คำนำ การดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการภายใต้กรอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี รวมทั้งนโยบายของรัฐบาลขับเคลื่อนร่วมกันยกระดับคุณภาพการศึกษาเต็มกำลัง ความสามารถอย่างเป็นกัลยาณมิตรต่อกัน ภายใต้แนวทางการทำงาน “จับมือไว้ แล้วไปด้วยกัน” และใช้สำนวนที่ เข้าใจง่ายคือ “เรียนดี มีความสุข” เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาไปด้วยกัน ซึ่งการเรียนการสอนจำเป็นต้องเริ่ม จากความสุขทั้งผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครอง เมื่อมีความสุขจะส่งผลให้การเรียนดีขึ้น เมื่อการเรียนดีขึ้นจะส่งผล กลับไปทำให้มีความสุขมากยิ่งขึ้น ดังนั้น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ได้รับความร่วมมือกันทั้งผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้ปกครองและชุมชน ขับเคลื่อนผลักดันในเรื่องการศึกษาให้เจริญรุดหน้า ยิ่งขึ้นไป ตามแนวคิดในการจัดการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ข้อหลัก คือ การศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ และการศึกษาเพื่อ ความมั่นคงของชีวิต โดยแบ่งเป็น ๒ เรื่องหลัก คือ นโยบายที่เน้นหนักในการทำงาน: ลดภาระครูและบุคลากร ทางการศึกษา และนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการ : ลดภาระนักเรียนและผู้ปกครอง และได้ดำเนินการตามนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธิการโดยได้จัดทำและรายงานไว้ในเอกสารนี้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด มกราคม ๒๕๖๗
สารบัญ หน้า แบบรายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ข้อมูลพื้นฐานด้านการศึกษา ๑ นโยบายที่ ๑ ลดภาระครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๕ ๑.๑ พัฒนาวิธีการประเมินวิทยฐานะครูและบุคลากรทางการศึกษา มุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๕ ๑.๒ พัฒนาหลักเกณฑ์ วิธีการแต่งตั้ง โอน ย้ายของครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในภูมิลำเนา ที่ตรงกับความประสงค์ของตนเอง เน้นพิจารณาด้วยความโปร่งใส และไม่มีการทุจริตคอร์รับชั่น ๑๘ ๑.๓ แก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เห็นผลเป็นรูปธรรม ๒๒ ๑.๔ จัดหาอุปกรณ์การสอนและสวัสดิการให้เพียงพอและเหมาะสม ๒๔ นโยบายที่ ๒ ลดภาระนักเรียนและผู้ปกครอง ๒๗ ๒.๑ เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา (Anywhere Anytime) เรียนฟรี มีงานทำ “ยึดผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง” มีระบบหรือแพลตฟอร์มการเรียนรู้ โดยผู้เรียนไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ๒๘ ๒.๒ จัดให้มีโรงเรียนคุณภาพ ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนคุณภาพ ๒๙ ๒.๓ พัฒนาระบบการแนะแนวการเรียน (Coaching) และเป้าหมายชีวิตให้เป็นรูปธรรม ๓๑ ๒.๕ การจัดทำระบบวัดผลเทียบระดับการศึกษา และประเมินผลการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนที่มีความสามารถเป็นเลิศ ไม่ต้องเสียเวลาเรียนในระบบ ประหยัดเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย ๓๒
ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ข้อมูลพื้นฐานด้านการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด มีปริมาณงานในความรับผิดชอบที่ ประกอบด้วยหน่วยงาน ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และโรงเรียนในสังกัด ดังนี้ ตารางที่ ๑ ข้อมูลสารสนเทศการจัดการศึกษา ที่ ประเภท จำนวน หน่วย ๑ บุคลากร สพม.จันทบุรี ตราด - ผู้บริหาร - บุคลากรทางการศึกษา ๓๘ ค(๑) - บุคลากรทางการศึกษา ๓๘ ค(๒) - พนักงานราชการ - ลูกจ้างประจำ - ลูกจ้างชั่วคราว ๓ ๕ ๓๔ ๓ ๑ ๙ คน คน คน คน คน คน รวมจำนวน ๕๕ คน ๒ จำนวนครูและบุคลากรในสถานศึกษา - ผู้อำนวยการสถานศึกษา - รองผู้อำนวยการสถานศึกษา - ครูผู้สอน - พนักงานราชการ - ลูกจ้างประจำ - ลูกจ้างชั่วคราว ๓๖ ๔๙ ๑,๔๖๔ ๖๒ ๓๓ ๔๙ คน คน คน คน คน คน รวมจำนวน ๑,๖๙๓ คน ๓ จำนวนสถานศึกษาในสังกัด สพม.จันทบุรี ตราด ๓๙ โรงเรียน ๔ จำนวนห้องเรียน ๙๐๑ ห้อง ๕ จำนวนนักเรียน - ระดับก่อนประถมศึกษา - ระดับประถมศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๐๘ ๓๑๒ ๑๔,๗๐๔ ๑๔,๔๑๖ รวมจำนวน ๒๘,๕๔๐ คน
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ตารางที่ ๒ แสดงจำนวนบุคลากรในสถานศึกษา โรงเรียนในสังกัด ผู้อำนวยการ สถานศึกษา รอง ผู้อำนวยการ สถานศึกษา ข้าราชการครู พนักงาน ราชการ ลูกจ้าง ประจำ ลูกจ้าง ชั่วคราว รวม ทั้งหมด จังหวัดจันทบุรี ๒๓ ๓๔ ๙๖๐ ๓๓ ๒๕ ๒๘๘ ๑,๑๐๓ จังหวัดตราด ๑๓ ๑๕ ๕๐๔ ๒๙ ๘ ๒๑ ๕๙๐ รวม ๒ จังหวัด ๓๖ ๔๙ ๑,๔๖๔ ๖๒ ๓๓ ๔๙ ๑,๖๙๓ ที่มา : ข้อมูลจากกลุ่มบริหารงานบุคคล ณ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ ตารางที่ ๓ แสดงข้อมูลจำนวนนักเรียน จำแนกตามระดับชั้น (ข้อมูล DMC ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๖) ระดับชั้น จันทบุรี ตราด รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ - - - ๒๙ ๓๑ ๖๐ ๒๙ ๓๑ ๖๐ ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ - - - ๒๑ ๒๗ ๔๘ ๒๑ ๒๗ ๔๘ รวมระดับก่อนประถม - - - ๕๐ ๕๘ ๑๐๘ ๕๐ ๕๘ ๑๐๘ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - - - ๒๑ ๒๕ ๔๖ ๒๑ ๒๕ ๔๖ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ - - - ๒๘ ๑๘ ๔๖ ๒๘ ๑๘ ๔๖ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ - - - ๒๗ ๒๔ ๕๑ ๒๗ ๒๔ ๕๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - - - ๒๓ ๒๕ ๔๘ ๒๓ ๒๕ ๔๘ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ - - - ๒๖ ๓๓ ๕๙ ๒๖ ๓๓ ๕๙ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ - - - ๒๗ ๓๕ ๖๒ ๒๗ ๓๕ ๖๒ รวมระดับประถมศึกษา - - - ๑๕๒ ๑๖๐ ๓๑๒ ๑๕๒ ๑๖๐ ๓๑๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๑,๕๑๘ ๑,๗๐๓ ๓,๒๒๑ ๙๖๕ ๙๐๒ ๑,๘๖๗ ๒,๔๘๓ ๒,๖๐๕ ๕,๐๘๘ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑,๔๙๘ ๑,๖๒๖ ๓,๑๒๔ ๘๗๑ ๙๑๘ ๑,๗๘๙ ๒,๓๖๙ ๒,๕๔๔ ๔,๙๑๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๑,๓๘๓ ๑,๕๗๓ ๒,๙๕๖ ๘๕๖ ๘๙๑ ๑,๗๔๗ ๒,๒๓๙ ๒,๔๖๔ ๔,๗๐๓ รวมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๔,๓๙๙ ๔,๙๐๒ ๙,๓๐๑ ๒,๖๙๒ ๒,๗๑๑ ๕,๔๐๓ ๗,๐๙๑ ๗,๖๑๓ ๑๔,๗๐๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๑,๓๗๗ ๑,๙๗๕ ๓,๓๕๒ ๖๑๗ ๘๒๗ ๑,๔๔๔ ๑,๙๙๔ ๒,๘๐๒ ๔,๗๙๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ๑,๒๖๑ ๑,๘๔๐ ๓,๑๐๑ ๕๔๔ ๗๖๘ ๑,๓๑๒ ๑,๘๐๕ ๒,๖๐๘ ๔,๔๑๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๑,๑๕๘ ๑,๘๐๗ ๒,๙๖๕ ๔๖๘ ๗๗๔ ๑,๒๔๒ ๑,๖๒๖ ๒,๕๘๑ ๔,๒๐๗ รวมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๓,๗๙๖ ๕,๖๒๒ ๙,๔๑๘ ๑,๖๒๙ ๒,๓๖๙ ๓,๙๙๘ ๕,๔๒๕ ๗,๙๙๑ ๑๓,๔๑๖ รวมทั้งสิ้น ๘,๑๙๕ ๑๐,๕๒๔ ๑๘,๗๑๙ ๔,๕๒๓ ๕,๒๙๘ ๙,๘๒๑ ๑๒,๗๑๘ ๑๕,๘๒๒ ๒๘,๕๔๐
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๓ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ตารางที่ ๔ แสดงจำนวนนักเรียน /บุคลากร /ห้องเรียน จำแนกรายอำเภอ อำเภอ ที่ โรงเรียน ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย รวม จำนวน ห้องเรียน ขนาด โรงเรียน เมืองจันทบุรี ๑ เบญจมราชูทิศจังหวัดจันทบุรี ๑,๐๘๕ ๑,๗๕๒ ๒,๘๓๗ ๗๘ ใหญ่พิเศษ ๒ ศรียานุสรณ์ ๑,๑๑๖ ๑,๖๖๓ ๒,๗๗๙ ๗๕ ใหญ่พิเศษ ๓ เบญจมานุสรณ์ ๘๙๑ ๙๑๐ ๑,๘๐๑ ๕๐ ใหญ่ ๔ บางกะจะ ๗๔ ๕๓ ๑๒๗ ๖ เล็ก ท่าใหม่ ๕ ท่าใหม่ “พูลสวัสดิ์ราษฎร์นุกูล” ๕๖๙ ๘๔๓ ๑,๔๑๒ ๔๓ กลาง ๖ มัธยมวัดเขาสุกิม ๑๑๐ ๗๙ ๑๘๙ ๙ เล็ก ๗ ศรีรัตน์ราษฎร์นุเคราะห์ ๗๘ ๙๖ ๑๗๔ ๗ เล็ก ๘ สะพานเลือกวิทยาคม ๔๐ ๒๔ ๖๔ ๖ เล็ก แก่งหางแมว ๙ แก่งหางแมวพิทยาคาร ๖๐๐ ๔๕๒ ๑,๐๕๒ ๓๑ กลาง นายายอาม ๑๐ นายายอามพิทยาคม ๕๑๑ ๓๘๖ ๘๙๗ ๒๗ กลาง ๑๑ มัธยมท่าแคลง ๕๖ ๒๘ ๘๔ ๖ เล็ก ขลุง ๑๒ ขลุงรัชดาภิเษก ๓๕๔ ๔๗๘ ๘๓๒ ๓๐ กลาง ๑๓ บ่อวิทยาคาร ๕๐ ๓๓ ๘๓ ๙ เล็ก ๑๔ ตกพรมวิทยาคาร ๘๘ ๑๑๖ ๒๐๔ ๙ เล็ก โป่งน้ำร้อน ๑๕ โป่งน้ำร้อนวิทยาคม ๕๒๔ ๓๐๙ ๘๓๓ ๒๕ กลาง ๑๖ เครือหวายวิทยาคม ๑๑๑ ๖๕ ๑๗๖ ๖ เล็ก ๑๗ หนองตาคงพิทยาคาร ๓๘๔ ๓๑๐ ๖๙๔ ๒๑ กลาง มะขาม ๑๘ มะขามสรรเสริญ ๓๔๙ ๑๗๗ ๕๒๖ ๑๖ กลาง แหลมสิงห์ ๑๙ แหลมสิงห์วิทยาคม ฯ ๕๑๓ ๓๖๘ ๘๘๑ ๒๗ กลาง สอยดาว ๒๐ สอยดาววิทยา ๘๗๑ ๖๕๗ ๑,๕๒๘ ๔๒ ใหญ่ ๒๑ ทุ่งขนานวิทยา ๓๑๔ ๒๑๓ ๕๒๗ ๑๘ กลาง เขาคิชฌกูฎ ๒๒ คิชฌกูฏวิทยา ๔๕๐ ๒๙๕ ๗๔๕ ๒๑ กลาง ๒๓ คลองพลูวิทยา ๑๖๓ ๑๑๑ ๒๗๔ ๑๒ เล็ก รวม ๙,๓๐๑ ๙,๔๑๘ ๑๘,๗๑๙ ๕๗๔
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๔ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด อำเภอ ที่ โรงเรียน ระดับ ก่อน ประถม ระดับ ประถม ศึกษา ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย รวม ขนาด โรงเรียน เมืองตราด ๑ ตราษตระการคุณ - - ๑,๐๔๒ ๙๖๗ ๒,๐๐๙ ใหญ่ ๒ สตรีประเสริฐศิลป์ - - ๑,๐๑๖ ๙๕๘ ๑,๙๗๔ ใหญ่ ๓ ตราดสรรเสริญวิทยาคม - - ๓๘๓ ๑๖๔ ๕๔๗ กลาง ๔ วัดคิรีวิหาร (สมเด็จพระวันรัต อุปถัมภ์) ๗๖ ๒๑๔ ๑๑๙ ๗๑ ๔๘๐ เล็ก ๕ เขาน้อยวิทยาคม - - ๑๑๙ ๗๐ ๑๘๙ เล็ก ๖ อ่าวใหญ่พิทยาคาร - - ๙๒ ๔๒ ๑๓๔ เล็ก ๗ เนินทรายวิทยาคม - - ๙๗ ๒๕ ๑๒๒ เล็ก คลองใหญ่ ๘ คลองใหญ่วิทยาคม - - ๕๘๙ ๔๕๑ ๑,๐๔๐ กลาง เขาสมิง ๙ เขาสมิงวิทยาคม ฯ - - ๖๑๖ ๔๒๖ ๑,๐๔๒ กลาง ๑๐ สะตอวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก - - ๑๐๕ ๖๓ ๑๖๘ เล็ก ๑๑ ประณีตวิทยาคม - - ๔๘ ๓๔ ๘๒ เล็ก บ่อไร่ ๑๒ บ่อไร่วิทยาคม - - ๕๔๘ ๓๐๙ ๘๕๗ กลาง ๑๓ หนองบอนวิทยาคม - - ๑๗๕ ๑๐๑ ๒๗๖ เล็ก แหลมงอบ ๑๔ แหลมงอบวิทยาคม - - ๒๕๕ ๑๓๕ ๓๙๐ เล็ก เกาะช้าง ๑๕ เกาะช้างวิทยาคม ๓๒ ๙๘ ๑๑๒ ๑๓๘ ๓๘๐ เล็ก เกาะกูด ๑๖ เกาะกูดวิทยาคม - - ๘๗ ๔๔ ๑๓๑ เล็ก รวม ๑๐๘ ๓๑๒ ๕,๔๐๓ ๓,๙๙๘ ๙,๘๒๑ รวมทั้งสิ้น ๑๐๘ ๓๑๒ ๑๔,๗๐๔ ๑๓,๔๑๖ ๒๘,๕๔๐ ตามเกณฑ์มาตรฐานการบริหารงบประมาณของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๔๙ ขนาดโรงเรียน จำนวนนักเรียน จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จำนวน (โรงเรียน) ขนาดเล็ก ตั้งแต่ ๑ – ๔๙๙ คนลงมา ๙ ๑๐ ๑๙ ขนาดกลาง ตั้งแต่ ๕๐๐ – ๑,๔๙๙ คน ๑๐ ๔ ๑๔ ขนาดใหญ่ ตั้งแต่ ๑,๕๐๐ – ๒,๔๙๙ คน ๒ ๒ ๔ ขนาดใหญ่พิเศษ ตั้งแต่ ๒,๕๐๐ คนขึ้นไป ๒ ๐ ๒ รวมทั้งสิ้น ๒๓ ๑๖ ๓๙
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๕ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ตารางที่ ๕ แสดงจำนวนนักเรียนแยกรายสหวิทยาเขต สหวิทยาเขต โรงเรียน จำนวน นักเรียน ขนาดโรงเรียน สหวิทยาเขตทับทิม เบญจมราชูทิศจังหวัดจันทบุรี ๒,๘๓๗ ใหญ่พิเศษ นายายอามพิทยาคม ๘๙๗ กลาง บางกะจะ ๑๒๗ เล็ก มัธยมท่าแคลง ๘๔ เล็ก รวมนักเรียน ๓,๙๔๕ สหวิทยาเขตมรกต ศรียานุสรณ์ ๒,๗๗๙ ใหญ่พิเศษ คิชฌกูฏวิทยา ๗๔๕ กลาง คลองพลูวิทยา ๒๗๔ เล็ก มะขามสรรเสริญ ๕๒๖ กลาง รวมนักเรียน ๔,๓๒๔ สหวิทยาเขตสตาร์บุษ สอยดาววิทยา ๑,๕๒๘ ใหญ่ หนองตาคงพิทยาคาร ๖๙๔ กลาง โป่งน้ำร้อนวิทยาคม ๘๓๓ กลาง เครือหวายวิทยาคม ๑๗๖ เล็ก ทุ่งขนานวิทยา ๕๒๗ กลาง รวมนักเรียน ๓,๗๕๘ สหวิทยาเขตไพลิน ท่าใหม่“พูลสวัสดิ์ราษฎร์นุกูล” ๑,๔๑๒ กลาง แก่งหางแมวพิทยาคาร ๑,๐๕๒ กลาง มัธยมวัดเขาสุกิม ๑๘๙ เล็ก สะพานเลือกวิทยาคม ๖๔ เล็ก ศรีรัตน์ราษฎร์นุเคราะห์ ๑๗๔ เล็ก รวมนักเรียน ๒,๘๙๑ สหวิทยาเขตบุษราคัม เบญจมานุสรณ์ ๑,๘๐๑ ใหญ่ แหลมสิงห์วิทยาคม ฯ ๘๘๑ กลาง บ่อวิทยาคาร ๘๓ เล็ก ตกพรมวิทยาคาร ๒๐๔ เล็ก ขลุงรัชดาภิเษก ๘๓๒ กลาง รวมนักเรียน ๓,๘๐๑
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๖ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด สหวิทยาเขต โรงเรียน จำนวน นักเรียน ขนาดโรงเรียน สหวิทยาเขตตราษตระการคุณ ตราษตระการคุณ ๒,๐๐๙ ใหญ่ คลองใหญ่วิทยาคม ๑,๐๔๐ กลาง อ่าวใหญ่พิทยาคาร ๑๓๔ เล็ก เกาะช้างวิทยาคม ๓๘๐ เล็ก เกาะกูดวิทยาคม ๑๓๑ เล็ก แหลมงอบวิทยาคม ๓๙๐ เล็ก รวมนักเรียน ๔,๐๘๔ สหวิทยาเขตเขาสมิง-บ่อไร่ เขาสมิงวิทยาคม ฯ ๑,๐๔๒ กลาง สะตอวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ๑๖๘ เล็ก บ่อไร่วิทยาคม ๘๕๗ กลาง ประณีตวิทยาคม ๘๒ เล็ก หนองบอนวิทยาคม ๒๗๖ เล็ก รวมนักเรียน ๒,๔๒๕ สหวิทยาเขตสตรีประเสริฐศิลป์ สตรีประเสริฐศิลป์ ๑,๙๗๔ ใหญ่ ตราดสรรเสริญวิทยาคม ๕๔๗ กลาง เขาน้อยวิทยาคม ๑๘๙ เล็ก วัดคิรีวิหาร (สมเด็จพระวันรัต อุปถัมภ์) ๔๘๐ เล็ก เนินทรายวิทยาคม ๑๒๒ เล็ก รวมนักเรียน ๓,๓๑๒
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๗ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ตารางที่ ๖ แสดงจำนวนนักเรียนด้อยโอกาสจำแนกตามประเภท ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ที่ รายการ จังหวัด จันทบุรี จังหวัด ตราด รวมทั้งหมด คิดเป็น ร้อยละ นักเรียนทั้งหมด ๑๘,๗๑๙ ๙,๘๒๑ ๒๘,๕๔๐ - ๑ เด็กที่ถูกบังคับให้ขายแรงงาน - - - - ๒ เด็กที่อยู่ในธุรกิจทางเพศ - - - - ๓ เด็กถูกทอดทิ้ง ๑ ๕ ๖ ๐.๐๒ ๔ เด็กในสถานพินิจและคุ้มครองเยาวชน - - - - ๕ เด็กเร่ร่อน - - - - ๖ ผลกระทบจากเอดส์ - - - - ๗ ชนกลุ่มน้อย - - - - ๘ เด็กถูกทำร้ายทารุณ - - - - ๙ เด็กยากจน ๔,๐๓๖ ๒,๔๒๘ ๖,๔๖๔ ๒๒.๖๕ ๑๐ เด็กมีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด - - - - ๑๑ เด็กกำพร้า ๑๕ ๖ ๒๑ ๐.๐๗ ๑๒ เด็กทำงานรับผิดชอบตนเองและครอบครัว ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๐.๐๗ ๑๓ มีความด้อยโอกาสมากกว่า ๑ ประเภท ๘ ๒ ๑๐ ๐.๐๔ รวมด้อยโอกาส ๔,๐๗๐ ๒,๔๕๑ ๖,๕๒๑ ๒๒.๘๕ ตารางที่ ๗ แสดงจำนวนนักเรียนพิการเรียนร่วม จำแนกตามประเภทความพิการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ที่ รายการ ประถมศึกษา ม.ต้น ม.ปลาย รวม ทั้งหมด คิดเป็น ร้อยละ นักเรียนทั้งหมด ๓๑๒ ๑๔,๗๐๔ ๑๓,๔๑๖ ๒๘,๔๓๒ - ๑ ความพิการทางการมองเห็น - - ๑ ๑ ๐.๐๐๔ ๒ ความพิการทางการได้ยิน - - ๑ ๑ ๐.๐๐๔ ๓ ความพิการทางสติปัญญา ๗ ๑๐ ๙ ๒๖ ๐.๐๙๑ ๔ ความพิการร่างกายและสุขภาพ - - ๑ ๑ ๐ ๕ ความพิการทางการเรียนรู้ ๑๓ ๙๙ ๖๑ ๑๗๓ ๐.๖๐๘ ๖ ความพิการทางการพูดและภาษา ๒ ๑ ๒ ๐.๐๐๗ ๗ ความพิการทางการพฤติกรรมและอารมณ์ - ๒ - ๓ ๐.๐๑๑ ๘ ความพิการทางการออทิสติก - - - - ๐ ๙ ความพิการทางการซ้ำซ้อน - ๑ - ๑ ๐.๐๐๔ รวมนักเรียนพิการเรียนร่วม ๒๐ ๑๑๔ ๗๔ ๒๐๘ ๐.๗๓ ร้อยละของแต่ระดับชั้น ๖.๔๑ ๐.๗๘ ๐.๕๕ -
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๘ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ผลการดำเนินงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ได้รวบรวมข้อมูลและผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ดังนี้ ด้านคุณภาพการศึกษา ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ตารางที่ ๘ เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ระดับ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เฉลี่ยทุกวิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สพม.จันทบุรี ตราด ๖๐.๔๙ ๓๘.๖๐ ๒๙.๒๖ ๓๖.๙๓ ๔๑.๓๒ สพฐ. ๕๓.๙๑ ๓๑.๗๕ ๒๔.๖๖ ๓๓.๖๗ ๓๖.๐๐ ประเทศ ๕๒.๙๕ ๓๒.๐๕ ๒๔.๓๙ ๓๓.๓๒ ๓๕.๖๘ เปรียบเทียบ สพม.จบตร กับ สพฐ. +๖.๕๘ +๖.๘๕ +๔.๖๐ +๓.๒๖ +๕.๓๒ เปรียบเทียบ สพม.จบตร กับ ประเทศ +๗.๕๔ +๖.๕๕ +๔.๘๗ +๓.๖๑ +๕.๖๔ จากตารางที่ ๘ พบว่า คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด มี คะแนนเฉลี่ย ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๔๑.๓๒ เมื่อพิจารณาในรายวิชา พบว่า วิชาภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด ที่ ๖๐.๔๙ และวิชาคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด ที่ ๒๙.๒๖ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบระหว่างระดับ สพม.จันทบุรี ตราด กับระดับสพฐ. และ ระดับประเทศ พบว่า สูงกว่าระดับ สพฐ. และระดับประเทศ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ แผนภูมิ เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๙ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ตารางที่ ๙ คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ สพม.จันทบุรี ตราด กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ (+เพิ่ม/ -ลด) ภาษาไทย ๕๗.๔๔ ๖๐.๔๙ +๓.๐๕ ภาษาอังกฤษ ๓๕.๒๗ ๓๘.๖๐ +๓.๓๓ คณิตศาสตร์ ๒๘.๑๒ ๒๙.๒๖ +๑.๑๔ วิทยาศาสตร์ ๓๓.๕๑ ๓๖.๙๓ +๓.๔๒ เฉลี่ยทุกวิชา ๓๘.๕๙ ๔๑.๓๒ +๒.๗๔ แผนภูมิ เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๔-๒๕๖๕
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๐ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ตารางที่ ๑๐ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O – NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ระดับ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เฉลี่ยทุก ภาษาไทย สังคม ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิชา สพม.จันทบุรี ตราด ๔๗.๕๐ ๓๔.๑๕ ๒๔.๗๘ ๒๓.๖๖ ๒๙.๙๑ ๓๒.๐๐ สพฐ. ๔๕.๗๙ ๓๓.๖๒ ๒๓.๕๙ ๒๒.๓๙ ๒๘.๗๘ ๓๐.๘๓ ประเทศ ๔๔.๐๙ ๓๓.๐๐ ๒๓.๔๔ ๒๑.๖๑ ๒๘.๐๘ ๓๐.๐๔ เปรียบเทียบ สพม.จบตร กับ สพฐ. +๑.๗๑ +๐.๕๓ +๑.๑๙ +๑.๒๗ +๑.๑๓ +๑.๑๗ เปรียบเทียบ สพม.จบตร กับ ประเทศ +๓.๔๑ +๑.๑๕ +๑.๓๔ +๒.๐๕ +๑.๘๓ +๑.๙๖ จากตารางที่ ๑๐ พบว่า คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด มี คะแนนเฉลี่ย ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๓๒.๐๐ เมื่อพิจารณาในรายวิชา พบว่า วิชาภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด ที่ ๔๗.๕๐ และวิชาคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด ที่ ๒๓.๖๖ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย ระดับสพม.จันทบุรี ตราด กับ ระดับสพฐ. และ ระดับประเทศ พบว่าสูงกว่าระดับ สพฐ. และระดับประเทศ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ แผนภูมิ เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๑ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ตารางที่ ๑๑ คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ (+เพิ่ม/ -ลด) ภาษาไทย ๔๗.๖๕ ๔๗.๕๐ -๐.๑๕ สังคม ๓๗.๒๔ ๓๔.๑๕ -๓.๐๙ ภาษาอังกฤษ ๒๖.๙๕ ๒๔.๗๘ -๒.๑๗ คณิตศาสตร์ ๒๒.๒๙ ๒๓.๖๖ +๑.๓๗ วิทยาศาสตร์ ๒๘.๙๖ ๒๙.๙๑ +๐.๙๕ เฉลี่ยทุกวิชา ๓๒.๖๒ ๓๒.๐๐ -๐.๖๒ แผนภูมิ เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๔-๒๕๖๕
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๒ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ด้านโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ดำเนินการขับเคลื่อนให้ประชากรวัยเรียน มีโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเสมอภาค พร้อมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียน เรียนจบ การศึกษาภาคบังคับ ตลอดจนส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ทั้งสถานศึกษาเอกชนและ สถานศึกษาในสังกัดอื่น ดังนี้ ตารางที่ ๑๒ อัตราการเข้าเรียนของประชากรวัยเรียน ระดับ ม.ต้น (๑๒-๑๔ ปี) ปีการศึกษา จันทบุรี ตราด ประชากรวัยเรียน (คน) นักเรียน (คน) ร้อยละ ประชากรวัยเรียน (คน) นักเรียน (คน) ร้อยละ ๒๕๖๔ ๑๘,๒๗๗ ๙,๐๗๑ ๔๙.๖๓ ๘,๐๒๙ ๕,๕๒๗ ๖๘.๘๔ ๒๕๖๕ ๑๘,๔๒๔ ๙,๑๘๑ ๔๙.๘๓ ๘,๕๑๔ ๕,๔๕๘ ๖๔.๑๑ ๒๕๖๖ ๑๘,๔๑๓ ๙,๓๐๑ ๕๐.๕๑ ๗,๙๘๔ ๕,๔๐๓ ๖๗.๖๗ ที่มา :ข้อมูลจากสถิติการบริการด้านการทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๖ ตารางที่ ๑๓ อัตราการเข้าเรียนของประชากรวัยเรียน ระดับ ม.ปลาย (๑๕-๑๗ ปี) ปีการศึกษา จันทบุรี ตราด ประชากรวัยเรียน (คน) นักเรียน (คน) ร้อยละ ประชากรวัยเรียน (คน) นักเรียน (คน) ร้อยละ ๒๕๖๔ ๑๙,๑๕๕ ๙,๐๙๓ ๔๗.๔๗ ๘,๑๗๔ ๓,๗๔๖ ๔๕.๘๓ ๒๕๖๕ ๑๘,๙๔๔ ๙,๓๖๒ ๔๙.๔๒ ๘,๕๑๖ ๓,๘๒๒ ๔๔.๘๘ ๒๕๖๖ ๑๘,๕๓๙ ๙,๔๑๘ ๕๐.๘๐ ๘,๔๑๓ ๓,๙๙๘ ๔๗.๕๒ ที่มา :ข้อมูลจากสถิติการบริการด้านการทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๖ ตารางที่ ๑๔ จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ศึกษาต่อ รายการ พื้นที่ ภายในจังหวัด ต่างจังหวัด กทม. สพท.เดิม ต่าง สพท. รวม ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง โรงเรียนเดิม ๒๕ ๒๗ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๕๒ โรงเรียนอื่น สังกัด สพฐ. ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑ โรงเรียนสังกัดเอกชน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ อื่น ๆ ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑ รวมนักเรียนจบทั้งสิ้น ๒๗ ๒๗ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๕๔
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๓ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ตารางที่ ๑๕ จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ที่ศึกษาต่อ/ไม่ศึกษาต่อ รายการ ชาย หญิง รวม ร้อยละ นักเรียนจบทั้งหมด ๑,๙๒๑ ๒,๒๑๑ ๔,๑๓๒ ศึกษาต่อ ม. ๔ ๑,๕๗๐ ๒,๐๑๒ ๓,๕๘๒ ๘๖.๖๙ ศึกษาต่อสายอาชีพ ๒๑๓ ๑๓๔ ๓๔๗ ๘.๔๐ อื่น ๆ ๕๙ ๓๒ ๙๑ ๒.๒๐ รวมศึกษาต่อ ๑,๘๔๒ ๒,๑๗๘ ๔,๐๒๐ ๙๗.๒๙ ประกอบอาชีพ ๗๘ ๓๒ ๑๑๐ ๒.๖๖ ไม่ประกอบอาชีพและไม่ศึกษาต่อ ๑ ๐ ๑ ๐.๐๒๔ อื่น ๆ ๐ ๑ ๑ ๐.๐๒๔ รวมไม่ศึกษาต่อทั้งสิ้น ๗๙ ๓๓ ๑๑๒ ๒.๗๑ ตารางที่ ๑๖ จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ที่ศึกษาต่อ/ไม่ศึกษาต่อ รายการ ชาย หญิง รวม ร้อยละ นักเรียนจบทั้งหมด ๑,๔๓๑ ๒,๓๕๗ ๓,๗๘๘ ศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย ๑,๐๗๙ ๑,๙๑๓ ๒,๙๙๒ ๗๘.๙๙ ศึกษาต่อสถาบันอาชีวศึกษา ๕๗ ๔๓ ๑๐๐ ๒.๖๔ ศึกษาต่อสถาบันพยาบาล ๑๐ ๕๕ ๖๕ ๑.๗๒ ศึกษาต่อสถาบันทหาร ๘ ๐ ๘ ๐.๒๑ ศึกษาต่อสถาบันตำรวจ ๓ ๐ ๓ ๐.๐๘ สถาบันอื่น ๆ ๗๓ ๑๓๓ ๒๐๖ ๕.๔๔ รวมศึกษาต่อ ๑,๒๓๐ ๒,๑๔๔ ๓,๓๗๔ ๘๙.๐๗ ประกอบอาชีพ ๑๙๙ ๒๑๒ ๔๑๑ ๑๐.๘๕ ไม่ประกอบอาชีพและไม่ศึกษาต่อ ๒ ๑ ๓ ๐.๐๘ อื่น ๆ ๐ ๐ ๐ ๐ รวมไม่ศึกษาต่อทั้งสิ้น ๒๐๑ ๒๑๓ ๔๑๔ ๑๐.๙๓
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๔ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ๑. ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาออนไลน์ (integrity and transparency assessment online : ITA online) ประจำปี งบประมาณ ผลคะแนน พัฒนาการ ระดับ ได้ลำดับที่ ระดับประเทศ ๒๕๖๓ ๗๘.๗๑ - B ๑๗๖ ๒๕๖๔ ๙๔.๗๘ เพิ่มขึ้น A ๙๑ ๒๕๖๕ ๙๗.๙๐ เพิ่มขึ้น AA ๘๗ ๒๕๖๖ ๙๘.๗๖ เพิ่มขึ้น AA ๕๔ ๒. ผลการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (KPI) ปีงบประมาณ คะแนน ร้อยละ ระดับผลการประเมิน หมายเหตุ ๒๕๖๑ ๔.๗๓๙๖๑๐ - - ได้รับรางวัลประเภท สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา ระดับสูงสุด ๒๕๖๒ ๔.๕๓๕๙๐ ๙๐.๗๒ ระดับคุณภาพ ได้อันดับที่ ๗ ๒๕๖๓ ๔.๔๘๗๒๒ ๘๙.๗๔ ระดับมาตรฐานขั้นสูง ๒๕๖๔ ๔.๔๓๘๒๔ ๘๘.๗๖ ระดับมาตรฐานขั้นสูง ๒๕๖๕ ๔.๓๕๓๔๔ ๘๔.๐๖ ระดับมาตรฐานขั้นสูง ๓.ผลการประเมิน PMQA ๔.๐ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ปีงบประมาณ คะแนน ระดับผลการประเมิน หมายเหตุ ๒๕๖๔ ๓.๖๘๐๐๐ ระดับมุ่งสู่ระบบราชการ ๔.๐ ๒๕๖๕ ๔.๑๕๕๐๐ ระดับมุ่งสู่ระบบราชการ ๔.๐ ๔) ผลการติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ๑. ตัวชี้วัดนโยบายเร่งด่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Quick Policy : QP) ดีมาก ๒. ตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดีมาก ๓. มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดีเยี่ยม
ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด แบบรายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ชื่อหน่วยงาน/สถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด นโยบายที่ ๑ ลดภาระครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑.๑ พัฒนาวิธีการประเมินวิทยฐานะครูและบุคลากรทางการศึกษา มุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน เป็นสำคัญ ขั้นตอนการขอมีเลื่อนวิทยฐานะในระบบ DPA ๑. ข้าราชการครูที่ประสงค์จะขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ยื่นคำขอได้ตลอดปีภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ๒. ผู้อำนวยการสถานศึกษา นำข้อมูลผู้ที่ขอมี/เลื่อนวิทยฐานะเข้าสู่ระบบ DPA ๓. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตรวจสอบและรับรองคุณสมบัติจากระบบ DPA ๔. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เสนอขอความเห็นชอบ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้ง คณะกรรมการประเมิน ๕. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งผ่านข้อมูลของผู้ขอจากระบบ DPA ให้คณะกรรมการประเมิน ๖. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติ ๗. กรณีผลการพิจารณาไม่อนุมัติ สพม.จบตร ดำเนินการให้คณะกรรมการ PA Support Team ให้ คำปรึกษาแนะนำเพื่อยื่นขอรับการประเมินใหม่ ผลดำเนินการ ๑. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะสูงขึ้นเป็นจำนวนมาก ๒. การขอมีและเลื่อนวิทยฐานะมีระยะเวลาค่อนข้างเร็ว ๓. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ๔. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ๕. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างเหมาะสม ๖. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีระบบการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะที่ทันสมัย ๗. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีความกระตือรือร้นมากขึ้น
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๖ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ๘. สรุปการขอมีและเลื่อนวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผ่านระบบการประเมินวิทยฐานะดิจิทัล (Digital Performance Appraisal :DPA) (ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๗ ที่ วิทยฐานะ จำนวนผู้ยื่น คำขอ ผ่านระบบ DPA ผ่านเกณฑ์ การ ประเมิน ไม่ผ่าน เกณฑ์ การประเมิน อยู่ระหว่างรอผล การประเมิน จาก คณะกรรมการ อยู่ระหว่างนำเสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ฯ ตั้งกรรมการ ๑ ครูชำนาญการ ๒๐๘ ๒๐๑ ๓ ๔ - ๒ ครูชำนาญการพิเศษ ๑๗๖ ๑๕๘ ๑๒ ๖ - ๓ ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ ๑ ๑ - - - รวม ๓๘๕ ๓๖๐ ๑๕ ๑๐ รวมทั้งสิ้น จำนวน ๓๘๕ ราย
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๗ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ปัญหาอุปสรรค ๑. ระบบ DPA ขัดข้องบ่อย ทำให้การยื่นคำขอผ่านระบบ DPA มีความคลาดเคลื่อน ๒. กรรมการประเมินฯบางกลุ่มสาระฯ กรรมการน้อยมาก ๓. ฐานข้อมูลทั่วไป บางโรงเรียนฐานข้อมูลทั่วไปในระบบไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้ข้อมูลเกิดความคลาดเคลื่อน เช่น เงินเดือน, เลขที่ตำแหน่ง หรือเลขเบิกจ่ายตรง ,หรือระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในแต่ละระดับไม่ถูกต้อง แนวทางแก้ไข ๑. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงานการสอนและสานงาน บริหารสถานศึกษา ๒. จัดประชุมข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินในแต่ละรอบ โดย คณะกรรมการ PA SUPPORTTEAM ให้คำแนะนำ พร้อมทั้งข้อเสนอแนะในการจัดทำผลงาน เช่น แผนการสอน คลิป การสอน ตลอดจนวิธีการตั้งกล้องถ่ายทำคลิปการสอนฯลฯ ๓. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด แต่งตั้งคณะกรรมการ PA Coaching Team ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด โดยแยกเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เป็นพี่เลี้ยง ให้คำปรึกษา แนะนำหรือชี้แนะให้กับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประสงค์จะยื่นคำขอผ่านระบบ DPAตามหลักเกณฑ์ และวิธีประเมินวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู ทุกวิทยฐานะ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ๑. เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบ ต้องมีความระมัดระวังในเรื่องการตรวจสอบข้อมูลของผู้ยื่นคำขอเพื่อให้เกิดความ ผิดพลาดของข้อมูลน้อยที่สุด ๒. ความก้าวหน้าในสายงานอาชีพ ๓. แรงบันดาลใจ ๔. มีการพัฒนาทักษะการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ข้อเสนอแนะและข้อแนะนำ ๑. ระบบ DPA ไม่ควรอนุญาตให้ผู้ยื่นคำขอยื่นซ้ำได้อีกในหนึ่งภาคเรียน ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.กำหนด ๒. ควรเปิดรับสมัครกรรมการประเมินเพิ่มมากขึ้น เพราะบางกลุ่มสาระไม่มีกรรมการประเมิน
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๘ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ๑.๒ พัฒนาหลักเกณฑ์ วิธีการแต่งตั้ง โอน ย้ายของครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ในภูมิลำเนา ที่ตรงกับความประสงค์ของตนเอง เน้นพิจารณาด้วยความโปร่งใส และไม่มี การทุจริตคอร์รับชั่น การดำเนินการของ สพม.จันทบุรี ตราด ๑. ประชาสัมพันธ์แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการย้ายสับเปลี่ยนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับทราบโดยทั่วกัน โดยแจ้งปฏิทินการดำเนินการ ดังนี้ ที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ๑ ข้าราชการครูยื่นคำร้องขอย้ายสับเปลี่ยนและดำเนินการ จับคู่ย้ายสับเปลี่ยนผ่านระบบ TMS วันที่ ๑๖ มกราคม – ๓๑ มกราคม ๒๕๖๗ ๒ ข้าราชการครูที่ได้รับการตอบรับจากจับคู่ย้ายสับเปลี่ยนแล้ว จัดพิมพ์แบบคำร้องขอย้ายเสนอ ผอ.สถานศึกษา ให้ความเห็นและ อัพโหลดเอกสารแบบคำร้องขอย้ายสับเปลี่ยนพร้อมแนบความเห็น ของคณะกรรมการสถานศึกษา และเอกสารที่กำหนดในรูปแบบไฟล์ PDF เข้าสู่ระบบอีกครั้ง วันที่ ๑๖ มกราคม – ๕ กุมภาพันธ์๒๕๖๗ ๓ กรณีขอย้ายต่างเขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา (ต้นทาง) พิจารณาส่งคำร้องขอย้าย สับเปลี่ยน - หากอนุมัติ ให้ สพท.(ต้นทาง) อัพโหลดแบบคำร้องฯ ซึ่งมี ความเห็นของ ผอ.สพท. พร้อมมติ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา ไปยัง สพท. (ปลายทาง) โดยส่งผ่านระบบ กรณีคำร้องระหว่างเขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา (ต้นทาง) พิจารณาส่งคำร้อง - หากอนุมัติ ให้สพท. (ต้นทาง) อัพโหลดแบบคำร้องฯ ซึ่งมี ความเห็นของ ผอ.สพท. (ต้นทาง) ไปยัง สพท.(ปลายทาง) ผ่านระบบ ภายในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ๔ การพิจารณาย้าย อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา (ที่รับย้าย) พิจารณาอนุมัติรับย้าย/ไม่รับ ย้าย และแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ขอย้ายสับเปลี่ยนทราบผ่านระบบ ภายในวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ทั้งนี้เมื่อ อ.ก.ค.ศ.มีมติเป็น ประการใด ให้แจ้งมติผ่านระบบ ภายใน ๓ วันทำการ นับแต่วันที่มี มติ และข้าราชการครูที่ได้รับการ พิจารณาให้ย้ายสับเปลี่ยน หากยื่น คำร้องขอย้ายประจำปีไว้ด้วย ให้คำ ร้องขอย้ายเป็นอันระงับไป
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๙ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ๕ ผู้มีอำนาจตามมาตรา ๕๓ ออกคำสั่ง ภายใน ๒๙ กุมภาพันธ์๒๕๖๗ และมี ผลวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๗ ๖ ข้าราชการครูที่ได้รับอนุมัติให้ย้าย เข้าปฏิบัติหน้าที่ ณ สถานศึกษา แห่งใหม่ที่รับย้าย ข้าราชการครูที่ได้รับอนุมัติ เข้า ปฏิบัติหน้าที่ภายในวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๗ ๒. เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ ต้องเข้าไปตรวจสอบคำร้องขอย้ายสับเปลี่ยนทางระบบ ในระหว่าง วันที่ ๑๖ – ๓๑ มกราคม หากมีคำร้องขอย้ายที่ข้าราชการครูได้รับการตอบรับจากจับคู่ย้ายสับเปลี่ยนแล้ว จัดพิมพ์แบบคำร้องขอย้ายเพื่อตรวจสอบคุณสมบัติและเงื่อนไขให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการย้ายฯ ว ๑๘/๒๕๖๖ โดยตรวจสอบจากทะเบียนประวัติข้าราชการ (ก.พ.๗ หรือ ก.ค.ศ.๑๖) และเสนอ ผอ.สพท. ให้ความเห็นว่าเห็นควรให้ย้ายหรือไม่ให้ย้าย หากเห็นควรให้นำเสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา พิจารณา ต่อไป หากเป็นคำร้องขอย้ายสับเปลี่ยนระหว่าง สพท. เมื่อ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาอนุมัติ ก็ให้ส่งคำร้อง ขอย้ายผ่านระบบไปยัง สพท.ปลายทาง และให้ สพท.ปลายทาง ดำเนินการจัดพิมพ์แบบคำร้องแล้ว จึงขอความเห็นคณะกรรมการสถานศึกษาที่ผู้ขอย้ายสับเปลี่ยนขอย้ายไปดำรงตำแหน่ง และให้นำเสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาที่รับย้ายต่อไป ผลดำเนินการ ๑. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด คาดว่าเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการ กรอกข้อมูล การจับคู่ย้ายสับเปลี่ยนผ่านระบบจับคู่ครูคืนถิ่น (TMS) จะมีข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ตำแหน่งครู ที่เข้าไปกรอกข้อมูลแสดงความประสงค์ขอย้ายสับเปลี่ยนและดำเนินการจับคู่ย้ายสับเปลี่ยนผ่าน ระบบจับคู่ครูคืนถิ่น (TMS) จำนวน ๑๐ ราย และจะสามารถเลือกจับคู่ย้ายสับเปลี่ยนในระบบ TMS ได้ จำนวน ๔ คู่ ๒. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ได้ดำเนินการบริหารอัตรากำลัง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยมีคณะกรรมการบริหารอัตรากำลังสถานศึกษาระดับเขตพื้นที่ การศึกษา เป็นผู้ดำเนินการพิจารณาให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ คปร., สพฐ., และ ก.ค.ศ.กำหนด กรณีมีอัตรา ว่าง หรือได้รับจัดสรรอัตราเพิ่มในสถานศึกษาที่มีอัตรากำลังครูขาดเกณฑ์ตามที่ ก.ค.ศ.กำหนด จะดำเนินการ สำรวจวิชาเอกตามความต้องการ และตามความขาดของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาเอกที่ กำหนดให้มีในสถานศึกษา แล้วนำตำแหน่งว่างดังกล่าวมานำเสนอขออนุมัติอ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด เพื่อพิจารณารับย้าย หรือบรรจุและแต่งตั้งตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด ด้วยความบริสุทธิ์ ยุติธรรม โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ กรณีการย้ายสับเปลี่ยนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู โดยให้ ดำเนินการผ่านระบบจับคู่ครูคืนถิ่น (Teacher Matching System : TMS) ระบบได้เปิดให้ดำเนินการได้ตั้งแต่ วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๗ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ได้ตรวจสอบในระบบแล้ว ปัจจุบันยังไม่มีผู้ยื่นความประสงค์ขอย้าย
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๐ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ปัญหาอุปสรรค ๑. ผู้แสดงความประสงค์ขอย้ายสับเปลี่ยนมีจำนวนมาก แต่สามารถจับคู่ได้จำนวนน้อย ๒. ผู้แสดงความประสงค์ที่มีวิชาเอกไม่ตรงกัน จะไม่สามารถจับคู่กันได้ ๓. การยื่นคำร้องขอย้ายสับเปลี่ยนผ่านทางระบบจับคู่ครูคืนถิ่น สามารถยื่นคำร้องขอย้ายกรณีปกติ ประจำปีได้ ซึ่งระยะเวลาในการดำเนินการอยู่ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน อาจเกิดปัญหาข้อมูลการพิจารณาย้าย ซ้ำซ้อนได้ แนวทางแก้ไข ปฏิทินการย้ายสับเปลี่ยนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู ไม่ควรกำหนดในช่วงเวลา เดียวกับการย้ายประจำปี ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ๑. ความประสงค์ขอย้ายของผู้ขอย้าย ๒. วิชาเอกของผู้ขอย้ายต้องตรงกัน ๓. การประมวลผลและแสดงผลของข้าราชการครูในระบบ จะแสดงผลจากสาขาวิชาหรือกลุ่มวิชาหลักที่ สอนตรงกันและสถานศึกษาของคู่ย้ายสับเปลี่ยนมีที่ตั้งอยู่ในภูมิลำเนาของผู้ขอย้ายสับเปลี่ยน ๔. การกรอกข้อมูลทางระบบสามารถทำได้ตลอดเวลา และมีความสะดวก ๕. สภาพอัตรากำลังสายงานการสอนในภาพรวมของสถานศึกษาที่รับย้าย จะต้องไม่เกินเกณฑ์อัตรากำลัง ที่ ก.ค.ศ.กำหนด ๖. ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษาต้นสังกัด ๗. ความเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษา ๘. ความเห็นของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๙. มติ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาที่อนุมัติการย้าย
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๑ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๒ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ๑.๓ แก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เห็นผลเป็นรูปธรรม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ขับเคลื่อนการดำเนินการโดย ประชาสัมพันธ์กิจกรรมงานมหกรรมแก้ไขหนี้ที่จัดให้คุณครูที่มีความประสงค์ร่วมงาน ณ จังหวัดชลบุรี จังหวัด สระแก้ว เพื่อให้ครูกลุ่มเป้าหมายให้ได้รับการช่วยเหลือ จัดการลงทะเบียนผู้เป็นหนี้เพื่อให้มีการพูดคุยกับคลินิก แก้หนี้ของสถาบันการเงิน รวมถึงดำเนินการแบ่งกลุ่มหนี้ที่อยู่ในสถานะเสี่ยงสูง (กลุ่มสีแดง) โดยคัดเลือก บุคลากรที่เป็นหนี้ในกลุ่มเสี่ยงสูง เข้ามาพูดคุย หาแนวทางในการดำเนินการ ทั้งนี้ เป็นไปตามความสมัครใจของ ผู้เป็นหนี้ และหาแนวทางดำเนินการหาทางออกร่วมกัน รวมถึงการเจรจากับเจ้าหนี้ (สหกรณ์ออมทรัพย์ครู จังหวัดตราด) ในความเป็นไปได้ในการรวมหนี้ไว้ที่เดียวกัน อนึ่ง ในส่วนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด มีผู้มีหนี้อยู่ในสถานะความเสี่ยงสูง (สีแดง) ๒ ราย และผู้มีสถานะอยู่ในเกณฑ์ความ เสี่ยง (เหลือง) อีก ๑ ราย ผลดำเนินการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ขอทำความตกลงกับสหกรณ์ ออมทรัพย์ครูตราด ในการรวมหนี้ของสมาชิกที่อยู่ในข่ายวิกฤติ จำนวน ๑ ราย และประสานแจ้งกลุ่มลูกหนี้ ของธนาคารออมสิน เข้าร่วมโครงการ ออมสินเดินหน้าแก้หนี้รายย่อย ยกดอกเบี้ยค้างทั้งหมด ไม่คิดดอกเบี้ยใหม่ พร้อมจัดมาตรการ “๔ ไม่” ไม่ฟ้อง ไม่ยึด ไม่ขายทอด ไม่ฟ้องล้มละลาย ขานรับนโยบายรัฐแก้ปัญหาหนี้ครู แนวทางแก้ไข ๑. แบ่งกลุ่มหนี้ที่อยู่ในสถานะเสี่ยงสูง ๒. คัดเลือกบุคลากรที่เป็นหนี้ในกลุ่มดังกล่าว เข้ามาพูดคุยหาแนวทาง ทั้งนี้จะต้องเป็นไปด้วยความสมัคร ใจของผู้เป็นหนี้ และหาทางออกร่วมกัน ๓. เจรจากับเจ้าหนี้ ในที่นี้หมายถึงสหกรณ์ออกทรัพย์ครูตราด ในความเป็นไปได้ในการรวมหนี้ไว้ที่เดียว ๔. แจ้งประชาสัมพันธ์โครงการที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาหนี้สินที่เป็นประโยชน์กับบุคลากร ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ๑. การยินยอมเปิดเผยข้อมูลของลูกหนี้ ๒. การให้ความร่วมมือของหน่วยงาน หรือสถาบันที่เป็นเจ้าหนี้
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๓ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๔ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ๑.๔ จัดหาอุปกรณ์การสอนและสวัสดิการให้เพียงพอและเหมาะสม (สพฐ. สอศ. สกร. สศศ. สช.) ผลดำเนินการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินการขอจัดตั้งงบประมาณจัดหาครุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงสำหรับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและของโรงเรียน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๘ ซึ่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ได้ดำเนินการกรอกข้อมูลผ่านเว๊บไซต์ http://www.bopp.go.th/com68 เรียบร้อยแล้ว ในส่วนการบริหารจัดการของโรงเรียนในเรื่องการจัดหาอุปกรณ์การเรียนการสอน โรงเรียน สามารถบริหารจัดการให้ผู้เรียนได้เพียงพอและเหมาะสม โดยโรงเรียนขนาดใหญ่ใช้วิธีการดำเนินการเช่า คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ให้เพียงพอสำหรับการจัดการเรียนการสอน และโรงเรียนขนาดเล็ก ได้รับ ความอนุเคราะห์จากโรงเรียนขนาดใหญ่/ใหญ่พิเศษ ที่ให้บริจาคสำหรับการจัดการเรียนการสอน
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๕ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ข้อมูลการได้รับการขอและการได้รับการจัดสรรระบบคอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ รหัส ชื่อโรงเรียน จำนวน นักเรียน สำหรับการ เรียนการสอน (เครื่อง) รูปแบบระบบคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์สำหรับการเรียน การสอน ๑๐๒๒๐๖๐๒๒๙ เบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี ๒,๘๒๕ ๓๖๑ TCL40 ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๑ บางกะจะ ๑๑๙ ๓๐ IC12 Type 1 ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๐ ศรียานุสรณ์ ๒,๗๖๒ ๒๕๒ eric ในปี ๒๕๖๔ ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๒ เบญจมานุสรณ์ ๑,๗๗๔ ๑๙๒ IC40 Type 2 ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๖ ท่าใหม่ "พูลสวัสดิ์ราษฎร์นุกูล" ๑,๓๘๗ ๘๐ TCL40 ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๘ มัธยมวัดเขาสุกิม ๑๙๐ ๓๖ IC2 Type 1 ในปี ๒๕๖๓ ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๗ ศรีรัตน์ราษฎร์นุเคราะห์ ๑๗๐ ๔๐ IC12 Type 1 ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๙ สะพานเลือกวิทยาคม ๖๔ ๑๙ IC6 Type 1 ๑๐๒๒๐๖๐๒๔๘ แก่งหางแมวพิทยาคาร ๑,๐๑๕ ๘๐ IC30 Type 2 ๑๐๒๒๐๖๐๒๔๙ นายายอามพิทยาคม ๘๗๔ ๑๒๒ IC30 Type 2 ๑๐๒๒๐๖๐๒๕๐ มัธยมท่าแคลง ๘๕ ๒๐ IC6 Type 1 ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๕ ตกพรมวิทยาคาร ๑๙๒ ๔๖ IC1 ในปี ๒๕๖๒ ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๔ บ่อวิทยาคาร ๘๐ ๒๖ IC6 Type 1 ๑๐๒๒๐๖๐๒๓๓ ขลุงรัชดาภิเษก ๘๓๔ ๘๐ IC30 Type 2 ๑๐๒๒๐๖๐๒๔๒ เครือหวายวิทยาคม ๑๗๘ ๓๔ IC2 Type 1 ในปี ๒๕๖๓ ๑๐๒๒๐๖๐๒๔๐ โป่งน้ำร้อนวิทยาคม ๘๑๙ ๗๕ IC30 Type 2 ๑๐๒๒๐๖๐๒๔๑ หนองตาคงพิทยาคาร ๖๕๗ ๓๖ IC30 Type 2 ๑๐๒๒๐๖๐๒๔๓ มะขามสรรเสริญ ๕๐๕ ๓๐ eric ในปี ๒๕๖๔ ๑๐๒๒๐๖๐๒๔๕ แหลมสิงห์วิทยาคม "อาทรสังขะวัฒนะ ๔ อุปถัมภ์" ๘๖๕ ๘๐ IC30 Type 1 ๑๐๒๒๐๖๐๒๔๖ สอยดาววิทยา ๑,๕๑๖ ๑๒๐ IC40 Type 2 ๑๐๒๒๐๖๐๒๔๗ ทุ่งขนานวิทยา ๕๔๖ ๔๐ IC30 Type 1 ๑๐๒๒๐๖๐๒๕๑ คิชฌกูฏวิทยา ๗๔๔ ๗๙ IC30 Type 1 ๑๐๒๒๐๖๐๒๕๒ คลองพลูวิทยา ๒๖๖ ๓๐ IC3 ในปี ๒๕๖๔
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๖ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ข้อมูลการได้รับการขอและการได้รับการจัดสรรระบบคอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ รหัส ชื่อโรงเรียน จำนวน นักเรียน สำหรับการ เรียนการสอน (เครื่อง) รูปแบบระบบคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์สำหรับการเรียน การสอน ๑๐๒๓๑๕๐๐๑๘ วัดคิรีวิหาร(สมเด็จพระวันรัต อุปถัมภ์) ๔๗๗ ๔๐ IC2 Type 1 ในปี ๒๕๖๓ ๑๐๒๓๑๕๐๑๑๙ เกาะช้างวิทยาคม ๓๘๒ ๔๐ IC20 ในปี ๒๕๖๖ ๑๐๒๓๑๕๐๑๒๒ ตราษตระการคุณ ๑,๙๙๑ ๑๓๙ IC40 Type 2 ๑๐๒๓๑๕๐๑๒๓ สตรีประเสริฐศิลป์ ๑,๙๕๙ ๑๑๖ eric ในปี ๒๕๖๔ ๑๐๒๓๑๕๐๑๒๔ ตราดสรรเสริญวิทยาคม ๕๑๗ ๔๐ IC30 Type 2 ๑๐๒๓๑๕๐๑๒๖ เขาน้อยวิทยาคม ๑๘๖ ๓๓ IC1 ในปี ๒๕๖๒ ๑๐๒๓๑๕๐๑๒๗ อ่าวใหญ่พิทยาคาร ๑๒๙ ๑๕ IC1 ในปี ๒๕๖๒ ๑๐๒๓๑๕๐๑๒๘ เนินทรายวิทยาคม ๑๒๒ ๑๗ IC12 Type 2 ๑๐๒๓๑๕๐๑๒๙ คลองใหญ่วิทยาคม ๑,๐๓๘ ๑๐๒ IC30 Type 2 ๑๐๒๓๑๕๐๑๓๐ เขาสมิงวิทยาคม "จงจินต์รุจิ รวงศ์อุปถัมภ์" ๑,๐๑๔ ๖๐ IC30 Type 2 ๑๐๒๓๑๕๐๑๓๑ สะตอวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก ๑๖๒ ๑๕ IC1 ในปี ๒๕๖๒ ๑๐๒๓๑๕๐๑๓๒ ประณีตวิทยาคม ๘๐ ๑๔ IC6 Type 2 ๑๐๒๓๑๕๐๑๓๓ บ่อไร่วิทยาคม ๘๕๔ ๖๐ IC30 Type 2 ๑๐๒๓๑๕๐๑๓๔ หนองบอนวิทยาคม ๒๖๕ ๒๑ IC3 ในปี ๒๕๖๔ ๑๐๒๓๑๕๐๑๓๖ แหลมงอบวิทยาคม ๓๘๗ ๕๘ IC20 ในปี ๒๕๖๖ ๑๐๒๓๑๕๐๑๓๗ เกาะกูดวิทยาคม ๑๒๒ ๑๒ IC12 Type 1 หมายเหตุ โรงเรียนได้รับการจัดสรรจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามข้อมูลที่แรเงา
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๗ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๘ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด นโยบายที่ ๒ ลดภาระนักเรียนและผู้ปกครอง ๒.๑ เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา (Anywhere Anytime) เรียนฟรี มีงานทำ “ยึดผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง” มีระบบหรือแพลตฟอร์มการเรียนรู้ โดยผู้เรียนไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพื่อสร้าง ความเสมอภาคทางการศึกษา ผลดำเนินการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ได้จัดทำโครงการหลักสูตร ต่อเนื่องเชื่อมโยงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ลงสู่โรงเรียน ดังนี้ (๑) ดำเนินการจัดทำรายวิชาเพิ่มเติมของสถานศึกษา ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โดยการบรรจุรายวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนดให้เรียนในแต่ละภาคเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔, ๕ และ ๖ เป็นหลักสูตรต่อเนื่อง ๓ ปีการศึกษา (ปีการศึกษา ๒๕๖๖ – ๒๕๖๘) การจัดเรียนการสอนและวัด ประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร โดยอาจารย์ผู้สอนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยา เขตจันทบุรี ผ่านระบบออนไลน์ ในรูปแบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ระดับปริญญาตรี ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จำนวน ๑๓ โรงเรียน (จังหวัดจันทบุรี ๑๑ โรงเรียน , จังหวัดตราด ๒ โรงเรียน) (๒) ดำเนินการจัดทำรายวิชาเพิ่มเติมของสถานศึกษา ตามโครงสร้างหลักสูตร สถานศึกษาโดยการบรรจุรายวิชาที่สถาบันอาชีวศึกษากำหนดให้เรียนในแต่ละภาคเรียน ซึ่งเป็นรายวิชาปรับ พื้นฐานวิชาชีพ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔, ๕ และ ๖ เป็นหลักสูตรต่อเนื่อง ๓ ปีงบประมาณ (ปีการศึกษา ๒๕๖๖ – ๒๕๖๘) การจัดเรียนการสอนและวัดประเมินการเรียนรู้ตามหลักสูตร โดยอาจารย์ผู้สอนจาก สถาบัน อาชีวศึกษาไปสอนโดยตรงในโรงเรียนและโดยครูผู้สอนในโรงเรียนสอนเอง ในรูปแบบการสะสมหน่วย การเรียนรู้ (Credit Bank) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จำนวน ๘ โรงเรียน (จังหวัดจันทบุรี ๔ โรงเรียน ,จังหวัดตราด ๔ โรงเรียน) อนึ่ง ในส่วนของสถาบันอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่มีความร่วมมือให้มีคณะวิชาเชื่อมโยง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี วิทยาลัยเทคนิคตราด วิทยาลัยสารพัดช่างจันทบุรี วิทยาลัยการอาชีพนายายอาม และสถาบันปัญญาภิวัตน์
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๒๙ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ๒.๒ จัดให้มีโรงเรียนคุณภาพ ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนคุณภาพ ผลดำเนินการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ดำเนินการคัดเลือกโรงเรียนใน สังกัด เป็นโรงเรียนคุณภาพ ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนคุณภาพ จำนวน ๑๗ แห่ง (จังหวัดจันทบุรี จำนวน ๑๐ แห่ง จังหวัดตราด ๗ แห่ง) โดยได้เริ่มดำเนินการตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลง วันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๖ รายชื่อโรงเรียนคุณภาพตามนโยบาย ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนคุณภาพ ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๖ ที่ อำเภอ จังหวัด โรงเรียน หมายเหตุ ๑ เกาะกูด ตราด เกาะกูดวิทยาคม ๒ เกาะช้าง ตราด เกาะช้างวิทยาคม ๓ เขาสมิง ตราด เขาสมิงวิทยาคม "จงจินต์รุจิรวงศ์อุปถัมภ์) ๔ คลองใหญ่ ตราด คลองใหญ่วิทยาคม ๕ บ่อไร่ ตราด บ่อไร่วิทยาคม ๖ เมืองตราด ตราด วัดคิรีวิหาร (สมเด็จพระวันรัต อุปถัมภ์) ๗ แหลมงอบ ตราด แหลมงอบวิทยาคม ๘ แก่งหางแมว จันทบุรี แก่งหางแมวพิทยาคาร ๙ ท่าใหม่ จันทบุรี ท่าใหม่ "พูลสวัสดิ์ราษฏร์นุกูล" ๑๐ นายายอาม จันทบุรี นายายอามพิทยาคม ๑๑ เมืองจันทบุรี จันทบุรี เบญจมานุสรณ์ ๑๒ ขลุง จันทบุรี ตกพรมวิทยาคาร ๑๓ เขาคิชฌกูฏ จันทบุรี คิชฌกูฏวิทยา ๑๔ โป่งน้ำร้อน จันทบุรี โป่งน้ำร้อนวิทยาคม ๑๕ มะขาม จันทบุรี มะขามสรรเสริญ ๑๖ สอยดาว จันทบุรี สอยดาววิทยา ๑๗ แหลมสิงห์ จันทบุรี แหลมสิงห์วิทยาคม "อาทรสังขะวัฒนะ ๔ อุปถัมภ์"
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๓๐ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราดมีการดำเนินการขอจัดตั้งงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๘ ดังนี้ - งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายการค่าครุภัณฑ์สำหรับโรงเรียน รวม งบประมาณที่ขอจัดตั้ง ๙,๐๙๖,๙๐๐ บาท - งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายการค่าก่อสร้างและปรับปรุงซ่อมแซมสำหรับ โรงเรียน รวมงบประมาณที่ขอจัดตั้ง ๙๔,๓๗๒,๔๐๐ บาท นอกจากนี้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ทุกเขต ดำเนินการกรอกข้อมูลตาม แบบสำรวจโรงเรียนคุณภาพ ๕ ด้าน ประกอบด้วย ๑) ด้านโครงสร้าง พื้นฐานและระบบสนับสนุนนักเรียน ๒) ด้านผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๓) ด้านการบริหาร จัดการ ๔) ด้านการจัดการเรียนรู้ และ ๕) ด้านผู้เรียน และให้โรงเรียน ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนคุณภาพจัดทำ ข้อมูลเพิ่มเติมอีก ๒ ส่วน ดังนี้ (๑) จัดทำแผนที่ของโรงเรียนคุณภาพตามนโยบาย ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนคุณภาพ โดยแสดงจำนวนโรงเรียนเครือข่ายที่มีระยะทางไม่เกิน ๕ กิโลเมตร ที่อยู่บริเวณโดยรอบของโรงเรียน คุณภาพในอำเภอนั้น ๆ พร้อมทั้งระบุชื่อโรงเรียน ระยะทาง ขนาดพื้นที่ จำนวนนักเรียนและครูให้ชัดเจน (๒) สำรวจข้อมูลโรงเรียนเครือข่ายที่คาดว่าจะมาเรียนรวมกับโรงเรียนคุณภาพ ตามนโยบาย ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนคุณภาพ โดยให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดส่งข้อมูลผ่านเว็บไซต์ https://inno.obec.go.th/1tambon 1school/page id=6783
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๓๑ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ๒.๓ พัฒนาระบบการแนะแนวการเรียน (Coaching) และเป้าหมายชีวิตให้เป็นรูปธรรม ผลดำเนินการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ได้ดำเนินงานพัฒนาทักษะของครูแนะแนว ให้มี ความรู้ความสามารถเพื่อให้คำแนะนำแก่นักเรียนในเรื่องการเรียนรู้ การศึกษาต่อ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในขณะที่นักเรียนเกิดปัญหาและต้องการความช่วยเหลือ ดูแลเรื่องทุนการศึกษาสำหรับนักเรียนยากจน และ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ได้ดำเนินการพัฒนาระบบการแนะแนวการเรียน โดยให้ครูแนะแนวทุกโรงเรียนในสังกัด จำนวน ๓๙ แห่ง ดำเนินการจัดทำระบบสำรวจแววความสามารถพิเศษ ของนักเรียนด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ผู้บริหาร สถานศึกษา ครูผู้สอนทุกคน ได้รับรู้ถึงความสามารถ ความถนัดและสนใจของนักเรียน เพื่อนำไปวางแผน พัฒนาให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ตรงตามความต้องการ ความถนัดและสนใจของตนเอง และนำผลจากการสำรวจมาเป็นข้อมูลสารสนเทศ ในการพัฒนานักเรียน โดย จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและแผนการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถพัฒนาศักยภาพ ของนักเรียนให้ตรงกับพหุ ปัญญาที่หลากหลายของแต่ละบุคคล โดยจำแนกการวัดแววเป็นรายด้าน พบว่า นักเรียนระดับชั้น ป.๓ – ม.๖ จำนวนทั้งสิ้น ๒๘,๐๔๖ คน ได้รับการคัดกรองด้วยระบบวัดแวว ๒๓,๒๘๘ คน เรียงลำดับความสามารถจาก มากไปหาน้อย ๘ ลำดับ ดังนี้ ลำดับที่ ๑ ด้านสังคมและอารมณ์ จำนวน ๔,๒๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๑๘ ลำดับที่ ๒ ด้านการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ จำนวน ๔,๒๐๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๐๕ ลำดับที่ ๓ ด้านศิลปะ/มิติสัมพันธ์ จำนวน ๒,๗๗๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๘๒ ลำดับที่ ๔ ด้านภาษา จำนวน ๓,๙๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๙๑ ลำดับที่ ๕ ด้านวิทยาศาสตร์ จำนวน ๓,๓๔๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๓๖ ลำดับที่ ๖ ด้านการได้ยิน จำนวน ๓,๒๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๙๗ ลำดับที่ ๗ ด้านเครื่องกลและอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน ๒,๗๗๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๙๒ ลำดับที่ ๘ ด้านคณิตศาสตร์ จำนวน ๒,๕๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๘๔
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๓๒ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด ๒.๕ การจัดทำระบบวัดผลเทียบระดับการศึกษา และประเมินผลการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียน ที่มีความสามารถเป็นเลิศ ไม่ต้องเสียเวลาเรียนในระบบ ประหยัดเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย ผลดำเนินการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด จัดให้มีการจัดทำระบบวัดผล เทียบระดับการศึกษา และประเมินผลการศึกษาเพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยง การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ลงสู่โรงเรียน ดังนี้ (๑) การจัดทำรายวิชาเพิ่มเติมของสถานศึกษา ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โดยการบรรจุรายวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนดให้เรียนในแต่ละภาคเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔, ๕ และ ๖ เป็นหลักสูตรต่อเนื่อง ๓ ปีการศึกษา (ปีการศึกษา ๒๕๖๖ – ๒๕๖๘) การจัดเรียนการสอน และวัดประเมินผล การเรียนรู้ตามหลักสูตร โดยอาจารย์ผู้สอนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เป็นผู้สอนและดำเนินการวัดผลประเมินผลผู้เรียน ตัดเกรด และส่งผลการเรียนให้กับโรงเรียน ที่มีนักเรียนเข้า ศึกษา เพื่อให้โรงเรียนนำไปกรอกในใบ ปพ. ๑ ของนักเรียนแต่ละคน และนำผลการเรียนที่ได้ในรายวิชานั้น ๆ ไปจัดเก็บไว้ ในรูปแบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ระดับปริญญาตรี โดยมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เป็นผู้นำไปจัดเก็บในระบบ ทั้งนี้ นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ไม่ต้องเสียเวลาใน การเรียน ไม่ต้องค่าใช้จ่ายในการเรียนและไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมในการลงทะเบียนเข้าเรียนในระบบรูปแบบ การสะสมหน่วยการเรียนรู้(Credit Bank) ระดับปริญญาตรี ส่งผลให้นักเรียนประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายใน การเรียน (๒) การจัดทำรายวิชาเพิ่มเติมของสถานศึกษา ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โดยการบรรจุรายวิชาที่สถาบันอาชีวศึกษากำหนดให้เรียนในแต่ละภาคเรียน ซึ่งเป็นรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔, ๕ และ ๖ เป็นหลักสูตรต่อเนื่อง ๓ ปีงบประมาณ (ปีการศึกษา ๒๕๖๖ – ๒๕๖๘) การ จัดเรียนการสอนและวัดประเมินการเรียนรู้ตามหลักสูตร โดยอาจารย์ผู้สอนจากสถาบันอาชีวศึกษาไปสอนโดยตรงใน โรงเรียนและโดยครูผู้สอนในโรงเรียนสอนเอง และดำเนินการวัดประเมินผลผู้เรียน ตัดเกรด และส่งผลการเรียนให้กับ โรงเรียนที่มีนักเรียนเข้าศึกษา เพื่อให้โรงเรียนนำไปกรอกในใบ ปพ. ๑ ของนักเรียนแต่ละคน และนำผลการเรียนที่ได้ ในรายวิชานั้น ๆ ไปจัดเก็บไว้ ในรูปแบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) โดยวิทยาลัยเทคนิคตราด และสถาบันปัญญาภิวัฒน์เป็นผู้นำไปจัดเก็บในระบบ ทั้งนี้ นักเรียนที่เข้าร่วม โครงการฯ ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียน ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเรียนและไม่ต้องค่าธรรมเนียมในการลงทะเบียนเข้า เรียน ในระบบรูปแบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) ส่งผลให้ นักเรียนประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเรียน
รายงานผลการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๓๓ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำจันทบุรี ตรำด