในกระดานน้นั ๆ อีก และใหอ้ ย่ใู นดุลยพินิจของกรรมการ ดังนั้น
หากผู้เขา้ แข่งขนั ยังมีปญั หาในผลการแข่งขันอยู่ ใหร้ บี แจง้ คณะกรรมการเพ่ือแกป้ ัญหาทันที
สามารถ download ใบบนั ทึกคะแนน , ใบบันทกึ ผลการแข่งขนั และเอกสารทจี่ าเป็นอ่ืนๆ ไดท้ ี่
facebook : การต่อคาศพั ทภ์ าษาไทย(คาคมเดิม)ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น
ลิงค์ : https://www.facebook.com/groups/164873117370515/

6. นาฬกิ า

ปุม่ กดสาหรับ
เปล่ยี นตาการเล่น

ปุ่มกดสาหรับหยดุ
เวลาทัง้ 2 ฝ่าย

8

ในการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปี 2562 กาหนดให้ผู้เข้าแข่งขันต้องใช้นาฬิกาจับเวลา หรือแท็บ
เล็ตพซี ี หรือ สมาร์ทโฟนในการจับเวลา โดยกาหนดเวลาให้ฝ่ายละ 22 นาที รวมสองฝ่าย 44 นาที หากมีการ
ใช้เวลาเกิน จะต้องติดลบนาทีละ 10 คะแนน โดยเศษของนาทีคิดเป็น 1 นาที และหากใช้เวลาจนติดลบ
รวมกันท้ังสองฝ่าย รวมเวลาแข่งขันเกิน 60 นาที ให้คณะกรรมการทาการตัดเกม ให้จบเกมแข่งขันในเกมน้ันๆ
โดยการตดั เกมจะตอ้ งใหผ้ แู้ ข่งขันฝ่ายท่เี ริ่มลงคาบนกระดานทีหลงั เป็นฝ่ายได้ลงคาสุดท้ายก่อนที่จะตัดเกม และ
ให้นาคะแนนตัวเบี้ยท่เี หลืออย่บู นแป้นของแตล่ ะฝา่ ย มาหักลบกบั คะแนนที่แตล่ ะฝา่ ยทาไดใ้ นเกมนนั้

ตัวอยา่ ง

- ฝ่าย A มคี ะแนน 650 คะแนน ใช้เวลาติดลบ 10 นาที เหลือเบี้ยบนแป้น 4 ตวั
คอื ห4 ส3 ค2 อ1 โดยเปน็ ฝา่ ยได้ลงคาแรกบนกระดาน

- ฝ่าย B มคี ะแนน 580 คะแนน ใชเ้ วลาตดิ ลบ 7 นาที เหลือเบ้ยี บนแป้น 7 ตัว
คือ ก1 ร1 ะ1 จ2 า1 ย1 พ3 โดยเปน็ ฝ่ายได้เร่มิ เลน่ บนกระดานทหี ลัง

จะเห็นได้ว่าเวลาของฝ่าย A และฝ่าย B ใช้เวลาฝ่ายละ 22 นาทีแล้วจนครบแล้ว และติดลบเวลา เม่ือ
รวมเวลาทั้งสองฝ่ายท่ีใช้ฝ่ายละ 22 นาที เป็น 44 นาที บวกกับเวลาท่ีติดลบ A 10 นาที B 7 นาที จะได้
44+10+7 = 61 นาที เห็นได้ว่าเกิน 60 นาทีแล้ว ให้กรรมการดาเนินการตัดเกมเมื่อพบ หรือผู้เข้าแข่งขันแจ้ง
ให้ทราบ โดยตอ้ งให้ B เปน็ คนลงคาสุดทา้ ยก่อนจะตดั เกม

จากตัวอย่าง หาก B ลงคาว่า กระจาย ได้ 47 คะแนน เม่ือนามารวมกับคะแนนท่ีมีอยู่เดิม
580 คะแนน และลบกับคะแนนตัวเบี้ยท่ียังเหลืออยู่บนแป้น คือ พ3 และลบกับคะแนนเวลาที่ติดลบอีก 7 นาที
เทา่ กับ 70 แต้ม จะได้ 47 + 580 – 3 – 70 = 554 คะแนน

ส่วน A เดิมมีอยู่ 650 คะแนน ลบกับคะแนนตัวเบ้ียท่ีเหลืออยู่บนกระดาน 4 ตัว คือ ห4 ส3
ค2 อ1 เทา่ กบั 10 คะแนน ลบกับคะแนนเวลาทต่ี ิดลบอกี 10 นาที เท่ากับ 100 แต้ม จะได้
650 – 10 – 100 = 540 คะแนน

ดังนัน้ ในเกมนี้ B จงึ เปน็ ฝา่ ยชนะไปดว้ ยคะแนน 554 - 540 = 14 คะแนน

การกดหยุดนาฬิกา
ผู้เข้าแข่งขันจะกดหยุดเวลาท่ีนาฬิกาจับเวลาเฉพาะในกรณีที่ขอตรวจคาศัพท์ หรือตรวจสอบคะแนน
ระหวา่ งแขง่ ขนั ใหต้ รงกนั เทา่ นัน้ หากคณะกรรมการตรวจพบว่าผู้เข้าแข่งขันจงใจกดหยุดเวลาในกรณีอื่นๆ โดย
เจตนาเพิม่ เวลาในการแขง่ ขัน หรือลมื กดนาฬกิ าจบั เวลาให้เวลาเดิน ไมใ่ ห้นาเวลาทเ่ี พ่ิมมานั้นมาใช้ในการแข่งขัน
ในเกมน้ันอีก โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการที่จะดาเนินการแข่งขันให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และ
ไม่ลา่ ช้า

9

การเรมิ่ เกม

1. ให้เชค็ ตัวเบย้ี พลาสติกตรวจสอบให้ครบ 104 ตัวแล้วใส่ไว้ในถุง ผู้เล่นควรอ่านกฎกติกาให้ละเอียด
และเตรียมปากกา กระดาษบันทึกคะแนนเพ่อื ทาการบักทึกคะแนนทที่ าได้

2. ผู้เล่นท้งั สองฝ่ายต่างจับตัวเบี้ยข้นึ มาฝา่ ยละ 1 ตวั โดยเรยี งความสาคญั ของตวั เบี้ยดังนี้
ตวั ว่าง ได้เรมิ่ เล่นกอ่ น
ตัวอักษร เรียงตามลาดับในพจนานุกรม ก, ข, ค, …, ฮ หากเบ้ียน้ันมี 2 ตัวอักษร ให้ยึด

ตวั อักษรท่มี ากอ่ น
ตัวเบย้ี ทีเ่ ป็นสระ หากทั้งสองฝ่ายจับได้เบย้ี สระไม่ว่าจบั ได้สระอะไรกบั อะไรใหจ้ ับใหม่

เช่น จบั ได้ สระ อะ กับ สระ อา แม้จะเป็นคนละสระกันก็ให้จบั ใหม่
ถ้าจบั ได้ตวั เบี้ยซ้ากันให้จบั ตวั เบี้ยใหมไ่ ปเรื่อยๆ จนกว่าจะไดผ้ ู้ทเ่ี ริม่ เล่นกอ่ น

3. กาหนดให้ผ้เู ลน่ จบั ตัวเบย้ี ในถงุ ขน้ึ มาฝ่ายละ 9 ตวั วางบนแปน้ เม่ือผเู้ ลน่ จบั ตวั เบย้ี ขึ้นมา และ
หงายตัวเบีย้ ดูให้เริม่ จบั เวลาทันที (ไมต่ ้องรอใหจ้ ับตัวเบย้ี ครบ 9 ตวั ก่อนจึงจับเวลา) โดยผใู้ ดเรมิ่ ก่อนจะเป็นผู้
จับตัวเบ้ยี ก่อนจนครบ ฝ่ายเรมิ่ ทีหลังจงึ จะมสี ิทธจิ์ บั ตัวเบ้ีย

4. ผู้เล่นคนแรกจะต้องต่อคาศัพท์ท่ีประกอบด้วยพยัญชนะ 1 ตัว ผสมกับสระหรือพยัญชนะอีก 1
ตัวอักษร เช่น กา , กก , หู ให้เป็นคาในภาษาไทยลงบนกระดานในแนวนอนหรือแนวตั้ง โดยมีตัวอักษร
ตัวใดตวั หนึง่ ของคาทับอยู่บนช่องกลางกระดาน (ช่องคะแนนพิเศษสีชมพู 2 เท่าของคา) ดังนั้นคาแรกท่ีลงจะได้
คะแนนเปน็ 2 เทา่ จากชอ่ งสีชมพูน้ี สาหรบั เบีย้ กระดาษน้ันผู้เล่นสามารถเลือกมาช่วยประกอบเป็นคาได้เสมอใน
ทุกตาทเี่ ล่น

5. ผ้เู ลน่ คนแรกเม่อื ต่ออกั ษรเสร็จแล้ว จะจับตัวเบ้ียในถุงขนึ้ มาแทนเท่ากับจานวนตัวเบ้ยี ทใ่ี ช้ไป จากนั้น
จะเป็นตาเล่นของผู้เล่นคนท่ีสอง ซ่ึงจะต้องต่อตัวเบ้ียท่ีลงเล่นอย่างน้อย 1 ตัว สัมผัสกับตัวเบ้ียเดิมท่ีมีอยู่ใน
กระดานแล้ว จากนั้นจงึ คิดคะแนนตามคาใหม่ท่ีเกดิ ข้ึนทุกคาจากการตอ่ และแตล่ ะตาการเล่นผู้เล่นจะต้อง ลง
ตัวเบ้ยี ในแนวใดแนวหนึง่ ให้ตอ่ กันเทา่ น้นั

การลงคาศพั ทบ์ นกระดานแบบต่างๆ
- การลงคาบนกระดานน้นั ลงได้คร้ังละ 1 คา เทา่ น้ัน โดยเลอื กวา่ จะลงในแนวตง้ั หรือแนวนอน
เพยี ง 1 แนว ตอ่ การลง 1 คร้ัง และหากลงคาใหม่ไปผสมกบั คาเกา่ บนกระดานแลว้ เกดิ คาใหมข่ นึ้ มากกวา่
1 คา สามารถนบั คะแนนคาท่เี กดิ ขึ้นใหม่ทงั้ หมดนน้ั ได้
- วิธกี ารตอ่ ตัวอกั ษรตั้งแต่ 1 ตวั หรอื มากกว่า กบั คาหรือตัวอกั ษรเกา่ ทมี่ ีอยบู่ นกระดานอย่แู ล้ว

ด1 า1 ร1 า1 ป3
ด1 า1 ร1 า1

อ1
ท2

10

จากภาพ ดารา เป็นคาเกา่ บนกระดาน ลง ป , อ , ท ไปเช่อื มกับ ร ตวั เก่าบนกระดาน เกดิ คาวา่
ปรอท เปน็ คาใหม่ จะไดค้ ะแนนคาวา่ ปรอท และยกตวั เบ้ีย ด , า , า ออกไปจากกระดาน

- ต่อในแนวนอนหรือแนวต้ัง โดยมีตัวอักษรตัวใดตัวหน่ึงสัมผัสหรือเพิ่มเขาไปในคาที่มีอยู่บนกระดาน
และก่อให้เกดิ คาใหม่หลายๆ คา

ด1 า1 ร1 า1 ก1 อ1 ง1
ด1 า1 ร1 า1

จากภาพ คาเดิม คือคาวา่ ดารา เป็นคาเก่า ลงคาวา่ กอง เพยี ง 1 คา ในแนวนอน ไปเช่ือมกบั ร
และสระ า เกดิ คาใหม่คาว่า กอง กร อา จะได้คะแนนของทัง้ สามคา เม่ือนับคะแนนเสรจ็ แล้วใหน้ าคาวา่
ดารา ซึ่งเป็นคาเกา่ ออกไปจากกระดาน

- วิธีแทนทต่ี ัวอักษรเก่าบนกระดาน สามารถแทนท่ีไดเ้ พียง 1 ตวั และตัวอักษรทน่ี าไปแทนทตี่ ้องไม่
ซา้ กบั ตวั อักษรเก่าบนกระดาน โดยสามารถแทนทเี่ พียงตาแหน่งเดยี วแล้วพอ หรอื จะต่อมากกว่า 1 ตัวอักษร
ก็ได้ หากจะต่อมากกวา่ 1 ตัวอักษร ต้องต่อคาให้เปล่ียนเปน็ แนวตรงข้ามกับคาเกา่ บนกระดาน คะแนนจะได้
จากทัง้ สองคาท่เี กิดขึ้นใหมจ่ ากการเลน่ เช่น

ท3 อ1
ด1 า1 ก1
ด1 อ1 ก1
ย1

แทนที่ 3 ด้วยสระ า ลงคาวา่

จากภาพ ดอก เป็นคาเก่าในแนวนอนบนกระดาน ลงแบบแทนทต่ี ัวอักษร โดยนาสระ า แทนที่ อ
โดยสามารถตอ่ แค่น้ีแลว้ พอ หรือจะต่อเพ่ิมในแนวตรงข้ามเป็นคาว่า ทาย เพ่อื คะแนนที่จะไดม้ ากขึน้ จาก
ทั้งสองคา คอื คาว่า ดาก และ คาว่า ทาย โดยเมือ่ ลงคาวา่ ทาย แล้ว ใหน้ า ด และ ก ออกจากกระดาน
เพราะเปน็ คาเก่า

11

การลงคาศัพท์บนกระดานในตาแรก หรือหลงั จากผา่ นฝา่ ยละ 3 คร้ัง สามารถลงพยัญชนะ 1 ตัว ผสม
กบั สระบน สระล่าง หรือ สระอิ สระอี สระอุ สระอู ได้ โดยใช้เฉพาะการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียนเท่านั้น
เช่น ลงคาว่า หู ท่ีกลางกระดาน และเมื่อลงแล้วฝ่ายตรงข้ามสามารถใช้วิธีการแทนท่ีตัวอักษรได้ โดยแทนใน
แนวต้งั หรือแนวนอนก็ได้

- ต่อแบบเพิม่ คาโดยการต่อหวั หรือทา้ ยในคาเดมิ และทาให้คาเดิมนน้ั กลายเป็นคาใหม่ข้ึนมา

ก1 า1 ก1 า1 ง1 เ1 ก1 ง1

จากภาพ กา เป็นคาเก่า ลง งเกง ต่อท้าย กา เกิดคาใหม่ คาว่า กางเกง ในกรณีน้ีจะได้คะแนน
คาวา่ กางเกง และไมต่ ้องนาตัวอกั ษรตวั ใดออกจากกระดานในตาการเลนนี้
- ในกรณีคาบนกระดานมีวรรณยุกต์หรือสระซ่ึงเป็นเบ้ียกระดาษวางอยู่บนหรือล่างคานั้น ผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม
ไม่สามารถนาวรรณยุกต์ หรือสระน้ัน ออกจากกระดานได้ เว้นแต่จะลงตัวเบี้ยตัวใหม่แทนที่ตัวเบ้ียเก่าที่มี
วรรณยุกต์ หรอื สระบน หรอื ล่างตวั อกั ษรนน้ั สระบนล่างและวรรณยุกต์จะตดิ ออกไปด้วย

จากภาพ คาเก่า คือคาว่า ฎีกา อยู่ในแนวนอน ลง ผ แทนที่ ฎี ถูกต้องตามกฎการแทนที่ คือ
แทนทต่ี วั เกา่ ได้ 1 ตัว และสามารถต่อเพ่ิมมาในแนวตรงข้าม เพ่ือจะได้คะแนนเพิ่มมากข้ึนได้ โดยใส่ อ ด้านล่าง
ผ เกิดเป็นคาว่า ผอ ในแนวตั้ง (ซ่ึงคาว่า ผอ ไม่มีในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานปี 54) หากฝ่ายตรง
ข้ามไม่ขอตรวจคาศัพท์ ก็สามารถนามาลงได้ และได้คะแนนจากคาว่า ผอ และ ผกา ท้ังสองคา แต่หากฝ่าย
ตรงข้ามขอตรวจคาศัพท์ จะต้องยกคาว่า ผอ ขึ้นแป้น และจะไม่ได้คะแนนทั้งจาก ผอ และผกา สามารถศึกษา
กฎการขอตรวจคาศพั ทไ์ ด้หัวข้อการขอตรวจคาศพั ท์ (Challenge)

12

การคานวณคะแนน

1. คะแนนท่ีไดจ้ ะเกดิ จากคาที่เกดิ ข้ึนใหม่ทุกคาในการเล่น (ซึ่งอาจจะเปน็ การแทนหรือเพิ่มตัวอักษร, การ
เปล่ยี นคาเดมิ เป็นคาใหม่คะแนนแต่ละคร้งั จะเทา่ กบั คะแนนตัวอักษรท่ีเลน่ ของคาที่สรา้ งขน้ึ ใหมค่ ดิ รวมกับช่อง
พิเศษต่างๆ ทต่ี วั อกั ษรที่ลงเล่นวางทับช่องนัน้ ๆ

2. ถ้าผเู้ ล่นลงคาโดยมตี ัวเบี้ยตัวใดตวั หนงึ่ ในคา ทบั ชอ่ งคะแนนพเิ ศษ ใหเ้ พ่มิ ค่าของตวั เบ้ยี แต่ละตัวตามท่ีชอ่ ง
คะแนนพิเศษนัน้ กาหนด

ตวั อย่าง ผูเ้ ลน่ ลงคาว่า “เนรมติ ” ซง่ึ มี “ต3” ทับช่องสีชมพู (2 เท่าของคา) และตัว “น1” ทบั ช่อง
สีเขยี ว (3 เทา่ ของตัวอักษร) ตามกฎของการนับคะแนนจะได้คะแนนเปน็ ดงั นี้

[ (เ) 1 + (น) 1 แตม้ คูณ 3 เทา่ ของตวั อักษร + (ร) 1 + (มิ) 1 + (ต)3] x 2 = 18 คะแนน

3. เมอื่ คาสองคาขึน้ ไปถกู สร้างในการเลน่ คร้ังเดยี วกัน คาแตล่ ะคาทีเ่ กดิ ขน้ึ ใหม่จะถูกคิดคะแนน โดยตวั อักษรท่ี
ทบั ช่องพิเศษจะถูกคดิ คะแนนสาหรับคาแตล่ ะคา

4. ชอ่ งคะแนนพเิ ศษ

จะได้คะแนนจากช่องคะแนนพิเศษ เฉพาะการลงตวั เบย้ี ใหม่ทับทชี่ ่องคะแนนพิเศษเทา่ นั้น (หากตวั เบี้ย
ที่ทบั ช่องคะแนนพิเศษ เป็นส่วนประกอบของหลายๆคา ทุกๆคาทีเ่ กิดขึน้ กจ็ ะได้คะแนนจากชอ่ งคะแนนพเิ ศษ
ดว้ ย) เชน่ เดิมคาวา่ ก1 า1 อยบู่ นกระดานในแนวนอน โดย ก ทบั ท่ชี ่อง 5 เท่าของตัวอักษร (สมี ว่ ง) หาก
ฝา่ ยตรงขา้ มใช้วิธีลงแบบแทนที่ตวั อกั ษรเกา่ บนกระดาน โดยนา ข3 มาแทนท่ี ก การคดิ คะแนนของ ข
จะต้องนาคะแนนของเบีย้ ข3 x 5 = 15 คะแนน + สระ อา 1 คะแนน รวมเปน็ 16 คะแนน

และหากต่อ ด เพิ่มในแนวตรงข้าม ตามกฎการแทนทีต่ วั อักษร คือ สามารถต่อเพมิ่ ในแนวตรงขา้ มกบั

คาเก่าได้ จะคิดคะแนนดงั น้ี คาว่า ขา > ข3 x 5 = 15 คะแนน + สระ อา 1 คะแนน รวมเปน็ 16 คะแนน

คาวา่ ขด > ข3 x 5 = 15 คะแนน + ด 1 คะแนน รวมเปน็ 16 คะแนน ดงั นนั้ จะไดค้ ะแนนในตาการเลน่ น้ี

32 คะแนน ก1

ก1 า1 ข3 า1
ด1

13

แตห่ ากไม่มีการทบั ช่องคะแนนพิเศษ เพียงแตล่ งคาใหม่ไปเชอ่ื มกบั ตัวอกั ษรเกา่ ท่ีทบั ช่องพเิ ศษอยู่แลว้
จะไม่ไดค้ ะแนนจากช่องคะแนนพเิ ศษ แต่จะไดเ้ พียงแค่ตวั ตวั อักษรเก่าเท่าน้ัน

หมายเหตุ
ตวั เบยี้ ทเี่ ป็นวรรณยุกต์ ถอื เป็นตัวช่วยในการเล่น ไมม่ ีคา่ และผลใดๆ ต่อการคดิ คะแนน

การจบเกม

1. การจบเกมแบบปกติ เม่ือตัวเบี้ยในถุงหมดแล้ว หากผู้เล่นฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงสามารถลงตัวเบี้ยบนแป้นหมด
ก่อน ให้ถือว่าจบเกมทันที และนาแต้มของตัวเบ้ียบนแป้นของฝ่ายตรงข้ามคูณ 2 นาไปบวกให้กับผู้เล่นท่ี
ลงเบ้ยี หมดกอ่ น (เกมจบทนั ที)
2. หากทัง้ สองฝ่ายไมม่ คี ะแนนติดต่อกนั ฝา่ ยละ 3 คร้ัง ให้นาคาบนกระดานคาล่าสุดออกจากเกม แล้วให้ฝ่ายท่ี
ไม่ได้ลงคาดังกล่าวได้เร่ิมเล่นท่ีกลางกระดาน หากไม่สามารถลงได้อีก ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เป็นฝ่ายเร่ิมเล่นที่กลาง
กระดานแทน หากทัง้ สองฝา่ ยไมส่ ามารถลงได้ ให้จบเกม โดยนาคะแนนตัวเบี้ยที่เหลือบนแป้นของแต่ละฝ่ายลบ
คะแนนของตนเอง
3. หากครบ 60 นาทีแล้ว ยังไมม่ ีผเู้ ลน่ ฝา่ ยใดฝ่ายหนงึ่ ลงตวั เบย้ี หมดก่อน ให้กรรมการตัดเกม โดยให้ผู้เล่นฝ่ายที่
เร่ิมลงคาบนกระดานทหี ลัง เปน็ ฝ่ายได้ลงคาสุดท้ายก่อนที่จะตัดเกม และให้นาคะแนนตัวเบี้ยท่ีเหลืออยู่บนแป้น
ของแตล่ ะฝ่าย มาหกั ลบกบั คะแนนทแ่ี ตล่ ะฝ่ายทาไดใ้ นเกมนั้น

กฎกตกิ าเพม่ิ เตมิ ในการเลน่

1. การบิงโก (Bingo)
ผูเ้ ล่นทส่ี ามารถใช้ตวั อักษรต้ังแต่ 6 ตัวเบี้ยข้ึนไป จากแป้นของตนเอง ภายในตาเล่น 1 ตา จะได้รับ

คะแนนพิเศษเพ่ิมจากคะแนนปกตดิ ังนี้

จานวนตวั เบีย้ ท่ีลง คะแนนพเิ ศษ
6 ตัวอักษร 40 คะแนน
7 ตวั อักษร 50 คะแนน
8 ตัวอักษร 70 คะแนน
9 ตัวอกั ษร 90 คะแนน

14

2. การเปลยี่ นตวั
เม่ือผู้เล่นไม่พึงพอใจหรือไม่สามารถลงตัวเบี้ยใดๆ ได้ สามารถขอเปล่ียนตัวเบ้ียในแต่การเล่นของ

ตนเอง จานวนก่ีตวั ก็ไดโ้ ดยเปลยี่ นได้กต็ อ่ เมื่อตวั เบยี้ ในถงุ มีไมน่ ้อยกวา่ 9 ตัว แตจ่ ะตอ้ งเสียตาการเล่นตาน้นั

3. การขอตรวจคาศัพท์ (Challenge)
เมื่อผู้เล่นเห็นว่าศัพท์ท่ีฝ่ายตรงข้ามลงผิด สามารถขอตรวจคาศัพท์ได้ต่อเมื่อฝ่ายที่ลงคาศัพท์ขานแต้ม

และกดนาฬิกาให้เวลามาลดฝ่ายที่จะขอตรวจคาศัพท์แล้ว โดยให้ขอตรวจคาศัพท์ก่อนท่ีฝ่ายตรงข้ามจะจับตัว
เบ้ีย หรือหากต้องการขอเวลาพิจารณาว่าจะขอตรวจคาศัพท์หรือไม่ ให้ขอ Hold ได้ โดยมีเวลาในการ
พิจารณาไม่เกิน 1 นาที วิธีการขอตรวจคาศัพท์ให้กรอกคาที่ต้องการตรวจในแบบฟอร์ม และส่งให้
คณะกรรมการตรวจสอบให้ หากปรากฏว่าคาที่ลง ไม่มีในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 54 หรือเป็น
คาท่ีไมน่ ามาใชใ้ นการแข่งขนั ตามเกณฑก์ ารแขง่ ขนั ให้ฝ่ายทีล่ งคาดงั กลา่ วเก็บตัวเบี้ยท้ังหมดที่ลงเก็บกลับไปบน
แปน้ และจะเสียตาการเล่นนน้ั ไปโดยถือว่าฝ่ายนน้ั ลงผดิ จะได้ 0 คะแนนจากการลงครงั้ นน้ั

แตถ่ า้ ปรากฏว่าคาศัพท์น้ันมีความหมาย และถูกต้องแล้ว ฝ่ายท่ีขอตรวจคาศัพท์จะเป็นฝ่ายเสียตาการ
เล่น 1 ตาแทน (ผู้ท่ีขอตรวจศัพท์อาจขอตรวจคาศัพท์คาใดคาหน่ึงหรือทุกคาที่เกิดจากตาการเล่นนั้นๆ ก็ได้
ซ่ึงผู้ที่ลงคาศัพท์เหล่านั้นจะได้คะแนนก็ต่อเมื่อคาศัพท์ท่ีถูกขอตรวจทุกคา มีในหนังสือพจนานุกรม ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554)

การขอตรวจคาศัพท์จะไม่สามารถทาได้ หากฝ่ายที่ต้องการตรวจคาศัพท์นั้น ทาการจดคะแนนแล้ว
หรอื ฝา่ ยตรงข้ามจบั เบ้ียเข้ามาเติมบนแป้นแล้ว

4. การ Hold คือการขอพิจารณาว่าจะขอตรวจคาศัพทห์ รือไม่
หากสงสัยว่าคาศัพท์ที่ฝ่ายตรงข้ามลงนั้นผิด ไม่มีในพจนานุกรมฯ ผู้เล่นสามารถขอ Hold เพื่อ

พิจารณาก่อนจะตัดสินใจ Challenge ได้ โดยจะมีเวลา 1 นาที ในการพิจารณาและจะต้องทาทันทีหลัง
ฝ่ายตรงข้าม ขานคะแนน และกดนาฬิกาให้เวลามาลดฝ่ายผู้ขอ Hold ในระหว่างพิจารณานี้เวลาจะลดไป
เรอ่ื ยๆ โดยไมม่ กี ารกดหยดุ เวลา

5. การ Rechallenge
เมื่อผู้เล่นไม่พอใจผลของการขอตรวจคาศัพท์ Challenge สามารถขอตรวจคาศัพท์ครั้งที่สอง

Rechallenge ได้เพ่ือให้คณะกรรมการร่วมกันตัดสิน แต่ผู้เล่นจะต้องขอตรวจคาศัพท์คร้ังที่สองทันทีหลังจากที่
ทราบผลการตรวจคาศัพท์ครัง้ แรก

6. การจบั ตัวเบีย้ เกิน
ใหผ้ ู้เล่นฝา่ ยตรงข้ามจบั ตัวเบี้ยบนแป้นของผเู้ ลน่ ท่ีจับเกนิ เปิดออกดู โดยสามารถจับตัวเบ้ียเปิดดูได้ตาม

จานวนตัวเบ้ียที่จับเกิน บวก 2 เช่น A จับเบ้ียเกินจานวน 3 ตัว ให้ฝ่ายตรงข้ามจับเบี้ยบนแป้นของ A เปิดดู
5 ตัว ( จานวนทีเ่ กินคอื 3 บวก 2 = 5 ) แล้วเลอื ก 3 ตวั ใส่ลงถงุ

15

7. การเร่ิมเลน่ ใหม่ในกรณีไมล่ งคาตดิ ต่อกนั
หากผเู้ ลน่ ทั้งสองฝา่ ยไมล่ งคาเลย ฝ่ายละ 3 ตาการเล่น ติดต่อกัน ให้ผู้เล่นฝ่ายท่ีไม่ได้ลงคาล่าสุดบน

กระดาน เร่ิมลงคาใหม่ที่ช่องสีชมพูกลางกระดาน เหมือนกับการเร่ิมต้นเล่นใหม่จะไม่มีการตัดจบเกม
เหมือนกบั ครอสเวิร์ด และเอแมท็

8. การเสมอกนั
กรณที ่มี ีผเู้ ล่นทัง้ สองฝ่ายทาคะแนนได้เท่ากันเม่ือจบเกมแล้วจะต้องเรียกกรรมการมาตรวจสอบ หากไม่

ปฏิบตั ิและไม่สามารถยืนยนั คะแนนไดจ้ ะปรับแพ้ 100 คะแนนทง้ั สองฝ่าย

9. การมาสาย
ในทุกเกม ให้คณะกรรมการนัดเวลาทาการแข่งขันในแต่ละเกม เม่ือถึงเวลาแข่งขันให้ผู้เล่นเร่ิมกด

นาฬิกาจบั เวลาหากผูเ้ ล่นฝา่ ยตรงข้ามมาเข้าแขง่ ขันช้ากว่าที่กาหนด และหากมาช้ากว่า 15 จะถือว่าผู้เล่นแพ้
บาย ( bye ) - 100 คะแนน ในการแข่งขันกระดานนั้น และผเู้ ล่นฝ่ายตรงข้ามชนะบาย( bye) 100 คะแนน

สอบถามกติกา และวิธีการจดั การแข่งขนั เพิ่มเตมิ ได้ที่

นางกลุ วดี บงแก้ว 089-941-5256 นายณฐพงศ์ วงศ์ทศิ ลักษณ์ 094-2794189
นายศิกวสั กร่ิงสนั เทยี ะ 091-051-9815 นายวงศพ์ ราหมณ์ วงศจ์ าปา 091- 828-1205
นายไพบูลย์ ณ เชียงใหม่ 062-626-9889 นางสาวศริ ริ ักษ์ ยศปญั ญา 064-4084109
นางลีลา จามะเทวี 083-033-8964 นางสาวปรียาลกั ษณ์ พงษ์อยู่ 094-634-5559
นางพิชาวีร์ อมรรตั นปญั ญา 085-7107535 นางสาวมนัดดา จติ นกุ ูล 063-080-1214
นางสาววรารตั น์ บุปผา 082-9635718 นางสาววรรษดิ า จติ ประพันธ์ 086-365-2718
นางสาวทศพร ยอแซ 088-9548-492 นายฐานนั ดร จูทิม 082-2922138
นางสาวกาญจนา พิจารย์ 097-2199020 นายสุวัชชยั กระทอง 086-997-7430


Click to View FlipBook Version