The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฐมนิเทศผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนประภัสสรวิทยา ชลบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pbsschoolchon, 2022-05-20 23:20:23

คู่มือปฐมนิเทศผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2565

คู่มือปฐมนิเทศผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนประภัสสรวิทยา ชลบุรี

คู่มือผ้ปู กครอง ปกี ารศกึ ษา 2565

โรงเรียนประภสั สรวทิ ยา ชลบรุ ี

PRABHASSORN VIDHAYA CHONBURI SCHOOL (PBS)

มาตรฐานดี กจิ กรรมเดน่ เน้นวนิ ยั

สปี ระจำโรงเรยี น ขำว – แดง

80/90 หมู่ 3 ถ.สุขุมวทิ ต.เสม็ด อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000

Tel: 0-3827-6890-5 , Fax: 0-3878-3314 , www.pbs.ac.th , @pbsvid

pbsvid , pbsschool , pbs_school

สารบญั หน้า

ทิศทางการบรหิ ารจัดการศึกษา
ประกาศเร่ืองอตั ราคา่ ธรรมเนยี มประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๒-๓
ประกาศเร่อื งการดำเนนิ การให้เงนิ อดุ หนนุ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ ๔-๕
งานบรกิ ารรถรับ – สง่ นกั เรยี น ๖-๗
การบริหารธุรการการเงิน
การประกันอุบตั เิ หตนุ ักเรยี น ๘
การบริหารหลักสตู รและงานวิขาการ ๙
โครงสรา้ งเวลาเรยี น ๑๐–๑๕
การวดั และประเมนิ ผล ๑๖–๑๙
การบริหารงานฝ่ายสง่ เสรมิ การศกึ ษา ๒๐–๒๕
ระเบยี บว่าดว้ ยเรอื่ งการแต่งกาย ๒๖
ระเบยี บว่าดว้ ยเรื่องการเวลาการมาเรยี น ๒๗–๓๒
ระเบยี บว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธตี ดั คะแนนความพฤตนิ กั เรยี น ๓๓-๓๔
ระเบยี บว่าดว้ ยการใช้โทรศพั ทเ์ คลื่อนทแี่ ละเครอ่ื งมือสอื สารทุกชนดิ ๓๕-๓๘
๓๙-๔๐

ตราโรงเรียน ๑

โรงเรียนประภัสสรวิทยา ชลบรุ ี
อักษรย่อ ป.ภ.ส. เป็นสัญลักษณ์แทนชื่อโรงเรียนประภัสสรวทิ ยาซึ่งประกอบด้วยป.ภ.ส. เขียน
ไขว้กันอยู่ในสามเหลี่ยมรองรองด้วยราชพฤกษ์หมายถึงระเบียบวินัยความรู้และคุณธรรม
ล้อมรอบด้วยวงกลมแสดงถึงเกียรติยศ แสงสว่างวิชาการที่มีประกายเจิดจ้าแสดงถึงความ
รุ่งเรืองเคยี งคู่กนั เสมอไป

ปรัชญาโรงเรียน

มาตรฐานดี กิจกรรมเดน่ เนน้ วินยั
สปี ระจำโรงเรียน คือ “ สขี าวแดง ”

สีขาว หมายถงึ ความสะอาด บริสุทธ์ิ ความเปน็ ธรรม
สแี ดง หมายถึง การต่อสู้ ที่เข้มแข็ง และอดทนในทศิ ทางท่ถี ูกต้อง
ต้นไมป้ ระจำโรงเรียน คือ “ ดอกเฟื่องฟา้ ”
ดอกเฟอ่ื งฟา้ ความหมาย ช่อื เสยี ง ฟงุ้ เฟ่ืองทวเี กยี รติ เกรียงไกล

ทศิ ทางการบริหารจัดการศกึ ษา
วสิ ัยทศั น์(Vision)

“ ภายในปี 2565 โรงเรียนประภัสสรวิทยาเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้ คู่คุณธรรม มุ่งสู่คุณภาพสากล บนพื้นฐาน
ความเป็นไทย ”
พนั ธกจิ (Mission)

จากวสิ ัยทศั น์ของโรงเรยี น ได้นำมากำหนดพันธกจิ ภาระงานทีต่ ้องดำเนนิ การใหบ้ รรลตุ ามวสิ ยั ทัศน์ ดังนี้
๑. พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้ คิดเป็น แกป้ ญั หาได้ และมคี ุณภาพตามมาตราฐานสากล
๒. พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ภี าวะผูน้ ำมีความรบั ผิดชอบ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม บนพน้ื ฐานความเปน็ ไทยและคณุ ลักษณะ

ท่ีพงึ ประสงค์สอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๓. พัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการจัดการเรียนรูเ้ ทยี บเคียงมาตรฐานสากลสอดคลอ้ งกบั โครงการระเบียงเขตเศรษฐกจิ

ภาคตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor : EEC)
๔. พฒั นาระบบบรหิ ารการศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพดว้ ยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๕. พฒั นาเครือขา่ ยความร่วมมือทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศในการเสริมสร้างสถานศึกษาให้เป็นชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้
๖. พัฒนาระบบเครือขา่ ยขอ้ มลู แหลง่ เรยี นรู้ภายใน และภายนอกโรงเรียน เพื่อใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน
๗. พัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาและงานวิจัยใหม้ ีประสิทธิภาพ
๘. พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามสามารถในการจดั การเรยี นรู้ และใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ



ประกาศโรงเรียนประภัสสรวิทยา
เร่อื งอัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาและคา่ ธรรมเนยี มอื่น ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

เพื่อให้เป็นตามบทบัญญัติ มาตรา ๒๐ (๓) และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐

แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ โรงเรียนประภัสสรวิทยา ตั้งอยู่ที่จังหวัดชลบุรี ซึ่งเป็นโรงเรียนเอกชนในระบบ

ประเภทสามัญศึกษา และเป็นโรงเรียนที่นักเรียนรับได้เงินอุดหนุนรายบุคคลจากรัฐในทกุ ช้ันเรียน โดยความเห็นชอบของ

คณะกรรมการบริหารของโรงเรียนตามมติที่ประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๕ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๕ จึง

กำหนดอัตราคา่ ธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอืน่ ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ดงั น้ี

๑โรงเรยี นเอกชนประเภทสามัญศกึ ษา

a. อตั ราคา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา

(๑) ชั้นอนบุ าล ๑ - ๓ ภาคเรียนละ ๒,๗๕๐ บาท (ปลี ะ ๕,๕๐๐ บาท)

(๒) ประถมศึกษา ๑ - ๖ ภาคเรยี นละ ๒,๖๗๐ บาท (ปีละ ๕,๓๔๐ บาท)

(๓) มัธยมศกึ ษา ๑-๓ ภาคเรียนละ ๒,๓๘๐ บาท (ปลี ะ ๔,๗๖๐ บาท)

b. อัตราค่าธรรมเนียมอื่น (บาทต่อปี)

รายการ ระดับการศึกษา หมายเหตุ
อนบุ าล๑ - ๓ ประถม ๑ - ๖ มธั ยม ๑-๓

หมวด ๑ ค่าอาหาร ๕,๘๐๐ ๕,๘๐๐ - แบง่ เก็บภาคเรยี นละเท่าๆกนั
๑.ค่าอาหารกลางวัน - - -
หมวด ๒ ค่าใชจ้ า่ ยแรกเข้า
๑.คา่ ธรรมเนียมแรกเขา้ ๖๐๐ ๖๐๐ ๖๐๐ เกบ็ ปลี ะครง้ั
หมวด ๓เบด็ เตลด็ ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ แบ่งเกบ็ ภาคเรยี นละเท่าๆกนั
๑.คา่ ประกนั อุบัติเหตุ
๒.ค่าสื่อ/เทคโนโลยีการเรียน
การสอน/Internet/ICT



รายการ ระดับการศึกษา หมายเหตุ
อนบุ าล ๑ - ๓ ประถม ๑ - ๖ มธั ยม ๑-๓

หมวด ๔ รายการที่โรงเรียน ๗,๘๐๐ - ๗,๘๐๐ - ๗,๘๐๐ - แบ่งเกบ็ ภาคเรียนละเทา่ ๆกัน
ใหบ้ ริการเพ่มิ เติม ๑๑,๘๕๐ ๑๑,๘๕๐ ๑๑,๘๕๐ ตามระยะทาง เฉพาะนักเรียนที่
๑.ค่ารถรบั สง่ สมคั รใช้บริการ
๑๓,๐๐๐ ๙,๐๐๐ แบ่งเกบ็ ภาคเรียนละเท่าๆกัน
๒.คา่ เรยี นเสริมทกั ษะ ๙,๐๐๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๔,๔๐๐ ๔,๔๐๐ ๔,๔๐๐ แบง่ เกบ็ ภาคเรยี นละเทา่ ๆกัน
๓.คา่ เรยี นเสรมิ สมรรถนะ ๓,๕๐๐ ๓,๕๐๐ เฉพาะนักเรยี นท่ีสมัครเรียน
แบ่งเกบ็ ภาคเรยี นละเท่าๆกนั
๔.ค่าเรยี นปรบั พ้นื ฐาน ๓,๕๐๐ เฉพาะนักเรียนท่สี มคั รเรยี น

๓.อัตราคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษาตามประกาศน้ี จำแนกเปน็ ชนั้ เรยี นทรี่ ับเงินอุดหนนุ รายบุคคลจากรัฐดงั นี้
(๑)ช้ันเรียนท่ีนักเรยี นรบั เงนิ อดุ หนนุ จากรฐั ได้แก่ ช้นั อนุบาล๑ - ๓, ชนั้ ประถมศึกษาปที ๑ี่ - ๖,

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑-๓
๔.เงือ่ นไขการคนื เงนิ ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษาและคา่ ธรรมเนยี มอน่ื

(๑)กรณีที่โรงเรียนเก็บเงินค่าธรรมเนียมการศึกษาและ/หรือค่าธรรมเนียมอื่นจากนักเรียนที่เรียนอยู่แล้วไว้ก่อน
เปิดภาคเรียน หากผู้ปกครองและ/หรือนักเรียนประสงค์ลาออกก่อนเปิดภาคเรียน ไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน โรงเรียนจะคืน
ค่าธรรมเนียมการศึกษาและ/หรือค่าธรรมเนียมอื่นที่เรียกเก็บให้ผู้ปกครองนักเรียนพร้อมทั้งออกหลักฐานแสดงผลการ
เรยี นใหผ้ ปู้ กครองนักเรยี นภายใน ๗ วัน นบั แตว่ นั ท่ขี อลาออก

(๒)กรณีที่โรงเรียนเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและ/หรือค่าธรรมเนียมอื่นจากนักเรียน ที่มาเข้าเรียนใหม่ไว้แล้ว
หากผู้ปกครองและ/หรือนักเรียนประสงค์ลาออกภายใน ๗ วันทำการหลังจากเปิดภาคเรียนโรงเรียนจะคืนค่าธรรมเนียม
การศึกษาและ/หรือค่าธรรมเนยี มอนื่ ส่วนที่ยังไม่ได้ใช้บริการให้ผู้ปกครองนักเรยี นพร้อมท้ังคนื หลักฐานต่างๆ ให้ผู้ปกครอง
นกั เรยี นในวนั ทขี่ อลาออก

ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕

นางสาวอไุ รวรรณ ตันประภัสร์
ผูร้ บั ใบอนุญาต



ประกาศโรงเรยี นประภสั สรวิทยา

เรือ่ ง การดำเนินการใหเ้ งนิ อุดหนนุ เป็นค่าหนังสอื เรียน อปุ กรณก์ ารเรียน เครื่องแบบนักเรียนและกิจกรรมพัฒนา

คณุ ภาพผ้เู รยี นตามมติคณะกรรมการบรหิ ารและกรรมการร่วม ๔ ฝ่าย

ตามที่โรงเรียนได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนให้แก่นักเรียนเป็นค่าหนังสือเรียน อุปกรณ์เรียน

เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสำหรับนักเรียนที่เรียนอยู่ในแต่ละระดับการศึกษา ตามรายการ

และอตั ราดังต่อไปนี้

๑.คา่ หนังสือเรยี น นกั เรียนในแต่ละชั้นเรียนมีสทิ ธไ์ิ ด้รับเงนิ อดุ หนุน ดงั น้ี

ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๑-๓ ๒๐๐.๐๐ บาท/คน/ปี

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖๕๖.๐๐ บาท/คน/ปี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๖๕๐.๐๐ บาท/คน/ปี

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ ๖๕๓.๐๐ บาท/คน/ปี

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๗๐๗.๐๐ บาท/คน/ปี

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ๘๔๖.๐๐ บาท/คน/ปี

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ๘๕๙.๐๐ บาท/คน/ปี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ๘๐๘๐๐ บาท/คน/ปี

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ๙๒๑.๐๐ บาท/คน/ปี

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๙๙๖.๐๐ บาท/คน/ปี

๒.ค่าอุปกรณ์การเรียน นกั เรียนในแต่ละระดบั มสี ิทธ์ไิ ด้รับเงินอดุ หนนุ ดงั นี้

ระดับก่อนประถมศึกษา ๑๐๐.๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน

ระดบั ประถมศกึ ษา ๑๙๕.๐๐ บาท/คน/ภาคเรยี น

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๒๑๐.๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน

๓.คา่ เคร่ืองแบบนักเรียน นกั เรยี นในแตล่ ะระดบั มสี ทิ ธิไ์ ดร้ บั เงนิ อุดหนนุ ดงั น้ี

ระดบั ก่อนประถมศึกษา ๓๐๐.๐๐ บาท/คน/ปี

ระดับประถมศึกษา ๓๖๐.๐๐ บาท/คน/ปี

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๔๕๐.๐๐ บาท/คน/ปี

๔.คา่ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน นกั เรียนในแต่ละระดบั มีสิทธ์ิได้รับเงินอุดหนุน ดงั น้ี

ระดับกอ่ นประถมศึกษา ๒๑๕.๐๐ บาท/คน/ภาคเรยี น

ระดับประถมศกึ ษา ๒๔๐.๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ๔๔๐.๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน

อาศยั อำนาจตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการกำหนดมาตรการช่วยเหลือนักเรยี น ในโรงเรียนเอกชน

เปน็ เงนิ อุดหนนุ ค่าหนังสือเรียนอปุ กรณ์การเรยี น เครอื่ งแบบนกั เรียน และกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน



ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ข้อ ๕ โรงเรียนจึงได้ประชุมคณะกรรมการบริหารและกรรมการร่วม ๔ ฝ่าย เมื่อวันที่ ๒๕
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ เพื่อให้ที่ประชุมพิจารณาดำเนินการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับเงินอุดหนุนเป็นค่า
หนงั สือเรียน อปุ กรณ์การเรยี น คา่ เครื่องแบบนักเรยี น และกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น สำหรับนกั เรียนท่ีมีสิทธ์ิได้รับ
เงนิ อุดหนนุ โดยคำนงึ ถึงประโยชน์ของนักเรียนอยา่ งเหมาะสม เป็นธรรมและโปร่งใส และทปี่ ระชุมได้มีมติให้ดำเนินการ
เพ่ือใชจ้ า่ ยในเรื่องตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี

๑. การจา่ ยเงินอดุ หนุนเป็นคา่ หนังสือเรียน ให้ดำเนินการดังน้ี
หนงั สอื เรียนสำหรับนักเรียนช้ันอนุบาลถึงชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ที่จดั ซ้อื โดยเงินอดุ หนนุ เปน็ คา่ หนังสือ

๒.การจ่ายเงินอุดหนนุ เป็นค่าอปุ กรณก์ ารเรียน ใหด้ ำเนนิ การดงั นี้
การดำเนินการในรายการนี้ ที่ประชุมเห็นว่า การดำเนินการจะต้องเป็นการดำเนินการที่เป็นประโยชน์ไม่สร้าง
ปัญหาให้กับผู้ปกครองและนักเรียน อันอาจจะมีผลกระทบต่อการเรียนของนักเรียน ที่ประชุมจึงเห็นควรให้ดำเนินการ
หักลดจากค่าวัสดุ/อุปกรณ์ตลอดปี ซึ่งเป็นค่าธรรมเนียมอื่นของโรงเรียน และจัดวัสดุ-อุปกรณ์ การเรียนที่จำเป็นให้แก่
นักเรียน คือ ชั้นอนุบาลปีที่ ๑-๓ ได้แก่ กระเป๋าสะสมผลงาน ชั้น ป.๑,ม.๑ ได้แก่ แฟ้มสะสมผลงาน ช้ัน ป.๒-ป.๖ ได้แก่
ดินสอ ยางลบ กบเหลาดินสอ ไม้บรรทัด กระเป๋าใส่อุปกรณ์ สมุดปกอ่อน ชั้น ม.๒-ม.๓ ได้แก่ ปากกา ดินสอ กบเหลา
ดินสอ ชดุ เรขาคณิต สมดุ ปกอ่อน สมดุ รายงาน ตามจำนวนเงินอุดหนนุ ที่ไดร้ ับ แล้วจึงเรยี กเก็บสว่ นท่เี หลือจากผู้ปกครอง
ตามประกาศ เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น พร้อมการลงชื่อรับเงินอุดหนุนค่าอุปกรณ์ตามแบบท่ี
โรงเรยี นกำหนดเพ่อื เปน็ หลักฐานการรบั เงนิ
๓. การจา่ ยเงนิ อดุ หนนุ เปน็ ค่าเครือ่ งแบบนักเรียน ใหด้ ำเนนิ การดงั น้ี
การดำเนินการในรายการน้ี ทีป่ ระชมุ เหน็ ว่า การดำเนนิ การใดจะเป็นการดำเนินการทเี่ ป็นประโยชน์ที่เหมาะสม
แก่ผู้เรียน ไม่สร้างปัญหาให้กับผู้ปกครองและนักเรียนอันอาจจะมีผลกระทบต่อการเรียนของนักเรียน ที่ประชุมจึงเห็น
ควรให้ดำเนินการเบิกจ่ายเงินอุดหนุน ค่าเครื่องแบบให้แก่ผู้ปกครอง/นักเรียน เมื่อได้รับหลักฐานการลงทะเบียนเรียน
ของนักเรียน ตามที่คณะกรรมการบริหารและกรรมการร่วม ๔ ฝ่ายกำหนด โดยให้ผู้ปกครองนำคูปองค่าเครื่องแบบ
นักเรียนไปรับเครื่องแบบนักเรียนที่สหการโรงเรียน พร้อมลงชื่อวันรับเงินอุดหนุนค่าเครื่องแบบ ตามแบบที่โรงเรียน
กำหนดเพื่อเปน็ หลักฐานการรบั เงนิ
๔.การจ่ายเงนิ อุดหนนุ เปน็ ค่ากิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ให้ดำเนินการดงั นี้
ที่ประชุมได้พิจารณาแล้ว ให้นำเงินดังกล่าวไปดำเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้าน
คุณธรรม ด้านการทัศนศึกษา ด้านการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ตามโครงการและแผนงานของโรงเรียนจงึ ประกาศแจง้
ผ้ปู กครอง นกั เรียน ได้รับทราบวิธกี ารดำเนินการในเรอ่ื งดังกลา่ วข้างต้นโดยทัว่ กนั

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๕ เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๖๕

นางสาวอไุ รวรรณ ตันประภัสร์
ผู้รับใบอนญุ าต



งานบรกิ ารรถรบั -ส่งโรงเรยี นประภสั สรวทิ ยา

พ้ืนที่ เสน้ ทาง
๑ รอบบริเวณโรงเรียน,เมืองใหม่,หมูบ้านริมทะเล, อบต.ห้วยกะปิ,สารพัดช่าง,วัดบางเป้ง,ชลชาย ตึกน้ำ,
บางแสน,หนองมนบางแสนทาวเวอร์,หม่บู ้านคันทร่ี,หลงั วัดท้ายดอน,โรงพยาบาลชลบุร,ี หนองข้างคอก,
ซากพูดซา, เมอื งใหม่,หาดวอน,หลัง ม.บูรพา,แหลมแท่น,วงั มุขแลนด์,คลองน้ำเหม็น,บาโคน,่ี เล่ียงเมือง
หนองมน
๒ บางทรายค่ายนวมนิ ทร์, คา่ ยปนื ใหญ่,โค้งลกู ทุ่ง,ม.มณีแก้ว

๓ ศรพี ะโล, วดั อุต่ ะเพา, วัดทอ้ งคงุ้ ,/ นารานุบาล,บางพระ,ม.แฟมลิ ี่แลนด,์ คาซาลูนา่ , ไร่ไหหลำ

๔ นาพรา้ ว , ห้วยกุ่ม , เขาเขยี ว , หว้ ยกร,ุ สวนผเี สอื้ , หว้ ยกมุ่

ตารางการลงทะเบยี นชาระค่าบรกิ ารรถรบั – สง่ นกั เรยี น

ชำระรายเทอม รวมเงนิ

พืน้ ที่ เท่ียว ชำระรายเดอื น (แบ่งจ่ายได้ ๒งวด) (ราย

เทอม)

พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวมเงิน ๑เม.ย. ๖๕- ๑ พ.ค. ๖๕ -
(๒สัปดาห์) ๓๐เม.ย.๖๕ ๓๐ พ.ค.๖๕

๑ ๑ เที่ยว ๔๕๐ ๙๐๐ ๙๐๐ ๙๐๐ ๙๐๐ ๔,๐๕๐ ๓,๙๐๐ - ๓,๙๐๐

๒ เที่ยว ๙๐๐ ๑,๘๐๐ ๑,๘๐๐ ๑,๘๐๐ ๑,๘๐๐ ๘,๑๐๐ ๓,๙๐๐ ๓,๙๐๐ ๗,๘๐๐

๒ ๑ เท่ียว ๕๒๕ ๑,๐๕๐ ๑,๐๕๐ ๑,๐๕๐ ๑,๐๕๐ ๔,๗๒๕ ๔,๕๗๕ - ๔,๕๗๕

๒ เที่ยว ๑,๐๕๐ ๒,๑๐๐ ๒,๑๐๐ ๒,๑๐๐ ๒,๑๐๐ ๙,๔๕๐ ๔,๖๐๐ ๔,๕๕๐ ๙,๑๕๐

๓ ๑ เทย่ี ว ๖๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๕,๔๐๐ ๕,๒๕๐ - ๕,๒๕๐

๒ เทย่ี ว ๑,๒๐๐ ๒,๔๐๐ ๒,๔๐๐ ๒,๔๐๐ ๒,๔๐๐ ๑๐,๘๐๐ ๕,๕๐๐ ๕,๕๐๐ ๑๐,๕๐



๔ ๑ เทย่ี ว ๖๗๕ ๑,๓๕๐ ๑,๓๕๐ ๑,๓๕๐ ๑,๓๕๐ ๖,๐๗๕ ๕,๙๒๕ - ๕,๙๒๕

๒ เทย่ี ว ๑,๓๕๐ ๒,๗๐๐ ๒,๗๐๐ ๒,๗๐๐ ๒,๗๐๐ ๑๒,๑๕๐ ๖,๐๐๐ ๕,๘๕๐ ๑๑,๘๕





ระเบยี บการใชบ้ รกิ ารรถรบั – สง่ นกั เรยี น

ให้ผ้ปู กครอง/นกั เรียน ดำเนนิ การตามข้นั ตอนดงั น้ี
๑.ให้ผู้ปกครองหรือนักเรยี นเขียนใบคำรอ้ งยกเลิกใชบ้ ริการรถ รับ-สง่ พร้อมระบเุ ร่ิมการยกเลกิ ตั้งแตเ่ ม่ือไรและสาเหตุ

จากน้นั ใหผ้ ้ปู กครองหรือนกั เรียนลงช่ือผู้แจง้
๒.ใหผ้ ูป้ กครองหรือนกั เรยี นยนื่ คำรอ้ งก่อนวันท่จี ะยกเลิก อย่างนอ้ ย ๒ วนั และกอ่ นท่ีจะเร่ิมทำการรับ-สง่ ในเดอื นถัดไป

(หากเกนิ กำหนดโรงเรยี นขอสงวนสิทธิ์คดิ คา่ บรกิ ารเท่ยี วรถดงั กล่าว)

หมายเหตุ : ๑ หากผู้ปกครอง/นักเรียน ยกเลิกล้าช้า ทางโรงเรียนจะคิดค่าบริการจนถึงวันที่มาแจ้งยกเลิกการใช้
บรกิ าร

๒. หากไม่สามารถมาดำเนนิ การดว้ ยตนเองได้ สามารถฝากสำเนาบตั รประชาชนของผู้ปกครองให้กับครู
ประจำชั้น/ครเู วรบริการรถโรงเรียนมาทำเรื่องเขียนใบคำร้องขอยกเลกิ บริการให้ได้



การบรหิ ารงานธุรการการเงิน

วธิ กี ารชำระเงินคา่ ธรรมเนียมการเรยี น
สามารถเลือกชำระเงนิ ได้ ๒ ชอ่ งทาง คอื
๑. ชำระเงินค่าธรรมเนยี มการเรยี นและคา่ ใชจ้ า่ ยต่าง ๆ เป็นเงนิ สดไดท้ ี่ สำนกั งานธุรการ งานการเงนิ
๒. ชำระค่าธรรมเนียมการเรียนผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร/Mobile-Banking

- ธนาคารกรุงไทย บญั ชีออมทรัพย์ สาขาสามแยกอ่างศิลา ชอื่ บัญชี โรงเรยี นประภสั สรวทิ ยา
เลขทีบ่ ัญชี ๓๗๖-๐-๔๐๓๗๕-๑
กรณีชำระผ่านธนาคาร : ผู้ปกครองดำเนินการส่ง ใบนำฝากเงินมา Line ครูประจำชั้น หรือ Line OA :
@pbsvid พร้อมระบุชื่อ นามสกุล และชั้นเรียนของนักเรียน เพื่อให้งานการเงินออกใบเสร็จรับเงิน (กรุณาเรียก
ใบเสรจ็ รับเงินทกุ คร้งั ทชี่ ำระเงนิ )

เบอรโ์ ทรศัพทต์ ิดตอ่

โรงเรยี นประภัสสรวทิ ยา ชลบรุ ี เบอร์ ๐๓๘-๒๗๖๘๙๐-๔

เบอร์ตดิ ตอ่ ภายใน

สำนักงานธุรการ ตอ่ ๑๘๕

ฝ่ายการเงิน ตอ่ ๓๐๖

ฝา่ ยพฒั นาการศึกษา ตอ่ ๓๐๓

ฝา่ ยสง่ เสรมิ การศึกษา ตอ่ ๑๘๗



การประกนั อบุ ตั เิ หตนุ กั เรยี น

ทางโรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำประกันอุบัติเหตุ บริษัท เอไอเอ จำกัด ให้กับนักเรียนทุกคนซึ่งนักเรียนจะได้รับ

ความคุ้มครองตลอด ๒๔ ช่วั โมงในการเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลคู่สัญญาโดยมีรายละเอียดความคุ้มครอง

และเงอื่ นไขการรับประกนั ภยั อบุ ตั ิเหตสุ ำหรับนกั เรยี น ดังนี้

ผลประโยชนค์ วามคมุ้ ครอง ทุนประกนั

เสียชีวติ เนื่องจากอุบตั ิเหตทุ ่วั ไป สูญเสียอวัยวะ และสายตา ๗๐,๐๐๐

ทุพพลภาพถาวรสิ้นเชงิ ๗๐,๐๐๐

ฆาตกรรม และลอบทำร้าย ๗๐,๐๐๐

คา่ รกั ษาพยาบาล ต่ออุบัตเิ หตุแต่ละครง้ั ๗,๐๐๐

กรณมี บี ตั รประกนั อุบตั เิ หตุ (CARE CARD)
๑.บัตรประกันอบุ ัติเหตุ (CARE CARD)
๒.บัตรประจำตวั นักเรยี น หรอื บตั รประจำตวั ประชาชน หรือ สูตบิ ตั ร

กรณผี ปู้ กครองสำรองเงินจ่ายก่อน และเตรยี มเอกสารหลกั ฐานท่ีขอเบิกคา่ รักษาพยาบาลดังน้ี
๑. ใบเสรจ็ รบั เงิน (ฉบบั จริง)
๒.ใบรับรองแพทย์ (ฉบับจรงิ )
๓.ตดิ ตอ่ ขอรบั ผลประโยชนก์ รณคี ่ารักษาพยาบาลทีง่ านธุรการ

กรณีเสียชวี ิต
๑.สำเนาใบชันสตู รพลิกศพ (รับรองสำเนาถกู ต้องโดยหน่วยงานที่ออกให)้
๒.สำเนาใบรับรองการเสยี ชีวติ (รับรองสำเนาถกู ต้องโดยหน่วยงานทอ่ี อกให)้
๓.สำเนาใบแจ้งความ (รบั รองสำเนาถูกต้องโดยหน่วยงานที่ออกให)้
๔.สำเนาใบมรณะบตั ร (รับรองสำเนาถกู ต้องโดยหนว่ ยงานทอ่ี อกให้)
๕.สำเนาทะเบียนบา้ น สำเนาบัตรประชาชน ของผูเ้ สียชวี ติ และผู้รับประโยชน์ (รบั รองสำเนา โดยผู้รบั ประโยชน)์
สามารถติดต่อยื่นเอกสารขอรับเงินประกนั อุบตั เิ หตุ ไดท้ สี่ ำนกั งานธุรการ กบั นางสาวเสาวรส ศรีเจรญิ และ
นางสาวจนิ ตนา เปยี ขุนทด หรือติดต่อสอบถามหมายเลขโทรศพั ท์ ๐๓๘ -๒๗๖๘๙๑-๔ ตอ่ ๑๘๕

๑๐

การบริหารหลกั สูตรและงานวชิ าการ

กรอบแนวคดิ หลักสูตร

โรงเรยี นประภสั สรวิทยา ชลบรุ ี ไดจ้ ดั ทำหลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๐) เป็นหลกั แตม่ ีกรอบแนวคิดที่ประยุกตใ์ ห้เข้ากบั การพัฒนาของโลกในศตวรรษ
ท่ี ๒๑ ซึ่งการจดั การศึกษาของแตล่ ะช่วงชนั้ มีความแตกต่างกนั ตามวัยและพฒั นาการของผเู้ รียนกล่าวคือ ในระดับประถม
ศกึ ษาตอนต้น (ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓) เปน็ หลักสตู รแบบบูรณาการซง่ึ สอดคล้องกบั ทฤษฎีการสรา้ งความรโู้ ดยผู้เรยี น
(Constructivism) สามารถตอบสนองต่อความสามารถของผูเ้ รยี นซ่ึงมีหลายด้าน เชน่ ภาษาทั้งดา้ นภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ และภาษาจนี คณติ ศาสตร์ การมองพนื้ ท่ี ความคลอ่ งของร่างกาย และความเคล่อื นไหวดนตรี สงั คมหรือ
มนุษยส์ มั พนั ธแ์ ละความรู้และความเข้าใจตนเอง ซงึ่ รวมเรียกว่า “พหปุ ญั ญา” (Multiple Intelligences) สนองตอบ
ตอ่ ความสามารถทจ่ี ะแสดงออกและตอบสนองทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) และทักษะพื้นฐาน (Skill Based)
ไดแ้ ก่การคิดวเิ คราะห์ การคดิ สรา้ งสรรค์ การเรียนรรู้ ่วมกนั ทักษะการสื่อสาร และมีปฏิสัมพนั ธ์ ทัง้ หมดผ่านกิจกรรมการ
เรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย

ในสว่ นของระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖) และมัธยมศึกษาตอนตน้ (มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑
– ๓) เน้นให้นักเรยี นค้นพบตนเอง มีความพร้อมตามทักษะที่ต้องการของคนในศตวรรษที่ ๒๑ โดยพัฒนาตอ่ เน่ืองจาก
หลกั สตู รประถมศกึ ษาตอนต้น โดยยดึ เอาสมรรถนะของผเู้ รียนเป็นตัวตง้ั ใชเ้ วลาและวธิ กี ารยืดหยนุ่ ตามธรรมชาตขิ อง
ผู้เรียนแต่ละคนเพอื่ พัฒนาผเู้ รียนอย่างเต็มประสิทธิภาพ ได้แก่ ทักษะการคิดอยา่ งมวีิ ิจารณญาณและ การแกป้ ัญหา
(Critical Thinking and Problem Solving Skills) ทักษะการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม(Creativity & innovation
Skills) ทักษะความเข้าใจดา้ นความแตกต่างทางวัฒนธรรม (Cross cultural Understanding Skills) ดา้ นความรว่ มมือ
การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership Skills) ทกั ษะการสือ่ สาร สารสนเทศ
และรเู้ ท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy Skills) ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Computing and ICT Literacy Skills) ทกั ษะอาชพี และการเรียนรู้ (Career and Learning
Skills) และมีคุณธรรมจริยธรรม (Compassion) ผา่ นกระบวนการเรยี นรดู้ ว้ ยโครงงาน (Project Based Learning) และ
STEAM Education ในการแกป้ ัญหาและประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริงได้

๑๑

๑๒

๑๓

๑. หลกั สูตรโรงเรยี นประภสั สรวิทยา
ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนประกาศใชห้ ลักสูตรการเรยี นการสอน ดังน้ี

➢ การศกึ ษาระดับปฐมวัย ( ช้นั อนบุ าลปที ่ี ๑ - ๓) ใช้ หลกั สตู รปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
➢ การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑- ๖และระดับมัธยมศึกษา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓) ใช้หลักสูตร
สถานศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๐ )
➢ หลกั สตู รเสรมิ ภาษาตา่ งประเทศ โรงเรียนจดั หลกั สูตรเสริมเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ชมุ ชน และสภาพ
สังคมในปัจจุบนั โดยเฉพาะการเสรมิ ภาษาตา่ งประเทศ คือ ภาษาองั กฤษ และภาษาจีน

๑). หลกั สตู รสง่ เสริมสามภาษา
- Mini English & Chinese Program : MEC ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษา บูรณาการเรียนวิชา คณติ ศาสตร,์ วิทยาศาสตร์
, เทคโนโลยี โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นฐาน นอกเหนือจากการเรียนเนื้อหาด้วยภาษาไทย และเพิ่มชั่วโมงการเรียน
ภาษาอังกฤษ กับครูต่างชาติ และภาษาจีน ๑๑ คาบ/สัปดาห์ จากกิจกรรมการเรียนรู้ My First Adventure MFEA
แ ล ะ International Curriculum : Origo Math from Australia , International Curriculum : Mc Graw Hill
Education from USA รวมทง้ั มีกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ ศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้ English – Chinese Day Camp
/ Field Trip
- Intensive English & Chinese Program : IEC ระดับชั้นมัธยมศึกษา บูรณาการเรียนวิชา คณิตศาสตร์,
วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นฐาน นอกเหนือจากการเรียนเนื้อหาด้วยภาษาไทย และเพิ่มชั่วโมงการ
เรียนภาษาอังกฤษ กับครูต่างชาติ สื่อนวัตกรรมและภาษาจีน ๑๐ คาบ/สัปดาห์ ตามกรอบมาตรฐานความสามารถทาง
ภาษาอังกฤษของประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป CEFR (Common European Framwork of Reference for Languages
) และ English – Chinese Day Camp / Field Trip เพ่ือใหน้ กั เรียนไดค้ ุ้นเคยกบั คำศัพท์ ประโยชนท์ ่ใี ช้ในวชิ าดังกลา่ ว
เป็นพ้ืนฐานท่ดี ี ในการเรยี นต่อระดบั สงู ข้ึนไปและการประกอบอาชพี และพรอ้ มส่ศู ตวรรษที่ ๒๑ ด้วยการใชภ้ าษาองั กฤษ
และภาษาจีน ในชีวติ ประจำวนั อยา่ งคุ้นเคย
๒). หลักสูตรพนื้ ฐาน เสริมภาษาอังกฤษ -จนี
- Intensive English Program : IEP ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ - ๓เสรมิ ภาษาอังกฤษ – จนี โดยเรียนเสริมภาษากับ
ครตู า่ งชาติ ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน ๖ คาบ/สัปดาห์ และ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๓ เสริมภาษาองั กฤษกบั ครู
ตา่ งชาติ ส่ือนวตั กรรม ๔ คาบ/สปั ดาห์ โดยเน้นทกั ษะการฟงั พดู อ่านและเขยี นดว้ ยกจิ กรรมที่หลากหลาย โดยใช้
โครงงานเป็นฐาน( Project Based )

๑๔

➢กิจกรรมบรู ณาการสะเต็มศึกษา(STEM EDUCATION)
สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน ๔ สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม

เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ โดยเน้นการนำความร้ไู ปใชแ้ กป้ ัญหาในชวี ติ จรงิ รวมทั้งการพฒั นากระบวนการหรอื ผลผลิตใหม่ ท่เี ป็น
ประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการ
ทำงาน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ไม่เน้นเพียงการ ท่องจำทฤษฎีหรือกฎทางวิทยาศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฎเหล่านั้นผ่านการปฏิบัติให้เห็นจริง ควบคู่กับการพัฒนาทักษะการคิดตั้ง
คำถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ๆ พร้อมทั้งสามารถนำข้อค้นพบนั้นไปใช้หรือบูรณาการกับ
ชีวิตประจำวันได้

STEM education is an integrated approach to teaching and learning.
It brings together science, technology, engineering and mathematics emphasizing the
application of the knowledge gained to real life problem solving and to developing a process or
a new product for the benefits of life and work.

โรงเรียนประภัสสรวิทยา ได้จัดให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวทางสะเต็มศึกษา ของสถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) มาจัดประสบการณ์ให้นักเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ทุก
สัปดาห์ เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนได้แก่ทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะทางด้านสารสนเทศ สื่อและ
เทคโนโลยี ให้มีความพร้อมสู่ศตวรรษท่ี ๒๑

๑๕

การจัดแผนการเรียนรู้ ครอบคลุม ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยจัดวิชาพื้นฐาน ๙ วิชา ( ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และวิชา
ประวัตศิ าสตร์) จดั วิชาเพิม่ เตมิ ใหน้ ักเรียนทกุ คนเรียนในระดับประถมศึกษา และให้เลอื กเรยี นในระดับมธั ยมศกึ ษา
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๘ กลุ่มสาระประกอบด้วย วิชาภาษาไทย, สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา, คณิตศาสตร์, สังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม, ประวัตศิ าสตร์ ,วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, การงานอาชีพ, ศิลปะ และ ภาษาตา่ งประเทศ
รายวิชาเพ่ิมเตมิ จดั ให้สอดคลอ้ งกับสภาพของ ชุมชน แนวโนม้ การพฒั นาประเทศโดยเฉพาะการเตรยี มพร้อมสศู่ ตวรรษที่
๒๑ บูรณาการหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) ทกั ษะอาชพี
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน จัดใหผ้ ูเ้ รยี นทกุ ชว่ งชน้ั แบง่ เปน็ ๓ ลักษณะ

๓.๑ กจิ กรรมแนะแนว จัดคาบโฮมรูม/แนะแนวหรอื การเสรมิ กิจกรรมแนะแนวในกจิ กรรมลูกเสอื เพอ่ื แนะแนวทั้ง
ดา้ นทักษะวชิ าการในการซ่อมเสรมิ พัฒนาผู้เรียน ดา้ นทกั ษะชีวิต และการพัฒนาตนส่โู ลกอาชพี โดยครูประจำช้ัน/ครูแนะแนว

๓.๒ กิจกรรมนักเรียน ประกอบดว้ ย
- กจิ กรรมลกู เสือ จัดให้สำหรับนักเรยี นทกุ คน
- กจิ กรรมชมุ นมุ เปดิ ให้นกั เรียนเลอื กตามความถนดั และความสนใจทงั้ ชมุ นมุ ทางวชิ าการ ชมุ นุมพฒั นา

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ชุมนมุ พฒั นาทักษะอาชีพ
๓.๓ กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ จดั ใหน้ ักเรียนทุกคนทำกิจกรรมทง้ั ในโรงเรียน ทบี่ า้ น และในชุมชน

เป็นกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนที่สง่ เสรมิ ความเปน็ พลเมืองดแี ละมภี าวะผนู้ ำ ดว้ ยการส่งเสริม กิจกรรมผู้นำทำดี, โครงการ ๕ ส ,
กิจกรรมจติ อาสา และจติ สาธารณะ ตา่ งๆ

๑๖

โครงสรา้ งเวลาเรียน

ระดับชัน้ ประถมศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรยี น ( ปี ) ป.๕ ป.๖
ป.๑(IEP) ป.๒(IEP) ป.๓(IEP) ป.๔
วิชาพน้ื ฐาน ๘ กล่มุ สาระฯ ๑๖๐
 ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
 คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐
 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐
 วิทยาการคำนวณ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
 สังคมศกึ ษาฯ ๔๐
 ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
 ศิลปะ-ดนตรี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
 การงานอาชีพ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
 ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๙๒๐
รวมเวลาเรยี น ๘ กลุ่มสาระ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๒๐ ๑๒๐
วิชาเพม่ิ เติม ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๙๒๐ ๙๒๐ ๘๐
 STEAM/ โครงงาน ๔๐
 ภาษาจีนเบือ้ งต้น ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ -
 การอ่านเสรมิ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
 ภาษาองั กฤษเสรมิ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - - ๔๐
 เสริมวทิ ย์ - - - ๘๐ ๘๐ ๔๐
 เสรมิ คณิต - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
 คน้ ควา้ - - - ๔๐ ๔๐ ๓๒๐
- - - ๔๐ ๔๐ ๑๖๐
รวมเวลาเรียนวิชาเพมิ่ เตมิ ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๓๒๐ ๓๒๐ ๔๐
เวลากจิ กรรม ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๔๐
โฮมรูม/แนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
ลกู เสือ/ เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑,๔๐๐
ชมุ นุม/กจิ กรรมเพ่ือสาธารณประโยชน์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาทัง้ หมด ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐

๑๗

MEC Structure for Primary Level ๒๐๒๒

Learning Area/Activities School - year P ๖( MEC )
P ๑-๓ ( MEC ) P ๔-๕( MEC ) Period(s)/wk.
Core Subjects Period(s)/wk. Period(s)/wk.

Thai Language ๙๖๐ ๙๖๐ ๙๖๐
Mathematics
Science ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐
Computing Science
Social Study + History + Citizenship ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐
Health / Physical Education ๘๐ ๘๐ ๘๐
Art / Music / Acting art ๔๐ ๔๐ ๔๐
Occupations ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐
English -My First English Adventure (MFEA) ๘๐ ๘๐ ๘๐

Additional Subject ๔๐ ๘๐ ๘๐

Chinese ๔๐ ๔๐ ๔๐
STEAM Study ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐
OrigoMath
Project-Based Learning ๓๒๐ ๓๒๐ ๓๒๐

Student Development Activities ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๘๐ ๘๐ ๘๐
Club
Boy scout / Girl – guide ๑๒๐ ๑๒๐ -

Total - - ๑๒๐

๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

๘๐ ๘๐ ๘๐

๔๐ ๔๐ ๔๐

๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐

โครงสรา้ งเวลาเรียน ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๘

หนว่ ยกติ รวม

รายวชิ า / กิจกรรม ม.๑ (IEP) ม.๒ (IEP) ม.๓(IEP) ๙.๐
๑๒.๐
ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๑ ภาค ๒ ๙.๐
๙.๐
วิชาพืน้ ฐาน ๘ กลุ่มสาระฯ ๓.๐
๓.๐
 ภาษาไทย ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๓.๐
๓.๐
 คณติ ศาสตร์ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๓.๐
๓.๐
 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๙.๐
๖๖.๐
 สงั คมศึกษาฯ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๙.๐
๓.๐
 ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๓.๐
๓.๐
 สขุ ศกึ ษา ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๙.๐
๖.๐
 พลศกึ ษา ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕
๓.๐
 ทัศนศลิ ป์ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕
-
 ดนตรี- นาฎศลิ ป์ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑๘.๐
๘๔.๐
 การงานอาชีพ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

 ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕

รวมหน่วยกิตวิชาพน้ื ฐาน ๑๑.๐ ๑๑.๐ ๑๑.๐ ๑๑.๐ ๑๑.๐ ๑๑.๐

รายวิชาเพิม่ เติมบงั คับ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕

ภาษาองั กฤษเสรมิ By Program ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

วทิ ยาการคำนวณและการออกแบบ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

รายวิชาเพม่ิ เตมิ เลอื ก ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕

ภาษาองั กฤษเพมิ่ เติม By Teacher ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐

อเิ ล็กทรอนกิ ส์เบ้ืองตน้ ๐.๕ ๐.๕ - - --

หุ่นยนตเ์ บือ้ งต้น - - ๐.๕ ๐.๕ - -

ทักษะอาชีพ -- - - ๐.๕ ๐.๕

คอมพิวเตอร์เสรมิ 1 ๐.๕ - - - --

คอมพิวเตอร์เสรมิ 2 - ๐.๕ - --

คอมพวิ เตอรเ์ สรมิ 3 - - ๐.๕ - --

คอมพิวเตอรเ์ สริม 4 - - - ๐.๕ - -

* กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน (๔) (๔) (๔) (๔) (๔) (๔)

* รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐
รวมหน่วยกิตทั้งหมด ๑๔.๐ ๑๔.๐ ๑๔.๐ ๑๔.๐ ๑๔.๐ ๑๔.๐

รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด (คาบ/สัปดาห)์ (๓๕) (๓๕) (๓๕) (๓๕) (๓๕) (๓๕)

๑๙

IEC Structure for Secondary Level ๒๐๒๒

Credits

Learning Area/Activities IEC๑ IEC ๒ IEC ๓ Total

Term ๑ Term ๒ Term ๑ Term ๒ Term ๑ Term ๒ ๙.๐
๑๒.๐
Core Subjects ๙.๐
๙.๐
Thai Language ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๓.๐
๖.๐
Mathematics ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐
๓.๐
Science and Technology ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๙.๐
๖๖.๐
Social Study religion and culture ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๙.๐

History ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๓.๐
๓.๐
Health / Physical Education ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐
๙.๐
Art / Music / Acting art ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐

Occupations ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๖.๐

English ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ -
๑๘.๐
Total ๑๑.๐ ๑๑.๐ ๑๑.๐ ๑๑.๐ ๑๑.๐ ๑๑.๐ ๘๔.๐

Compulsory elective ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕

เพม่ิ เตมิ บงั คบั เลอื ก

English By Program อังกฤษเสริม ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

Computing science ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

civic duty ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕

elective Subjects เพิม่ เติมเลือกเสรี ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕

English By Teacher ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕
( องั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร)

Chinese for Communication ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐
ภาษาจนี เพื่อการสอ่ื สาร

Student Development Activities (๔) (๔) (๔) (๔) (๔) (๔)

Additional Subject ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐

Total ๑๔.๐ ๑๔.๐ ๑๔.๐ ๑๔.๐ ๑๔.๐ ๑๔.๐

Total Period(s)/wk. (๓๕) (๓๕) (๓๕) (๓๕) (๓๕) (๓๕)

๒๐

๒. การจัดการเรยี นรู้
ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ โรงเรียนประภสั สรวิทยา ได้เขา้ ร่วมโครงการรวมพลังสรา้ งโรงเรยี นส่งเสรมิ การคิดเพ่ือ

เทดิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดยุ เดช เน้นกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยใช้ทักษะการคิด เรยี นรู้เคร่ืองมือการ
คิด เพื่อฝึกทักษะการคิดในแต่ละประเภท รวมทั้งการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย พัฒนาทักษะกระบวนการ และความคิด
สร้างสรรค์ เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนและพลโลก ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ครบท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตอบสนองความสามารถ ความถนัด และความสนใจของนักเรียน สามารถสร้างสรรค์และ
นำเสนอผลงานจากการเรียนรู้ของตนเองได้อย่างภาคภูมิใจ นำวิธีการเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน ( Project Based Learning)
บูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและวิศวกรรม (STEM) มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักเรียนสามารถ
ประยุกตค์ วามรู้มาแกป้ ัญหาได้จริงในชีวิตประจำวัน โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเสรมิ สรา้ งคุณลกั ษณะให้ผู้เรยี น
มีภาวะผู้นำ เป็นพลเมืองดีของสังคม โดยเน้นให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้และประเมินผลงานของนักเรียนอย่าง
สม่ำเสมอ และกำหนดพบผปู้ กครองเพอื่ รายงานความก้าวหน้าของนักเรยี น 1 ครง้ั ต่อภาคเรียน

๓. การวัดและประเมินผลการเรียน
องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดจุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และ
มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด
ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก กำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่กำหนดในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ มคี วามสามารถด้านการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน มคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงคแ์ ละเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนา
ผู้เรยี น และการวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้มู ีองคป์ ระกอบต่างๆ ดังแผนภา

มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด การอา่ น
การเรยี นรู้ คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน
ใน ๘กลุม่ สาระ
กลุ่มสาระ คุณภาพผเู้ รยี น

คุณลกั ษณะ กิจกรรม
อันพึงประสงค์ พฒั นาผู้เรียน

๒๑

 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย , ภาษาต่างประเทศ กำหนดสดั สว่ นคะแนน ดังน้ี
คะแนนระหว่างเรยี น (๗๐) : คะแนนกลางภาค (๑๐) : คะแนนปลายภาค (๒๐)

 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ,วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย,ี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กำหนดสัดส่วน
คะแนน ดงั นี้

คะแนนระหว่างเรยี น (๗๐) : คะแนนกลางภาค (๑๐) : คะแนนปลายภาค (๒๐)
 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ,การงานอาชีพ,สุขศกึ ษาพลศกึ ษา กำหนดสดั ส่วนคะแนน ดงั น้ี

คะแนนระหว่างเรียน (๘๐) : คะแนนกลางภาค (๑๐) : คะแนนปลายภาค (๑๐)
 ระเบยี บการประเมนิ ผลของโรงเรียน กำหนดการวดั และประเมินผลเป็น ๔ สว่ น ดังนี้

๑. การประเมนิ ผลการเรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
๒ การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียนสอ่ื ความ
๓. การประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๔ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน
โดยนักเรยี นต้องมผี ลการประเมนิ ผา่ นครบทงั้ ๔ สว่ น

 การตัดสินให้ระดบั ผลการเรยี นกล่มุ สาระการเรยี นรู้ กำหนดระดับผลการเรียน ๘ ระดับตามช่วงคะแนนดงั นี้

๔ = คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ - ๑๐๐ = ดเี ย่ียม

๓.๕ = คะแนนร้อยละ ๗๕ - ๗๙ = ดมี าก

๓ = คะแนนร้อยละ ๗๐ - ๗๔ = ดี

๒.๕ = คะแนนรอ้ ยละ ๖๕ -๖๙ = ค่อนข้างดี

๒ = คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ -๖๔ = นา่ พอใจ

๑.๕ = คะแนนร้อยละ ๕๕ -๕๙ = พอใช้

๑ = คะแนนร้อยละ ๕๐ -๕๔ = ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตำ่

๐ = คะแนนร้อยละ ๐ -๔๙ = ไมผ่ ่านเกณฑ์ประเมิน

ร = รอการตดั สินหรอื ยังตัดสนิ ไมไ่ ด้

 ผ้เู รียนทีไ่ ด้รับการตดั สนิ ผลการเรียน “๐” จะต้องซอ่ มเสรมิ ถา้ ซ่อมเสริมครบ ๒ ครั้ง แลว้ ยงั ไมผ่ า่ นผ้เู รียนตอ้ งเรียนซ้ำ
รายวิชา

๒๒

 ผ้เู รยี นที่มีเวลาเรยี นตำ่ กว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนตลอดรายวิชา ตอ้ งเรยี นซำ้ ในชว่ งเวลาปดิ ภาคเรยี น
โดยมขี น้ั ตอนดงั ต่อไปนี้

๒๓

 การประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และการเขียน

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่าน การฟัง การดูและการ
รับรู้ จากหนังสือ เอกสารและสื่อต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง แล้วนำมาคิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่นำไปสู่การแสดงความคิดเห็น การ
สังเคราะห์สร้างสรรค์ในเรื่องต่างๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนซึ่งสะท้ อนถึงสติปัญญา ความรู้ ความเข้าใจ
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและสร้างสรรค์จินตนาการอย่างเหมาะสมและมีคณุ ค่าแก่ตนเอง สังคมและประเทศชาติ
พรอ้ มด้วยประสบการณ์ และทักษะในการเขียนที่มีสำนวนภาษาถกู ต้อง มีเหตุผลและลำดับขั้นตอนในการนำเสนอ สามารถสร้าง
ความเข้าใจแก่ผู้อ่านได้อย่างชัดเจนตามระดับความสามารถในแต่ละระดับชั้น การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
สรุปผลเป็นรายปี/รายภาค เพอ่ื วินิจฉัยและใชเ้ ปน็ ข้อมลู เพอื่ ประเมินการเลื่อน ชน้ั เรียนและการจบการศกึ ษาระดบั ตา่ งๆ

การอา่ นคดิ วิเคราะหแ์ ละเขียนเป็นกระบวนการทตี่ อ่ เนือ่ ง

อ่าน หนังสือเอกสารวิทยุ โทรทัศน์ สือ่ ต่างๆฯลฯ

(รบั สาร) แลว้ สรปุ เปน็ ความรู้ความเขา้ ใจของตนเอง

คิดวเิ คราะห์ วิเคราะห์สังเคราะหห์ าเหตุผลแก้ปญั หา
และสรา้ งสรรค์

เขียน ถา่ ยทอดความร้คู วามคดิ สื่อสารใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจ

(ส่ือสาร)

- ครูทุกรายวิชามีหน้าทีป่ ระเมินตามตัวชีว้ ดั ของเกณฑ์ การประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และการเขียนในแต่ละหน่วย
การเรียน

- การตัดสินผลกำหนดเปน็ ๔ ระดบั

ดีเย่ยี ม  ดี  ผา่ น  ไม่ผา่ น

ผทู้ ่ีได้รบั ผลการประเมินไมผ่ า่ น ต้องซอ่ มเสริมใหผ้ ่านจงึ จะได้รบั การพจิ ารณาจบชว่ งชนั้

การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และตามที่

สถานศึกษากำหนดเพิ่มเติม เป็นการประเมินรายคุณลักษณะแล้วรวบรวมผลการประเมินจากผู้ประเมินทุกฝ่ายนำมาพิจารณา
สรุปผลเปน็ รายป/ี รายภาค เพื่อใช้เปน็ ขอ้ มูลประเมิน การเลื่อนชน้ั เรียนและการจบการศกึ ษาระดับต่างๆดังแผนภาพ

๒๔

มีจิตสาธารณะ รักชาติ ศาสน์
กษตั ริย์
รกั ความ
ซ่อื สัตย์
เป็นไทย คณุ ลกั ษณะอนั
สจุ รติ

มุ่งม่ันใน พงึ ประสงค์ มวี นิ ัย

การทำงาน อยอู่ ยา่ ง ใฝเ่ รยี นรู้

พอเพียง

แผนภาพ แสดงองค์ประกอบการวัดและประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์หมายถึงลกั ษณะทต่ี ้องการใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั ผูเ้ รียนอนั เปน็ คุณลักษณะ ทส่ี ังคมตอ้ งการ ในดา้ น
คุณธรรมจรยิ ธรรมคา่ นยิ ม จติ สำนึก สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ทง้ั ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ตามที่
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานกำหนดซ่งึ มอี ยู่ ๘ คุณลกั ษณะ ครทู กุ คนและบคุ คลทโ่ี รงเรียนกำหนดมหี นา้ ที่ประเมินโดย
สรปุ ผลการประเมินภาคเรียนละ ๑ ครงั้ เป็นระดับคุณภาพ ๔ ระดบั ดงั นี้

 ดเี ยีย่ ม  ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน

ผ้ทู ี่ไดร้ บั การประเมินไม่ผา่ นจะตอ้ งซอ่ มเสริมใหไ้ ด้รับผล “ผา่ น” จงึ จะได้รบั พจิ ารณาใหจ้ บชว่ งช้ัน

การประเมินสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน

การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และตามที่

สถานศึกษากำหนดเพิ่มเติม เป็นการประเมิน คุณลักษณะเชิง พฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ ความสามารถ และ

คุณลกั ษณะอืน่ ๆ ท่ที ำให้นักเรียนสามารถ เรียนรหู้ รอื ปฏิบัตงิ านหรือสรา้ งผลงาน สมรรถนะสำคัญของ ผเู้ รียนมี ๕ ประการ ดงั นี้

• ความสามารถในการสื่อสาร
• ความสามารถในการคิด
• ความสามารถในการแกป้ ัญหา
• ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
• ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

๒๕

โรงเรียนประภสั สรวทิ ยา กำหนดให้มี การประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนจากกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระ
โดยกำหนดการให้ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ประเมินทั้ง๕ สมรรถนะตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ ง
กบั ธรรมชาติวชิ า โดยประเมินอยา่ งต่อเนื่อง การประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนจงึ ควรใชว้ ธิ ีการประเมนิ ท่ีเนน้ การ
ปฏิบตั ิ และ บรู ณาการอยูใ่ นกระบวนการเรียนการสอน ไมแ่ ยกประเมินตา่ งหาก โดยต้องตรวจสอบวา่ ผูเ้ รยี นเกดิ
สมรรถนะสำคญั ตามทห่ี ลกั สูตรแกนกลาง พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนด

เกณฑ์การผ่านเลอื่ นช้นั
และการจบการศกึ ษาภาคบังคบั ตามหลักสูตรแกนกลาง

เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

๑. ระดับประถมศึกษา
การตัดสินผลการเรียน
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดโครงสรา้ ง เวลาเรยี น มาตรฐานการเรยี นร/ู้

ตวั ชวี้ ัด การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ท่สี ถานศกึ ษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การ
เรยี นรู้ มคี ณุ ภาพเตม็ ตามศักยภาพและให้สถานศกึ ษากำหนดหลักเกณฑ์การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ เพอ่ื ตัดสนิ ผลการเรยี นของ
ผู้เรยี น ดังนี้

๑) ผเู้ รยี นตอ้ งมีเวลาเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้ังหมด
๒) ผ้เู รยี นตอ้ งไดร้ ับการประเมินทุกตัวชี้วดั และผ่านตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากำหนด
๓) ผูเ้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรยี นทุกรายวชิ า
๔) ผูเ้ รยี นต้องไดร้ บั การประเมนิ และมผี ลการประเมินผ่านตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด ในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ละกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
ผ้เู รยี นที่จะได้รบั การอนมุ ัติให้เล่ือนชนั้ ตอ้ งมีคณุ สมบตั ดิ ังน้ี
๑) ไดร้ บั การตัดสินผลการเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นร้แู ละรายวิชาเพม่ิ เติม ผา่ นเกณฑท์ โี่ รงเรยี นกำหนด
๒) ได้ระดบั ผลการเรยี นไมต่ ำ่ กวา่ 1 ในรายวิชาพน้ื ฐานทง้ั ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และไดร้ ะดบั ผลการเรียนเฉล่ยี ในปกี ารศกึ ษา

น้ัน ไมต่ ำ่ กวา่ 1.00
๓) ผา่ นการประเมินคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคต์ ามเกณฑป์ ระเมนิ ทโี่ รงเรยี นกำหนด
๔) ผ่านการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นส่ือความตามเกณฑ์ประเมนิ ทโ่ี รงเรยี นกำหนด
๕) ผ่านการประเมินผลการเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ตามเกณฑ์ประเมนิ ทโ่ี รงเรียนกำหนด
๒. ระดบั มธั ยมศกึ ษา เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
๑). เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานและวชิ าเพิ่มเตมิ โดยเปน็ รายวิชาพ้นื ฐาน ๖๖ หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพิม่ เตมิ ตามทสี่ ถานศกึ ษา

กำหนด
๒) ได้หน่วยกติ ตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกวา่ ๗๗ หนว่ ยกิต เปน็ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๖๖ หนว่ ยกิต และรายวิชาเพิ่มเตมิ ตามท่ี

สถานศกึ ษากำหนดและไม่น้อยกวา่ ๑๑ หน่วยกติ
๓) มผี ลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ท่โี รงเรียนกำหนด
๔) มีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ทโี่ รงเรยี นกำหนด
๕) เข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและมีผลการประเมิน ตามเกณฑ์การประเมนิ ทโี่ รงเรยี นกำหนด

๒๖

การบรหิ ารงานฝ่ ายสง่ เสรมิ การศกึ ษา

ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา เป็นหน่วยงานสนับสนุนเพื่อการพัฒนาศักยภาพนักเรียน ให้เกิดการเรียนรู้อย่าง
หลากหลายรูปแบบ ดำเนินงานนอกเหนือจากการเรียนการสอนปกติ เกี่ยวกับ งานพฤติกรรมนักเรียน งานอนามัยและ
โภชนาการ งานระบบช่วยเหลือนักเรียน งานกิจกรรม งานบริการรถรับ – ส่งนักเรียน รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมให้ร่ม
รื่น สวยงาม เหมาะกับการจัดการเรียนการสอน พร้อมทั้งข้อควรปฏิบัติร่วมกันระหว่างบ้านและโรงเรียนให้เป็นไปใน
ทิศทางเดียวกัน

๒๗

ระเบยี บโรงเรียนประภสั สรวิทยา
ว่าด้วยเรือ่ ง เครอื่ งแต่งกายของนักเรยี น ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

**********************
โรงเรยี นไดก้ ำหนดระเบียบ วา่ ด้วยเครื่องแต่งกาย ของนักเรียนโรงเรียนประภสั สรวทิ ยา ใหเ้ ปน็ ในทศิ ทาง
เดยี วกนั ตามเครื่องแบบนักเรยี นท่ีโรงเรียนกำหนด จงึ เหน็ สมควรใหก้ ำหนดระเบียบน้ีไว้ดังน้ี
ขอ้ ๑ เคร่อื งแบบนกั เรียน / ชุดพลศกึ ษา / ชดุ อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย
๑.๑ ระดบั อนบุ าล

เคร่ืองแบบนกั เรียนอนุบาล MEC

เครือ่ งแบบนักเรียนอนุบาล IEP

๒๘

ชุดพลศึกษา / ชุดลายไทย ระดบั อนบุ าล

๑.๒ ระดับประถม

เครอื่ งแบบนกั เรยี นประถม MEC

๒๙

เครื่องแบบนกั เรียนประถม IEP

๑.๓ ระดบั มัธยม

เครือ่ งแบบนกั เรยี นมธั ยม IEC

เคร่อื งแบบนักเรียนมัธยม IEP

๓๐

ชุดพละ / ชดุ ลายดอก ระดับประถม – ระดับมัธยมต้น
ข้อ ๒ การสวมใส่ เครื่องแบบ ให้ดำเนินการดังนี้

๒.๑ ให้ยึดตามตารางเรียนในแตล่ ะวนั เป็นแนวปฏิบตั ิ
๒.๒ ขนาดของเครื่องแบบนักเรียน ทกุ ชุด ใหเ้ หมาะสมกบั สรรี ะรา่ งกาย ตามวัย
๒.๓ เส้อื นักเรยี นห้องเรยี นปกติ / ห้องเรียน IEC ระดับมัธยมศึกษา ใหป้ กั ตวั อกั ษรด้วยด้ายสีแดงเปน็ ภาษาไทย

บริเวณหน้าอกเสื้อด้านขวา ทั้งชายและหญงิ
๒.๔ เสื้อนกั เรยี นหอ้ งเรยี น MEC ในระดบั อนุบาล และประถม ใหป้ ักตวั อกั ษรด้วยด้ายสีน้ำเงนิ เป็นภาษาอังกฤษ

บริเวณหน้าอกเสอื้ ด้านขวา ทงั้ ชายและหญิง
๒.๕ ชดุ พลศกึ ษา

๒.๕.๑ ระดับอนบุ าล เสือ้ สขี าว ปกั ช่ือด้วยดา้ ยสีแดง
๒.๕.๒ ระดับประถมศึกษา เสือ้ สเี หลือง ปกั ชือ่ ดว้ ยด้ายสนี ้ำเงนิ
๒.๕.๓ ระดบั มัธยมศึกษา เสอื้ สแี ดง ปักชอื่ ดว้ ยด้ายสีขาว
๒.๕.๔ กางเกงวอรม์ ทุกระดบั ชน้ั เป็นสกี รมทา่ ด้านขา้ งกางเกงวอรม์ เป็นแถบสีประจำโรงเรียน พ้ืนแดง

ขลบิ ขาว ตามทีโ่ รงเรียนกำหนด
๒.๕.๕ หมวกกิจกรรมใชใ้ นวันสวมชดุ พลศึกษาหรือการออกไปทำกจิ กรรมภายนอกโรงเรียน
๒.๖ กางเกงนกั เรียนทุกระดบั ชนั้ ทุกชดุ ความยาวของขากางเกงต้องสงู กว่าหวั เข่าไม่เกนิ ๔ เซนติเมตร ห้าม
ดดั แปลงหรือเปลี่ยนทรง
๒.๗ กระโปรงนักเรยี นทุกระดับชัน้ ทกุ ชุด ความยาวของชายกระโปรงต้องคุมหัวเข่า หา้ มดดั แปลง หรือเปลยี่ น
ทรง
ขอ้ ๓ ทรงผม ใหใ้ ช้ตามระเบียบของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าด้วยการไว้ทรงผมของนักเรยี น ใหป้ ฏิบัตดิ ังนี้
๓.๑ นกั เรยี นชาย จะไว้ผมส้ันหรือยาวก็ได้ กรณีไวผ้ มยาว ด้านข้างและด้านหลงั ต้องยาวไม่เกนิ ตีนผม ดา้ นหนา้
และ กลางศรีษะต้องไม่เกิน ๕ เซนตเิ มตร
๓.๒ นักเรียนหญิง จะไว้ผมสน้ั หรือยาวกไ็ ด้ กรณีไว้ผมยาว ให้ถกั เปยี เป็น ๒ เสน้ และผูกโบวใ์ ห้เหมาะสมและ

๓๑

เรยี บรอ้ ย
๓.๒.๑ ระดบั อนบุ าล-ประถม สแี ดง
๓.๒.๒ ระดับมัธยม สขี าว

๓.๓ นักเรยี นห้ามปฏิบัตติ น ดังนี้
๓.๓.๑ ห้ามดดั ผม
๓.๓.๒ ห้ามยอมสีให้ผดิ ไปจากเดมิ
๓.๓.๓ ห้ามไว้หนวดและเครา
๓.๓.๔ ห้ามกระทำอ่นื ใดซ่ึงไม่เหมาะสมกบั สภาพการเปน็ นักเรยี น เชน่ การตัดทรงผมเป็นรปู ทรง
สญั ลกั ษณ์ หรอื เป็นลวดลาย

๓.๔ ความในข้อ ๓.๑ ๓.๒ และ ๓.๓ มใิ หน้ ำมาใช้บังคับแก่นักเรยี นที่มีเหตผุ ลความจำเปน็ ในการปฏิบตั ติ าม
หลักศาสนาของตนหรือการดำเนินกจิ กรรมของสถานศึกษา ทัง้ น้ีให้หวั หนา้ สถานศกึ ษาเปน็ ผ้อู ำนาจในการ
พจิ ารณา

ข้อ ๔ ชดุ วา่ ยน้ำของโรงเรียนสีดำ-แดง สวมใสเ่ หมอื นกนั ทุกระดบั ชัน้ พร้อมอุปกรณ์หมวก แวน่ ตาว่ายน้ำ นกั เรยี น
สวมใส่ เฉพาะ ในชว่ั โมงเรยี นพลศกึ ษาหรือช่วงการฝึกทักษะเพมิ่ เติม

ข้อ ๕. ชุดอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทยตามระดบั ช้นั ทีโ่ รงเรียนกำหนด เสื้อลายดอก กางเกงพลศึกษา ทกุ วนั ศุกร์
ข้อ ๖ เคร่อื งแบบ ลกู เสอื และเนตรนารี ตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร

๖.๑ ลูกเสอื สำรอง ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๓

๓๒

๖.๒ ลูกเสอื สามญั ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔-๖
๖.๓ ลกู เสือสามญั รุ่นใหญ่ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓

ข้อ ๗ ประกาศน้ีให้ใช้บังคบั ว่าด้วยเรอื่ งการแต่งกาย เคร่อื งแต่งกายของนักเรียน ประจำปีการศกึ ษา ๒๖๕๖
ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ ๒๕๖๕ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันท่ี ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๖๕๖

(ดร.ชลกร ตนั ประภัสร์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นประภสั สรวทิ ยา

๓๓

ระเบียบโรงเรยี นประภสั สรวิทยา
วา่ ดว้ ยเรือ่ งเวลาการมาเรยี น การหยดุ เรียน(ลาป่วย ลากิจ ลากลับกอ่ นเวลา)

ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
***********

โรงเรยี นประภสั สรวิทยากำหนดใหน้ ักเรียนทุกคนไดม้ ีโอกาสศกึ ษาเรียนรู้ใหเ้ ต็มตามศักยภาพ โดยกำหนด
ระเบยี บเก่ียวกับ เวลาการมาเรยี น การหยุดเรียน ( ลาปว่ ย ลากิจ ลากลบั ก่อนเวลา) ไวด้ งั นี้
ข้อ ๑ การลาหยดุ ของนักเรยี นทกุ กรณี ใหผ้ ปู้ กครองเป็นผูแ้ จ้งกบั ครปู ระจำช้ัน หรือสำนักงานธุรการโรงเรียน ในวนั ที่

กลบั เขา้ มาเรยี น นักเรียนต้องย่นื ใบลากับครูประจำช้นั และแจง้ เหตผุ ลใหท้ ราบทุกคร้งั เพือ่ การตดิ ตาม
ส่วนท้ายของใบลา ให้ผปู้ กครองลงลายมอื ช่ือของผู้ปกครอง ด้วยหากปรากฏวา่ นักเรียนคนใดปลอมลายเซน็
ผปู้ กครอง ถือว่าปลอมแปลงเอกสาร ใหค้ วามเทจ็ ต่อโรงเรยี น
ขอ้ ๒ หากนักเรยี นขาดเรียนโดยไมส่ ่งใบลา หรือไม่แจ้งใหค้ รูประจำชั้นทราบ ติดต่อกัน ๓ วันโรงเรียนจะดำเนินการดังน้ี
๒.๑ ครูประจำชั้นจะแจ้งเร่อื งการขาดเรียนให้ผูป้ กครองทราบ
๒.๒ หากโรงเรียนไม่ได้รับการติดต่อตามเวลาทน่ี ัดหมาย โรงเรียนจะเชญิ ผู้ปกครองมาพบเพื่อรับทราบด้วยตนเอง
๒.๓ หากนกั เรียนคนใดขาดเรียนบ่อยครั้ง และมีแนวโน้มทำให้เกิดผลเสีย ต่อการเรยี นจะเชิญผ้ปู กครองมาพบเพื่อ
ดำเนินการแก้ไข
๒.๔ หากผู้ปกครองไมม่ าตดิ ต่อกบั โรงเรยี น ทางฝ่ายปกครองจะเสนอเร่ืองใหผ้ ู้บริหารทราบ และพจิ ารณาเพ่ือ
ดำเนนิ การตามลำดับข้นั ต่อไป
๒.๕ กรณนี กั เรยี นมเี วลาเรยี นไม่ครบ ๘๐% นักเรยี นต้องย่ืนคำรอ้ งขอมสี ทิ ธิพร้อมด้วยหลกั ฐานการขาดเรยี น
เชน่ ใบลา และใบรับรองแพทย์ (ถ้าม)ี
ข้อ ๓ การมาสายแต่ละครัง้ ต้องขอรับใบแจง้ เขา้ ห้องเรียนทหี่ อ้ งปกครอง ถา้ นกั เรียนมาสายบ่อยคร้งั โดยมเี หตผุ ล อันไม่
สมควร จะถกู ตัดคะแนนความประพฤติ และเชญิ ผู้ปกครองมารบั ทราบพฤติกรรมเพอ่ื การปรับปรุงและแก้ไข
ถา้ หากไมไ่ ดร้ บั การแก้ไข นักเรยี นอาจไม่ได้รบั การพิจารณาใหเ้ ข้าสอบปลายภาคในรอบปกติ
ขอ้ ๔ การขออนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรียน นักเรียนต้องมีเหตุผลอันสมควร หรอื มีความจำเป็นเร่งด่วน จงึ จะไดร้ ับ
อนญุ าต และสามารถออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นได้ โดยตอ้ งปฏิบัติตามข้นั ตอนดงั นี้
๔๑ ผูป้ กครองนักเรยี น จะต้องมาแจง้ ความประสงค์ กับทางสำนักงานธรุ การของโรงเรยี น ด้วยตัวผูป้ กครองเอง
หา้ มมิ ให้บุคคลอ่นื ท่ีไม่ไดเ้ ก่ียวขอ้ ง มาทำเรื่องขอรบั กลบั โดยเดด็ ขาด ทัง้ นโี้ รงเรียนขอสงวนสทิ ธ์ิ ไม่ให้นักเรยี น
ลากลบั บ้านก่อนเวลากบั บุคคลอ่ืนท่ีไม่ใชผ่ ู้ปกครอง โดยผู้ปกครองตอ้ งลงรายมอื ช่ือเปน็ ผู้รับนักเรยี นกลับ และ มผี ู้
ลงรายมือชื่ออนญุ าตใหอ้ อก
๔.๒ ส่งใบขออนุญาตออกนอกโรงเรียน ให้กบั เจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภยั ของโรงเรยี น จงึ จะออกนอกบรเิ วณ
ได้ ถือวา่ ขน้ั ตอนการขออนุญาต เสร็จสิ้นสมบูรณ์ (กรณีไปทำธุระและกลบั มาให้นำใบอนุญาตจาก รปภ. มาย่ืน
ต่อครผู สู้ อน/ครูประจำชัน้ เพ่อื เข้าชั้นเรียนตอ่ ไป)

๓๔

ขอ้ ๕ ประกาศน้ใี หใ้ ช้บังคับวา่ ดว้ ยเรือ่ งเวลาการมาเรยี น การหยุดเรียน(ลาป่วย ลากจิ ลากลับก่อนเวลา)
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
ต้งั แต่วนั ท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันท่ี ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(ดร.ชลกร ตันประภสั ร์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นประภัสสรวทิ ยา

๓๕

ระเบยี บโรงเรยี นประภสั สรวิทยา

ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์และวธิ ีตัดคะแนนความประพฤตินกั เรยี น พ.ศ. ๒๕๖๕

*****************
โรงเรียนประภสั สรวทิ ยา ไดก้ ำหนด กฎ ระเบยี บ และขอ้ ปฏบิ ัติ ในดา้ นความประพฤตขิ องนกั เรยี น เพอ่ื เป็น
แนวทางพัฒนาพฤติกรรมนักเรยี นให้ปฏิบตั ติ นอยรู่ ่วมกันในโรงเรยี นอย่างมคี วามสุข ตามระเบยี บแบบแผนทางสงั คม
โรงเรียนประภัสสรวิทยาจึงกำหนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการตัดคะแนนความประพฤตินกั เรียน เพอื่ ให้เหมาะสม จงึ อาศัย
อำนาจตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ด้วยการลงโทษนักเรยี น-นักศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ และกฎกระทรวงว่าดว้ ย
ความประพฤตินักเรยี น-นกั ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ โรงเรยี นประภัสสรวิทยา จงึ วางระเบยี บไวด้ งั ต่อไปน้ี
ข้อ ๑ ระเบยี บนเี้ รียกวา่ “ระเบียบโรงเรยี นประภสั สรวิทยา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวธิ ีตัดคะแนนความ

ประพฤตินักเรียน-นกั ศึกษา พ.ศ.2565”
ข้อ ๒ ระเบยี บน้ีใชบ้ ังคับ ในปกี ารศึกษา 2565 ตลอดปีการศกึ ษา ข้อบังคับอื่นใดท่ีระเบยี บนีก้ ำหนดไว้ หรือ

ขัดแยง้ กับระเบียบน้ีใหใ้ ช้ระเบียบนแ้ี ทน
ขอ้ ๓ ในระเบยี บนี้

“กระทำผดิ ” หมายความว่า การที่นักเรยี น ประพฤตฝิ า่ ฝนื ระเบยี บข้อบังคับ ของสถานศึกษา หรือ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรือกฎกระทรวง ว่าดว้ ยการสง่ เสรมิ ความประพฤตินักเรยี น
นักศึกษา

“การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรยี นหรือนกั ศึกษาทีก่ ระทำความผิด โดยมคี วามมุ่งหมาย
เพ่ือการอบรมสงั่ สอน
ขอ้ ๔ โทษทจ่ี ะลงโทษนักเรยี น ที่กระทำผดิ มี ๕ สถานดังนี้
๔.๑ วา่ กลา่ วตักเตอื น
๔.๒ ทำทัณฑ์บน
๔.๓ ตดั คะแนนความประพฤติและบนั ทึกข้อมูล
๔.๔ ทำกจิ กรรมเพื่อปรบั เปล่ียนพฤติกรรม
๔.๕ สำหรบั นักเรียนท่ถี ูกตัดคะแนนพฤตกิ รรมมากกวา่ ๕๐ คะแนน โรงเรียนจะดำเนินการจดั คา่ ยเพื่อ

ปรบั เปลย่ี นและพัฒนาวินัย(ผู้ปกครองรบั ผดิ ชอบค่าใช้จา่ ยในการร่วมกิจกรรม)
ขอ้ ๕ การว่ากลา่ วตกั เตือน ใชใ้ นกรณนี ักเรียน กระทำความผดิ ที่ไม่ร้ายแรง หรือในดลุ ยพนิ ิจของครูฝา่ ย

ปกครอง
ข้อ ๖ การทำทัณฑ์บน ใช้ในกรณที ีน่ ักเรียนท่ปี ระพฤติตนไมเ่ หมาะสมกบั สภาพนักเรยี น ตามกฎกระทรวงวา่

ดว้ ยความประพฤตินักเรียนนักศึกษา หรือกรณีท่ีทำใหเ้ ส่อื มเสียชอื่ เสียงและเกียรตยิ ศของสถานศึกษา
หรอื ฝ่าฝนื ระเบียบของสถานศึกษา หรือได้รบั โทษตักเตือนแลว้ แต่ยังกระทำซ้ำอกี
ข้อ ๗ การตัดคะแนนความประพฤตินักเรยี น ให้พิจารณาระดับความผิดตามความเหมาะสมแตล่ ะกรณีความผิด

๓๖

เปน็ รายๆไป โดยคะแนนความประพฤติในหนึ่งเทอมการศึกษา มี ๑๐๐ คะแนน
ขอ้ ๘ การตัดคะแนนระดบั พฤติกรรมความผิด โรงเรียนไดว้ างเกณฑ์เก่ยี วกับการตดั คะแนนความประพฤติดังน้ี

๘.๑ ระดับพฤติกรรมความผิดทต่ี ัดครัง้ ละไม่เกิน ๕คะแนน ดงั น้ี
๘.๑.๑ ใชว้ าจาไมส่ ุภาพ
๘.๑.๒ มาโรงเรียน สาย / เขา้ หอ้ งเรียนช้า / ไม่เข้าแถวเคารพธงชาติ
๘.๑.๓ แจ้งลากจิ /ลาปว่ ย/ขาดเรียน
๘.๑.๔ สวมเครอื่ งประดับ
๘.๑.๕ กระเป๋านักเรยี นผดิ ระเบียบ
๘.๑.๖ หนีคาบเรียน / ไมเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรม /ไม่เขา้ โฮมรมู
๘.๑.๗ ออกนอกห้องเรียนโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
๘.๑.๘ เลบ็ ยาว /แตง่ หน้า ทาปาก / ใส่คอนแทคเลนส์แบบบิ๊กอายส์ / เจาะหู มากกวา่ 1 รู
๘.๑.๙ ลอ้ เลียน / แกล้งเพื่อน
๘.๑.๑๐ ขัดคำสั่งครู
๘.๑.๑๑ นำอาหารและเครื่องดื่มข้นึ ไปรบั ประทานบนอาคารเรยี น / ทงิ้ ขยะไม่เป็นท่ี
๘.๑.๑๒ หยิบของโดยไม่ได้รบั อนญุ าต
๘.๑.๑๓ ไม่ส่งโทรศัพท์ใหค้ รู
๘.๑.๑๔ ก่อกวน-พฤติกรรมไม่เหมาะสมในห้องเรียน

๘.๒ ระดบั พฤตกิ รรมความผิดทต่ี ัดครงั้ ละไมเ่ กนิ ๑๐ คะแนน ดังน้ี
๘.๒.๑ ทรงผมผดิ ระเบยี บ/ ผมผดิ ทรง / ทำสี / ไวห้ นวด เครา / ต่อผม
๘.๒.๒ ขม่ ขูเ่ พอื่ นนักเรยี นดว้ ยวาจา หรอื ทางกาย
๘.๒.๓ โพสตค์ ำไม่สภุ าพ รปู ภาพหรอื คลปิ วดี ีโอ ท่ีไมเ่ หมาะสม ในชุดนกั เรยี น ในสอ่ื โซเซียล
ตา่ งๆ
๘.๒.๔ ใช้โทรศัพท์มือถือ วทิ ยุ เครอื่ งเสียง ทุกชนดิ กล้องถ่ายรูป เลน่ เกมหรืออปุ กรณ์
สอ่ื สารใด ๆ ในขณะครสู อน ในขณะทำกจิ กรรมหน้าเสาธงและกจิ กรรมอื่น ๆ

๘.๓ ระดับพฤติกรรมความผิดที่ตดั ครั้งละไมเ่ กิน ๑๕ คะแนน ดังน้ี
๘.๓.๓ ปลอมลายมอื ชื่อ / แอบอ้างนำบุคคลอืน่ มาเปน็ ผปู้ กครอง
๘.๓.๒ หนีออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นโดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต / ปีนร้ัวเขา้ หรือออกโรงเรียน
๘.๓.๓ พกบหุ ร่ี / มีที่จุดบหุ ร่/ี สูบบหุ รี่ในสถานศึกษา (เสยี ค่าปรบั ตามกฎหมาย)
๘.๓.๔ มหี รือจดุ ประทัด พลไุ ฟ ในโรงเรยี น
๘.๓.ค ระเบดิ หู เจาะคิ้ว เจาะลน้ิ สักลาย
๘.๓.๖ ขับข่รี ถจักรยานยนตแ์ ละรถยนต์ภายในโรงเรยี น โดยไมม่ ผี ู้ปกครองโดยสารมาดว้ ย

๘.๔ ระดับพฤตกิ รรมความผดิ ท่ตี ัดครั้งละไม่เกนิ ๒๐ คะแนน ดงั นี้
๘.๔.๑ ปลอมแปลงบัตรนกั เรียน / ขีดเขยี นพน่ สีบนทรัพย์สนิ ของโรงเรียน
๘.๔.๒ กา้ วรา้ วตอ่ ครู / ทำลายทรัพยส์ ินของครูและของโรงเรียนโดยเจตนา

๓๗

๘.๔.๓ เล่นการพนนั / รีดไถเงิน / ลักทรัพย์ ลักขโมย กรรโชกทรพั ย์ ท้งั ในและนอกโรงเรียน
๘.๔.๔ เท่ียวกลางคืนในสถานเริงรมย์ / ดืม่ ของมึนเมา / มั่วสุมนอกสถานศึกษาในเครื่องแบบ
นกั เรยี น
๘.๔.๕ มสี ือ่ ลามกและเผยแพร่สือ่ ลามก / ทำอนาจาร
๘.๔.๖ ชายหญิงอย่ใู นที่ลับตาสองตอ่ สอง / ประพฤติไม่เหมาะสมในเรื่องชูส้ าว
๘.๔.๗ ทะเลาะววิ าท
๘.๔.๘ ทำรา้ ยรา่ งกาย
๘.๕ ระดับพฤติกรรมความผดิ ท่ีให้พน้ สภาพนักเรยี น ดังน้ี
๘.๕.๑ ครอบครองหรือจำหน่ายหรือเสพสารเสพตดิ ท่ีผดิ กฎหมาย
๘.๕.๒ ครอบครองหรือจำหน่ายหรือใช้อาวุธที่ผดิ กฎหมายในการทะเลาะววิ าท
ข้อ ๙ ผลการตดั คะแนน
๙.๑ กรณีถูกตดั คะแนนรวมทั้งสิ้น ๒๐ คะแนนใหท้ ำกิจกรรมบำเพญ็ ประโยชนต์ ามท่โี รงเรียนกำหนด
จำนวน ๑๐ ชว่ั โมง หรอื ตามความเหน็ ชอบของมตทิ ี่ประชมุ ของคณะกรรมการส่วนงานปกครอง
๙.๒ กรณีถกู ตดั คะแนนรวมท้ังส้ิน ๓๐ คะแนนใหท้ ำกิจกรรมบำเพญ็ ประโยชนต์ ามทโ่ี รงเรยี นกำหนด
จำนวน ๒๐ ช่วั โมง หรอื ตามความเหน็ ชอบของมติท่ีประชุมของคณะกรรมการส่วนงานปกครอง
๙.๓ กรณีถูกตดั คะแนนรวมทั้งสิ้น ๔๐ คะแนน ให้ทำกจิ กรรมบำเพ็ญประโยชนต์ ามที่โรงเรียนกำหนด
จำนวน ๓๐ ชวั่ โมง หรือตามความเห็นชอบของมติทีป่ ระชมุ ของคณะกรรมการสว่ นงานปกครอง
๕.๔ กรณีถูกตดั คะแนนรวมทั้งสิ้น มากกวา่ ๕๐ คะแนน จะถูกใหเ้ ขา้ คา่ ยพัฒนาวนิ ยั ตามแผนงานของ
ฝา่ ยปกครอง (ผู้ปกครองรบั ผิดชอบคา่ ใชจ้ ่ายในการร่วมกิจกรรม)
๙.๕ นักเรยี นทีถ่ กู เขา้ ร่วมกิจกรรม ค่ายพฒั นาวนิ ัย จะต้องรับผิดชอบในสว่ นของค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วม
กจิ กรรม และหากผ่านการเขา้ คา่ ยแลว้ ยงั ไมส่ ามารถปรับตัว หรอื ไมแ่ ก้ไขความประพฤติให้ดีขึน้
อาจพจิ ารณาให้เขา้ คา่ ยซำ้ อกี ครงั้ หรือ พกั การเรยี น หรอื ยา้ ยสถานศึกษา
ข้อ ๑๐อำนาจการตัดคะแนนความประพฤติ
๑๐.๑ คร-ู อาจารย์ในสถานศึกษา มีอำนาจในการตัดคะแนนความประพฤตินักเรยี นแตล่ ะคน ท่ีได้
กระทำผิดไมเ่ กินครงั้ ละ ๑๐ คะแนน
๑๐.๒ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน หวั หนา้ งานปกครอง มีอำนาจสั่งตดั คะแนนความ
ประพฤตนิ ักเรยี นแตล่ ะคนที่ไดก้ ระทำผิดไม่เกนิ คร้ังละ ๒๐ คะแนน
๑๐.๓ การตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนทกี่ ระทำความผดิ ครง้ั ละมากกวา่ ๒๐ คะแนน ใหต้ ้ัง
คณะกรรมการพิจารณา
๑๐.๔ การลงโทษนักเรียน ผู้ลงโทษจะลงโทษได้ จะต้องปรากฏข้อเทจ็ จรงิ ชัดแจ้งว่าผู้นั้นได้กระทำ
ความผดิ และสมควรถูกลงโทษ และการสัง่ ตัดคะแนนความประพฤติทุกครงั้ จะต้องมีหลกั ฐาน
ประกอบ
๑๐.๕ การตดั คะแนนความประพฤตใิ หเ้ ร่ิมตน้ นับใหม่ เมื่อเร่มิ เทอมใหม่ของปีการศึกษาน้ันๆ

๓๘

ขอ้ ๑๑ การตดั คะแนนความประพฤตินักเรยี น ใหด้ ำเนินการดังต่อไปน้ี
๑๑.๑ แจง้ ใหน้ ักเรยี น ผนู้ น้ั ทราบ
๑๑.๒ แจ้งให้ผ้ปู กครองนักเรียนผู้นน้ั ทราบ
๑๑.๓ รายงานผลการพิจารณาตดั คะแนนความประพฤติตามลำดบั ขนั้
๑๑.๔ ให้งานปกครองรวบรวม จัดเกบ็ ข้อมลู คะแนนความประพฤตทิ ถี่ ูกตดั ของนักเรยี นแตล่ ะคนเปน็
หลกั ฐานร่องลอยเพื่อการพจิ ารณาอ่ืน ๆต่อไป

ข้อ ๑๒ ให้หัวหน้างานปกครอง รักษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บน้ี รวมทงั้ ใหม้ ีอำนาจตคี วามและวินิจฉัยปญั หาท่ี
เกดิ ข้นึ กับการปฏบิ ตั ิตามระเบียบน้ี ทัง้ น้ตี ง้ั แตบ่ ดั นี้เป็นต้นไป
สัง่ ณ วนั ท่ี ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(ดร.ชลกร ตันประภสั ร์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนประภัสสรวทิ ยา

๓๙

ระเบียบโรงเรยี นประภสั สรวิทยา
ว่าด้วยการใช้โทรศัพท์เคลอื่ นที่ (มือถือ) และเคร่อื งมือสื่อสารทุกชนิด

*******************
โรงเรยี นประภัสสรวทิ ยา ไดก้ ำหนดระเบียบ ว่าดว้ ยการใช้โทรศัพท์ (มอื ถอื ) และเครือ่ งสอ่ื สารทกุ ชนิดของ
นกั เรียน ให้เปน็ ในทิศทางเดียวกัน ในทางท่สี รา้ งสรรค์ จึงเห็นสมควรใหก้ ำหนดระเบยี บน้ีไว้ดงั นี้
ขอ้ ๑ ระเบยี บน้ีเรยี กว่า “ ระเบยี บโรงเรียนประภสั สรวทิ ยา “ วา่ ดว้ ยการใช้โทรศพั ท์เคลื่อนท่ี ( มือถือ) และ

เครอื่ งมอื ส่ือสารทกุ ชนิดในโรงเรียน
ข้อ ๒ ใหใ้ ชร้ ะเบยี บนี้ ตลอด ปีการศึกษา ๒๕๖๕
ข้อ ๓ โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี( มือถือ) และเคร่ืองมือส่อื สารทุกชนดิ หมายถึง

๓.๑ โทรศพั ท์เคลื่อนท(่ี มือถือ) และเคร่ืองมือส่อื สารทุกชนดิ ของนักเรียนท่ผี ูป้ กครองอนญุ าตให้ใช้ และ
นำมาโรงเรียน

๓.๒ โทรศัพท์เคล่อื นท(ี่ มือถือ) และเครือ่ งมือสือ่ สารทุกชนดิ ของนกั เรยี นท่ผี ้ปู กครองไมอ่ นุญาตใหใ้ ช้
และ นำมาโรงเรียน

ข้อ ๔ ครหู มายถึง ครโู รงเรยี นประภัสสรวิทยา และบคุ ลากรท่ีทำหน้าทส่ี อนและงานบริการอ่นื ๆในโรงเรียน
ประภัสสรวทิ ยาทกุ คน

ข้อ ๕ ข้อกำหนดการใช้โทรศัพท์เคลื่อนท(ี่ มือถือ) และเครื่องมือส่ือสารทกุ ชนดิ
๕.๑ นักเรียนตอ้ งนำโทรศัพท์มาลงทะเบยี นขออนญุ าตนำโทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี( มือถือ) และเคร่ืองมือ
สื่อสาร ทุกชนดิ มาโรงเรยี นตามประกาศของโรงเรียน
๕.๒ ไมอ่ นญุ าตให้นักเรียนเปิดหรอื ใชโ้ ทรศัพท์ในขณะมกี ารเรยี นการสอน หากมีเหตุจำเป็นให้ขออนญุ าต
ครผู ูส้ อนหรอื ครูผ้เู กย่ี วขอ้ งในสถานการณ์นนั้
๕.๓ ใหใ้ ชใ้ นการติดต่อส่ือสารในธรุ ะทจ่ี ำเป็นเท่าน้นั
๕.๔ กำหนดชว่ งเวลาของการใชโ้ ทรศพั ท์ ดงั น้ี
๕.๔.๑ เชา้ ก่อน เวลา ๐๘.๐๐ น.
๕.๔.๒ ส่งโทรศัพท์ให้ครปู ระจำชัน้ ๘.๐๐ - ๑๕.๓๐ น.
๕.๔.๓ เยน็ หลงั เวลา ๑๕.๓๐ น.
๕.๕ หา้ มนกั เรยี นใชโ้ ทรศัพท์เคล่ือนที(่ มือถอื ) และเครอ่ื งมือสอื่ สารทุกชนิด ถา่ ยรปู และถา่ ยคลิปตา่ ง ๆ
ในชวั่ โมงเรียนปกติ หรือคาบเรียนเรยี นพเิ ศษ ภายในห้องเรียน หรอื บริเวณในโรงเรียน และห้าม
เผยแพร่เป็นภาพหรือคลิปวีดีโอ ทีไ่ มเ่ หมาะสมกับสภาพเดก็ ในวัยเรียน ลงในโซเชยี ล ตา่ งๆ

๔๐

ขอ้ ๖ บทกำหนดโทษ
ถา้ พบเห็นนักเรียน ใชโ้ ทรศพั ท์ในทางท่ไี มส่ ร้างสรรค์ เช่น ใชใ้ นเวลาเรยี น ตรวจพบ คลปิ ลามก อนาจาร
ร่วมทง้ั ทำการถ่ายภาพท่ีไมเ่ หมาะสมกบั สภาพการเป็นนักเรียนโรงเรยี นประภสั สรวิทยาท้ังใน เครอื่ งแบบ
นักเรียนและชุดอื่น ๆ ฯลฯ ใหค้ รูท่ีพบเหน็ สามารถดำเนนิ การได้ดังนี้
๖.๑ ตกั เตือนด้วยวาจา บันทกึ พฤตกิ รรมทหี่ วั หนา้ ระดับและทำหน้าท่ีเปน็ จติ อาสา
๖.๒ ให้ฝ่ายปกครอง ตัดคะแนนความประพฤติ ตามระเบยี บในประกาศ วา่ ด้วยหลักเกณฑแ์ ละวิธตี ดั
คะแนนความประพฤตนิ ักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๕ บันทึกพฤติกรรม เกบ็ ยดึ โทรศัพท์ ใหผ้ ้ปู กครอง
มาติดตอ่ ขอรับคืน ตามทีฝ่ า่ ยปกครองเหน็ สมควร และบำเพ็ญประโยชน์ จิตอาสา ตามท่ีฝ่าย
ปกครองกำหนด ดังนี้
๖.๒.๑ ผดิ ครัง้ ท่ี ๑ ตดั คะแนน ๑๐ คะแนน ใหฝ้ ่ายปกครอง บันทึกพฤตกิ รรม เกบ็ ยึดโทรศัพท์ ๓
วัน และใหผ้ ูป้ กครองมา ติดต่อขอรบั คืน เม่ือถึงกำหนด และบำเพ็ญประโยชน์ จิตอาสา
๑๐ ชม.
๖.๒.๒ ผิดครัง้ ท่ี ๒ ตดั คะแนน ๑๕ คะแนน ให้ฝ่ายปกครอง บันทึกพฤตกิ รรม เก็บยึดโทรศัพท์ ๑
สปั ดาห์ และให้ผู้ปกครองมาตดิ ตอ่ ขอรบั คนื เมื่อถึงกำหนด และบำเพ็ญประโยชน์จติ อาสา
๒๐ ชม.
๖.๒.๓ ผดิ ครัง้ ท่ี ๓ ตดั คะแนน ๒๐ คะแนน ใหฝ้ า่ ยปกครอง บันทึกพฤตกิ รรม เกบ็ ยึดโทรศัพท์
เดอื น และให้ผู้ปกครองมาตดิ ตอ่ ขอรบั คนื เมอ่ื ถงึ กำหนด และบำเพ็ญประโยชน์ จติ อาสา
๓๐ ชม.
๖.๒.๔ ผิดคร้ังที่ ๔ ตดั คะแนน ๒๕คะแนน ให้ฝา่ ยปกครอง บันทกึ พฤตกิ รรม ยกเลิกการใช้โทรศัพท์
และ เครือ่ งมือสื่อสารทุกชนิดตลอดปีการศึกษา บำเพ็ญประโยชน์ จิตอาสา ๔๐ ชม.
๖.๒.๕ ในกรณนี ักเรยี นที่มคี วามผดิ ในข้อ(๖.๒.๑ -๖.๒.๔ ดว้ ยระดบั ความผดิ ต่างๆ นั้น และขณะอยู่
ในระหว่างรบั โทษ ถา้ พบเห็นนักเรียนใช้โทรศัพท์เคล่อื นท่ี( มือถอื ) และเครอื่ งมือสื่อสารทกุ
ชนดิ ของนกั เรยี นคนอ่นื (ยมื เพ่ือนใช้/ มี ๒ เคร่ือง) ถือว่าทำผดิ ระเบียบ จะถกู ตัดคะแนน
เปน็ ๒ เทา่ ของบทกำหนดโทษ

ข้อ ๗ กรณีอื่น ๆ นอกจากท่ีกำหนดไวใ้ นระเบยี บนี้ หรือมปี ัญหาเกี่ยวกบั การปฏิบัตติ ามระเบียบนใ้ี ห้อย่ใู นดลุ ย
พนิ ิจของผ้อู ำนวยการโรงเรียนประภัสสรวิทยา เป็นผูว้ นิ ิจฉยั ชขี้ าด

ข้อ ๘ ให้ฝ่ายปกครอง รักษาการให้เปน็ ไปตามระเบยี บนี้ ทง้ั น้ี ให้ใชร้ ะเบยี บน้ี ตลอดปกี ารศึกษา ๒๕๖๕
ข้อ ๙ ประกาศนใี้ หใ้ ช้บงั คับ ต้ังแตว่ ันท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(ดร.ชลกร ตันประภสั ร)์
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นประภสั สรวิทยา


Click to View FlipBook Version