The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม 4 การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2022-03-24 10:59:30

การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง

เล่ม 4 การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง

แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้ดีขน้ึ กวา่ เดิม
๑. พัฒนาวิธีการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนท่ีเหมาะสม
กับบริบทของสถานศกึ ษาผ่านกระบวนการวิจัย
๒. เพ่ิมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการประเมินคุณภาพภายใน
แลว้ นำ� มาสู่การระดมความคิดเพือ่ พฒั นาสถานศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ
๓. จัดระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการบริหารจัดการในสถานศึกษา เช่น
การวางระบบการดูแลนักเรียน การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้ปกครองเพื่อการสร้าง
การรว่ มมอื ในการดูแลนกั เรียน

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ทผี่ ู้เรียนเปน็ ส�ำคัญ
ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ
สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ
น�ำไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ครูมีนวัตกรรม
ในการจดั การเรยี นรู้และครูบางสว่ นมกี ารเผยแพร่ ครใู ชส้ ื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาส
ให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ครูมีกระบวนการตรวจสอบและประเมิน
ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ใช้เคร่ืองมือ และวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสม
กับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและน�ำผลมาพัฒนา
ผเู้ รยี น ครูมีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชิงบวก เดก็ รกั ท่ีจะเรียนรู้ และเรียนรรู้ ่วมกนั
อย่างมีความสุข ครูจัดท�ำชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้
และให้ขอ้ มูลสะทอ้ นกลับเพือ่ พัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้

42

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ขอ้ มูลหลักฐานและเอกสารเชิงประจกั ษส์ นับสนุน
- ครูทุกคนจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้
มากกว่าเน้ือหาวิชา โดยร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตร จัดท�ำแผนการจัดการเรียนรู้
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดกระบวนการ
เรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย เชน่ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน การสอน
แบบสะเต็มศึกษา เป็นต้น และครูร้อยละ ๕๐ มีการจัดท�ำวิจัยในช้ันเรียน
เพ่อื พัฒนาการจัดการเรียนการสอน
- ครรู ้อยละ ๘๐ สามารถผลติ และใช้สอ่ื การสอนทีส่ อดคล้องกับกจิ กรรม
การเรียนรู้ในกลุ่มสาระการ สอน โดยสื่อการสอนท่ีใช้ ประกอบด้วย ใบงาน
ใบความรู้ แบบฝึกทกั ษะ บัตรภาพ บตั รคำ� วดิ ีโอ และเกมตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ นอกจากนี้
ครูของสถานศึกษาทุกคนจัดท�ำแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา
ครูทุกคนต้องมีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนจัดท�ำการศึกษาค้นคว้าจากศูนย์ข้อมูล
สารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
สถานศึกษาเช่น ห้องสมุด ห้อง Sound Lab ป้ายนิเทศหน้าอาคาร หรือ
หนา้ ช้นั เรียน แผน่ ปา้ ยความรู้ ตน้ ไมพ้ ูดได้สวนเกษตร เปน็ ตน้
- ครูทุกคนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนท่ีเป็นระบบ จัดท�ำเอกสาร
ในชั้นเรียนอย่างถูกต้องและครบถ้วน มีการวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
และน�ำผลการไปออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความสามารถ
ความต้องการและสภาพบริบทของนักเรียน มีการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็น
ระบบ โดยมีการติดต่อส่ือสารกับผู้ปกครองนักเรียนในหลายช่องทาง คือ
ทางโทรศัพท์ ทาง Facebook การจัดต้ังกลุ่ม Line และการประชุมผู้ปกครอง
เพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับนักเรียนอย่างต่อเน่ือง นอกจากน้ีมีครูทุกคน
ต้องด�ำเนินการเย่ียมบ้านนักเรียนในความรับผิดชอบปีการศึกษาละ ๑ คร้ัง
แล้วจดั ทำ� ข้อมลู พื้นฐานของนกั เรียนเป็นรายบุคคล

43

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

- ครูทุกคนมีการออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
อย่างเป็นระบบ แบ่งสัดส่วนของประเมินผลก่อนกลางภาค กลางภาค และ
ปลายภาคแล้วส่งแผนการวัดประเมินผลต่อฝ่ายวิชาการ ครูร้อยละ ๑๐๐
ใช้เครื่องมอื วดั และประเมนิ ผลทเี่ หมาะสมกับการประเมิน (A, P, K) และให้ขอ้ มลู
ยอ้ นกลบั แกผ่ ้เู รียน เพอ่ื ให้นักเรียนจัดทำ� แฟม้ สะสมงาน มีการแจ้งผลการประเมิน
ให้ผู้ปกครองทราบ เพอื่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายการเรียนรู้
- ครูทุกคนรวมกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อแลกเปล่ียน
เรียนรู้กันเก่ียวกับปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ท่ีรับผิดชอบ พัฒนาสื่อ/นวัตกรรมและแนวทางการแก้ปัญหา
จัดท�ำแผนการจัดการเรียนรู้ สังเกตการสอน และสะท้อนผลการสังเกตการสอน
ร่วมกนั ในวันจนั ทรว์ ันพธุ และวันศุกร์ วนั ละ ๑ ช่ัวโมง นอกจากนคี้ รูทุกคนได้รบั
การพัฒนาความรู้ที่ตรงกับความต้องการของตนเองและสถานศึกษา และน�ำ
ความรู้ทีไ่ ดร้ ับมาใช้ในการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนต่อไป
แนวทางพัฒนาคณุ ภาพให้ดขี ้นึ กวา่ เดมิ
๑. พัฒนาครูให้ท�ำการวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือน�ำผลของงานวิจัยนั้นไป
พัฒนาการเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขึ้น
๒. เชิญครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ผู้ปกครองนักเรียน หรือ
กรรมการสถานศึกษาให้เข้ามามีส่วนร่วมในกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(PLC) ของครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ได้แนวคิดท่ีหลากหลาย
ในการแก้ปญั หาการจดั การเรียนการสอน

44

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

บรรณานุกรม

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (๒๕๕๓). กฎกระทรวงว่าดว้ ย ระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธี
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓,ประกาศ ณ วันท่ี
๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓. ม.ป.ป. (เอกสารอัดส�ำเนา)

_______. (๒๕๖๑). กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑.
(เอกสารอดั สำ� เนา)

_______. (๒๕๖๑). มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
ฉบับลงวนั ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑.

พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. (๒๕๔๒). ราชกิจจานุเบกษา.
เล่ม ๑๑๖ ตอนท่ี ๗๔ ก (๑๙ สงิ หาคม ๒๕๔๒).

_______. (๒๕๔๕). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๑๒๓ ก (๑๙ ธนั วาคม
๒๕๔๕).

ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา. (๒๕๔๙). แนวทางการเขียนรายงานการประเมิน
ตนเองของสถานศึกษา (Self–Assessment Report : SAR).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพส์ ำ� นักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาต.ิ

_______. (๒๕๕๓). แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการ
ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กดั .

45

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

_______. (๒๕๕๔). การจัดท�ำรายงานประจ�ำปีของสถานศึกษา ตามกฎ
กระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการ
ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด.

_______. (๒๕๕๔). การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั .

_______. (๒๕๕๔). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา.
กรุงเทพฯ :โรงพิมพส์ �ำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาต.ิ

_______. (๒๕๕๔). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ปฐมวัยเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ
:โรงพมิ พส์ �ำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาต.ิ

_______. (๒๕๖๑). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐานศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั .

46

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ภาคผนวก



แนวทางการให้ระดับคุณภาพ
มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพเด็ก

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา

ก�ำลังพัฒนา l มีพัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสติปัญญา
ยงั ไมบ่ รรลตุ ามเปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษาก�ำหนด

ปานกลาง l มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสติปญั ญา
ยงั ไมบ่ รรลตุ ามเป้าหมายที่สถานศกึ ษากำ� หนด

l มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรและมีแผนงาน/
โครงการ/กิจกรรมเสริมในการพัฒนาเด็กท่ียังไม่บรรลุตาม
เป้าหมายที่สถานศกึ ษาก�ำหนด

ดี l มพี ัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสติปัญญา
บรรลุตามเปา้ หมายทส่ี ถานศึกษากำ� หนด

ดเี ลศิ l มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คมและสติปัญญา
บรรลตุ ามเปา้ หมายที่สถานศกึ ษากำ� หนด

l มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรและมีแผนงาน/
โครงการ/กิจกรรมเสริมในการพัฒนาเด็กอย่างเป็นระบบ
และต่อเนอ่ื ง

ยอดเย่ียม l มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสติปัญญา
บรรลุตามเป้าหมายท่สี ถานศึกษากำ� หนด

l มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรและมีแผนงาน/
โครงการ/กิจกรรมเสริมในการพัฒนาเด็กอย่างเป็นระบบ
และต่อเน่ือง

l มสี ่วนรว่ มของพอ่ แมค่ รอบครวั ชุมชน และทุกฝา่ ยทเ่ี กี่ยวข้อง
ในการส่งเสรมิ พฒั นาการของเด็ก

49

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา

กำ� ลังพฒั นา l มีหลักสูตรสถานศึกษาท่ีไม่ยืดหยุ่น ไม่สอดคล้องกับหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั และบริบทของท้องถน่ิ
l มีระบบบริหารคุณภาพ แต่ไม่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ
เดก็ ปฐมวัย

ปานกลาง l มีหลักสูตรสถานศึกษาท่ียืดหยุ่น สอดคล้องกับหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยและบริบทของท้องถน่ิ
l มีระบบบริหารคุณภาพ แต่ไม่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ
เด็กปฐมวยั

ดี l มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น สอดคล้องกับหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั และบริบทของทอ้ งถิ่น
l จดั ครูให้เพียงพอและเหมาะสมกบั ชั้นเรยี น
l มกี ารสง่ เสริมให้ครูมีความเช่ยี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
ทส่ี ง่ ผลต่อคุณภาพเด็กเป็นรายบุคคล
l จัดสภาพแวดล้อมอย่างปลอดภัย และมีส่ือเพื่อการเรียนรู้
อยา่ งเพยี งพอและหลากหลาย
l ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้
เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ เหมาะสมกับบริบทของ
สถานศกึ ษา
l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีส่งผลต่อ
คุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาและเปิดโอกาส
ให้ผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมีสว่ นร่วม

50

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา

ดเี ลศิ l มีการประเมินและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้อง
กบั หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยและบรบิ ทของทอ้ งถ่ิน
l จัดครูให้เพียงพอและเหมาะสมกบั ชั้นเรียน
l มีการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์
ที่ส่งผลต่อคุณภาพเด็กเป็นรายบุคคล ตรงความต้องการ
ของครู และสถานศกึ ษา
l จัดสภาพแวดล้อมอย่างปลอดภัย และมีส่ือเพื่อการเรียนรู้
อย่างเพียงพอและหลากหลาย
l ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้
เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์เหมาะสมกับบริบทของ
สถานศกึ ษา
l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา การชี้แนะ
ระหว่างการปฏิบัติงานท่ีส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน
ของสถานศึกษา บูรณาการการปฏิบัติงานและเปิดโอกาส
ให้ผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม

51

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา

ยอดเย่ียม l มีการประเมินและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้อง
กบั หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยและบรบิ ทของท้องถ่นิ
l จดั ครใู หเ้ พียงพอและเหมาะสมกับช้นั เรยี น
l มีการส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์
ท่ีส่งผลต่อคุณภาพเด็กเป็นรายบุคคล ตรงความต้องการ
ของครู และสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้
ทางวชิ าชีพ
l จัดสภาพแวดล้อมอย่างปลอดภัย และมีสื่อเพ่ือการเรียนรู้
อย่างเพียงพอและหลากหลาย
l ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้
เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์เหมาะสมกับบริบท
ของสถานศึกษา
l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีเหมาะสม
และต่อเน่ือง มีการช้ีแนะระหว่างการปฏิบัติงานท่ีส่งผล
ต่อคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา บูรณาการการ
ปฏิบัติงานและเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
จนเป็นแบบอย่างท่ีดีและได้รับการยอมรับจากชุมชนและ
หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

52

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเป็นส�ำคญั

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา

ก�ำลงั พฒั นา l จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญาไมส่ มดลุ

l ไมส่ ร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบัติ
กจิ กรรมอย่างอสิ ระตามความตอ้ งการ ความสนใจและความ
สามารถของเดก็

ปานกลาง l จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญาอย่างสมดลุ

l สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติ
กิจกรรมอยา่ งอสิ ระตามความตอ้ งการ ความสนใจและความ
สามารถของเดก็

ดี l จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างสมดุล เต็ม
ศกั ยภาพของเดก็ เปน็ รายบุคคล

l สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติ
กิจกรรม เรียนรู้ ลงมือท�ำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
อย่างมีความสขุ

l จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่เอ้ือต่อการ
เรยี นรู้ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย

l ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการ
ท่ีหลากหลาย โดยผู้ปกครองและผู้เก่ียวข้อง มีส่วนร่วมน�ำ
ผลการประเมินที่ได้ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และ
พฒั นาเดก็

53

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา

ดีเลศิ l จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างสมดุล เต็ม
ศักยภาพ โดยความรว่ มมือของพอ่ แม่ และครอบครวั ชมุ ชน
และผู้เกยี่ วขอ้ ง

l สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติ
กิจกรรม เรียนรู้ ลงมือท�ำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
อย่างมคี วามสุข

l จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่เอื้อต่อ
การเรยี นรู้ โดยเดก็ มีส่วนรว่ ม ใชส้ ือ่ และเทคโนโลยที ่เี หมาะสม
กบั วยั

l ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย
โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมน�ำผลการประเมิน
ท่ไี ด้ไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

ยอดเยย่ี ม l จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างสมดุล เต็ม
ศกั ยภาพ โดยความรว่ มมอื ของพอ่ แม่ และครอบครวั ชมุ ชน
และผูเ้ กยี่ วขอ้ ง และเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี

l สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติ
กิจกรรม เรียนรู้ ลงมือท�ำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
อยา่ งมคี วามสุข

l จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนท่ีเอื้อต่อ
การเรยี นรู้ โดยเด็กมีสว่ นรว่ ม ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีท่เี หมาะสม
กับวยั

l ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย
โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมน�ำผลการประเมิน
ที่ได้ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก

54

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผู้เรียน

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา

ก�ำลงั พฒั นา ๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รียน
l ผ้เู รียนมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร
และการคิดค�ำนวณ ต่�ำกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษา
กำ� หนด
l ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ต�ำ่ กวา่ เป้าหมายทส่ี ถานศึกษาก�ำหนด
๑.๒ คุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น
l ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ต�่ำกว่าเป้าหมาย
ท่สี ถานศึกษากำ� หนด
l ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ต่�ำกว่า
เปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษากำ� หนด

ปานกลาง ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน
l ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร

และการคิดค�ำนวณ เป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถาน
ศึกษากำ� หนด
l ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
เปน็ ไปตามเปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษาก�ำหนด
๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผ้เู รียน
l ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี เป็นไปตามเป้าหมาย
ทีส่ ถานศึกษาก�ำหนด
l ผูเ้ รยี นมีสุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม เปน็ ไปตาม
เปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษากำ� หนด

55

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา

ดี ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเ้ รียน
l ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สาร
และการคิดค�ำนวณ เป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
ก�ำหนด
l ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
เป็นไปตามเปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษาก�ำหนด
l ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ น ความคิดเหน็ และ
แกป้ ญั หาได้
l ผู้เรยี นมีความรู้ และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม
l ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารเพ่ือพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม
ปลอดภัย
l ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติท่ีดีต่องาน
อาชีพ
๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น
l ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี เป็นไปตามเป้าหมาย
ทสี่ ถานศกึ ษาก�ำหนด
l ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความ
เป็นไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนุรักษ์วฒั นธรรม ประเพณี
และภมู ปิ ญั ญาไทย
l ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ
หลากหลาย
l ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมสูงกว่า
เป้าหมายท่สี ถานศกึ ษาก�ำหนด

56

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา

ดีเลศิ ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรียน
l ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สาร
และการคิดค�ำนวณ สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษา
กำ� หนด
l ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
สูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากำ� หนด
l ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ โดยใช้
เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และแกป้ ญั หาได้
l ผู้เรียนมีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
l ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้าน
การเรียนรู้ การสือ่ สาร การท�ำงาน
l ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดีพร้อม
ท่ีจะศึกษาต่อในระดับชั้นท่ีสูงขึ้น และการท�ำงานหรือ
งานอาชีพ
๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผูเ้ รียน
l ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี สูงกว่าเป้าหมาย
ทส่ี ถานศึกษากำ� หนด
l ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความ
เป็นไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนุรักษว์ ฒั นธรรม ประเพณี
และภมู ปิ ัญญาไทย
l ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ
หลากหลาย
l ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมสูงกว่า
เปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษากำ� หนด

57

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา

ยอดเยยี่ ม ๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผูเ้ รยี น
l ผเู้ รียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร

และการคิดค�ำนวณ สูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
ก�ำหนด
l ผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
สงู กว่าเปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษาก�ำหนด
l ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี น ความคดิ เหน็ โดยใช้
เหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ และแก้ปญั หาได้
l ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีการน�ำ
ไปใช้และเผยแพร่
l ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารเพ่ือพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการ
เรยี นรู้ การสอื่ สาร การทำ� งาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมี
คณุ ธรรม
l ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีพร้อม
ท่ีจะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงข้ึน และการท�ำงานหรือ
งานอาชีพ
๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น
l ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี สูงกว่าเป้าหมาย
ทีส่ ถานศกึ ษากำ� หนด เป็นแบบอยา่ งได้
l ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความ
เป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษว์ ฒั นธรรม ประเพณี
และภูมิปญั ญาไทย
l ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ
หลากหลาย
l ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมสูงกว่า
เปา้ หมายทส่ี ถานศึกษากำ� หนด

58

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา

ก�ำลังพฒั นา l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ท่ีสถานศึกษาก�ำหนด
ไมช่ ัดเจน

l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา แต่ไม่ส่งผล
ต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

ปานกลาง l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สถานศึกษาก�ำหนด
ชดั เจนเป็นไปได้ในการปฏบิ ตั ิ

l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ท่ีส่งผลต่อ
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ดี l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สถานศึกษาก�ำหนด
ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา เป็นไปได้ใน
การปฏบิ ตั ิ

l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน
สง่ ผลต่อคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

l ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุม่ เป้าหมาย

l พฒั นาครแู ละบุคคลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี
l จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ

จัดการเรียนรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพ
l จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการบริหาร

จัดการและการจัดการเรียนรู้

59

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา

ดเี ลิศ l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สถานศึกษาก�ำหนด
ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการ
ชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปได้
ในการปฏิบัติ
l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน
มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา โดยความร่วมมือของผ้เู ก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ย
l ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยง
กับชีวติ จริง
l พัฒนาครูและบุคคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความต้องการของครู และสถานศึกษา
l จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการ
จดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ และมคี วามปลอดภัย
l จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของ
สถานศึกษา

60

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา

ยอดเยีย่ ม l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สถานศึกษาก�ำหนด
ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการ
ชมุ ชน นโยบายรฐั บาล แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ เปน็ ไปได้ใน
การปฏิบัติทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง
l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน
มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย
มีการน�ำข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อ
เนื่องและเป็นแบบอยา่ งได้
l ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยง
กับชวี ติ จริง และเปน็ แบบอย่างได้
l พัฒนาครูและบุคคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความต้องการของครู และสถานศึกษา และจัดให้มี
ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี เพ่อื พัฒนางาน
l จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการ
จดั การเรียนรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ และมคี วามปลอดภัย
l จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของ
สถานศึกษา

61

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ ส�ำคัญ

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา

กำ� ลังพฒั นา l จัดการเรียนรู้ท่ีไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ระบวนการคิด
และปฏบิ ตั จิ รงิ
l ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีไม่เอื้อต่อ
การเรยี นรู้
l ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งไมเ่ ป็นระบบ

ปานกลาง l จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา
และสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำ� เนนิ ชวี ิต
l ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อ
การเรียนรู้
l ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผลมา
พัฒนาผเู้ รียน

ดี l จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถ
น�ำไปประยุกตใ์ ช้ในการด�ำเนินชวี ติ
l ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อ
การเรียนรู้
l ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผลมา
พฒั นาผ้เู รียน
l มกี ารบริหารจัดการชนั้ เรยี นเชิงบวก
l มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนา
และปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้

62

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา

ดเี ลิศ l จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา
มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถน�ำไปจัดกิจกรรมได้จริง
และสามารถน�ำไปประยุกต์ใชใ้ นการด�ำเนนิ ชีวติ ได้
l ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมท้ัง
ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทเี่ ออื้ ต่อการเรียนรู้
l ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีข้ันตอน
โดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสม
กับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่
ผู้เรียน และน�ำผลมาพฒั นาผู้เรยี น
l มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เด็กรักที่จะเรียนรู้
และเรียนร่วมกันอยา่ งมีความสขุ
l มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครู เพื่อพัฒนา
และปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้

63

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา

ยอดเยีย่ ม l จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา
มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถน�ำไปจัดกิจกรรมได้จริง
และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวิตได้
มนี วัตกรรมในการจดั การเรียนรู้ และมีการเผยแพร่
l ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมท้ัง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้
ผเู้ รียนไดแ้ สวงหาความรู้ด้วยตนเอง
l ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีข้ันตอน
โดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสม
กับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่
ผูเ้ รียน และนำ� ผลมาพัฒนาผู้เรยี น
l มีการบรหิ ารจดั การชั้นเรยี นเชิงบวก เดก็ รกั ที่จะเรียนรู้ และ
เรียนร่วมกนั อยา่ งมคี วามสขุ
l มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครู และผู้เก่ียวข้อง
เพื่อพฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้เกี่ยวขอ้ ง
มี ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู ้ แ ล ะ ใ ห ้ ข ้ อ มู ล ส ะ ท ้ อ น ก ลั บ
เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้

64

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ศนู ย์การศึกษาพิเศษ

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผู้เรยี น

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา

ก�ำลงั พฒั นา ๑.๑ ผลการพัฒนาผเู้ รยี น
l ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศัยกภาพของแต่ละบุคคลที่
แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุ
ไวใ้ นแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผนการ
ให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวต่�ำกว่าเป้าหมาย
ที่สถานศกึ ษาก�ำหนด
๑.๒ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รียน
l ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และ
จติ ส�ำนกึ ตามทส่ี ถานศกึ ษากำ� หนด

ปานกลาง ๑.๑ ผลการพฒั นาผเู้ รยี น
l ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศัยกภาพของแต่ละบุคคล
ทแ่ี สดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตามท่ีระบุ
ไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผน
การให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว เป็นไปตาม
เป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษาก�ำหนด
๑.๒ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผเู้ รียน
l ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตส�ำนึกตามที่สถานศึกษาก�ำหนด โดยไม่ขัดกับ
กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดงี าม เป็นไปตามเปา้ หมาย
ทส่ี ถานศกึ ษากำ� หนด

65

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา

ดี ๑.๑ ผลการพฒั นาผเู้ รยี น
l ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศัยกภาพของแต่ละบุคคลท่ี
แสดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ตามทรี่ ะบุ
ไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ
แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว เป็นไป
ตามเป้าหมายที่สถานศกึ ษาก�ำหนด
l ผู้เรียนมีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเช่ือมต่อ
หรือการส่งต่อเข้าสู่การศึกาในระดับท่ีสูงข้ึน หรือการ
อาชีพหรือการดำ� เนนิ ชีวิตในสังคมไดต้ ามศักยภาพของ
แต่ละบุคคลเปน็ ไปตามเปา้ หมายท่สี ถานศึกษาก�ำหนด
๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น
l ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตส�ำนึกตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนด โดยไม่ขัดกับ
กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดีงาม เป็นไปตามเปา้ หมาย
ท่ีสถานศึกษาก�ำหนด
l ผู้เรียนแสดงออกกถึงความภูมิใจในท้องถ่ิน และความ
เป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ
ประเพณี รวมทั้งภูมิปัญญาไทย ตามศักยภาพของ
ผู้เรียนแต่ละบุคคลเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษา
กำ� หนด

66

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา

ดีเลิศ ๑.๑ ผลการพฒั นาผเู้ รียน
l ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศัยกภาพของแต่ละบุคคล
ทแ่ี สดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ตามท่รี ะบุ
ไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผน
การให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว สูงกว่า
เปา้ หมายทส่ี ถานศึกษาก�ำหนด
l ผู้เรียนมีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อ
หรือการส่งต่อเข้าสู่การศึกาในระดับท่ีสูงข้ึน หรือ
การอาชีพหรือการด�ำเนินชีวิตในสังคมได้ตามศักยภาพ
ของแต่ละบุคคลสูงกว่าตามเป้าหมายที่สถานศึกษา
ก�ำหนด
๑.๒ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน
l ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตสำ� นึกตามที่สถานศึกษาก�ำหนด โดยไมข่ ัดกับกฎหมาย
และวฒั นธรรมอนั ดงี าม สงู กว่าเปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษา
กำ� หนด
l ผู้เรียนแสดงออกกถึงความภูมิใจในท้องถ่ิน และความ
เป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ
ประเพณี รวมทั้งภูมมิปัญญาไทย ตามศัยกภาพของ
ผู้เรียนแต่ละบุคคลสูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
กำ� หนด

67

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา

ยอดเยย่ี ม ๑.๑ ผลการพฒั นาผู้เรียน
l ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศัยกภาพของแต่ละบุคคลที่
แสดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ตามท่ีระบุ
ไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผน
การให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว สูงกว่า
เป้าหมายท่ีสถานศกึ ษากำ� หนดอยา่ งต่อเน่อื ง
l ผู้เรียนมีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อ
หรือการส่งต่อเข้าสู่การศึกาในระดับที่สูงขึ้น หรือ
การอาชีพหรือการด�ำเนินชีวิตในสังคมได้ตามศักยภาพ
ของแต่ละบุคคลสูงกว่าตามเป้าหมายที่สถานศึกษา
ก�ำหนด
๑.๒ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผเู้ รียน
l ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตสำ� นึกตามที่สถานศกึ ษาก�ำหนด โดยไม่ขัดกบั กฎหมาย
และวฒั นธรรมอนั ดีงาม สูงกวา่ เปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษา
กำ� หนด อย่างตอ่ เนอื่ ง
l ผู้เรียนแสดงออกกถึงความภูมิใจในท้องถ่ิน และ
ความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
และประเพณี รวมท้ังภูมมิปัญญาไทย ตามศัยกภาพ
ของผู้เรียนแต่ละบุคคลสูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
ก�ำหนด

68

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา

กำ� ลงั พัฒนา l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ท่ีสถานศึกษาก�ำหนด
ไมช่ ัดเจน
l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา แต่ไม่ส่งผล
ตอ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ปานกลาง l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ท่ีสถานศึกษาก�ำหนด
ชัดเจนเป็นไปได้ในการปฏบิ ัติ
l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ท่ีส่งผลต่อ
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ดี l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สถานศึกษาก�ำหนด
ชดั เจน สอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศกึ ษา เป็นไปได้ในการ
ปฏิบตั ิ
l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน
ส่งผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
l ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา และทกุ กล่มุ เป้าหมาย
l พัฒนาครแู ละบคุ คลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี
l จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีปลอดภัยและ
เอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพ
l จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการบริหาร
จัดการและการจดั การเรียนรู้

69

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา

ดีเลศิ l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สถานศึกษาก�ำหนด
ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการ
ชมุ ชน นโยบายรฐั บาล แผนการศกึ ษาแห่งชาติ เป็นไปไดใ้ น
การปฏิบตั ิ
l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน
มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา โดยความรว่ มมือของผูเ้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่าย
l ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยง
กบั ชวี ติ จริง
l พัฒนาครูและบุคคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความต้องการของครู และสถานศกึ ษา
l จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอก
สถานศกึ ษา ให้ปลอดภยั และเอื้อตอ่ การเรียนรู้ จดั เทคโนโลยี
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใด
ทางการศึกษาให้ผู้เรียนได้เข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้จาก
แหล่งเรยี นรู้ ตามศกั ยภาพและประเภทของความพิการ
l จดั หา พัฒนา และบริการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ตามศักยภาพ
และประเภทของความพกิ าร

70

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา

ยอดเย่ียม l มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สถานศึกษาก�ำหนดไว้
อย่างชดั เจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศกึ ษา ความต้องการ
ชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
นโยบายรัฐบาล และของต้นสังกัดเป็นไปได้ในการปฏิบัติ
รวมทัง้ ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงของสังคม

l มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน
มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย
มีการน�ำข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานอย่าง
ต่อเนื่องและเปน็ แบบอยา่ งได้

l ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนทุกกลุ่ม
เป้าหมายอย่างรอบด้าน ตามศักยภาพและประเภทของ
ความพิการ และให้ครอบคลุมทุกประเภทความพิการ
เชอื่ มโยงกับชวี ติ จริง และเปน็ แบบอยา่ งได้

l พัฒนาครูและบุคคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
และน�ำกระบวนการของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้
ในการพฒั นางานและการเรยี นรูข้ องผ้เู รียน

l จัดหรือปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา ให้ปลอดภัยและเอื้อต่อการเรียนรู้
จัดเทคโนโลยี ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ส่ือ บริการ และ
ความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ให้ผู้เรียนได้เข้าถึงและ
ใช้ประโยชน์ได้จากแหล่งเรียนรู้ ตามศักยภาพและประเภท
ของความพิการ และเปน็ แบบอย่างได้

l จัดหา พัฒนา และบริการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็น
ระบบ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้
ตามศักยภาพและประเภทของความพิการ

71

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำ� คัญ

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา

กำ� ลังพัฒนา l จัดการเรียนรู้ที่ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ระบวนการคิด
และปฏบิ ตั จิ ริง

l ใช้เทคโนโลยี สิ่งอ�ำนวยความสะดวก สื่อ บริการและ
ความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหลง่ เรยี นร้ทู ่ไี มเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้

l ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งไม่เปน็ ระบบ

ปานกลาง l จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามท่ีระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคลท่ีสอดคล้องกับหลักสูตร ของสถานศึกษา
ทเ่ี น้นใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกระบวนารคดิ และปฏิบัติจริง

l ใช้เทคโนโลยี สิ่งอ�ำนวยความสะดวก สื่อ บริการและ
ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้ที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้

l ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผล
มาพัฒนาผเู้ รยี น

ดี l จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคลท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษาที่เน้น
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนารคิดและปฏิบัติจริง โดยผู้เรียน
ได้รับการฝึกให้มีทักษะ และการแสดงความคิดเห็นตาม
ศักยภาพและประเภทของความพกิ าร

l ใช้เทคโนโลยี ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ส่ือ บริการและความ
ช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
แหลง่ เรียนรูท้ ี่เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้

l มกี ารบริหารจัดการผูเ้ รยี น โดยเน้นการมปี ฏิสัมพันธ์เชงิ บวก

72

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา

l มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่าง
เป็นระบบ มีข้ันตอนชัดเจน โดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัด
และประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้ปกครองเพื่อน�ำผลไป
ใชพ้ ัฒนาการเรียนรู้

l มีการแลกเปล่ยี นเรียนรูแ้ ละให้ข้อมูลสะทอ้ นกลบั เพ่อื พฒั นา
และปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้

ดีเลิศ l จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามท่ีระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคลที่สอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษาที่เน้น
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนารคิดและปฏิบัติจริง โดยผู้เรียน
ได้รับการฝึกให้มีทักษะ และการแสดงความคิดเห็นตาม
ศกั ยภาพและประเภทของความพกิ าร

l มีการใช้เทคโนโลยี สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส่ือ บริการและ
ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ทเ่ี ออื้ ตอ่ การเรียนรู้

l มกี ารบริหารจัดการผเู้ รยี น โดยเน้นการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์เชิงบวก
ครูรักเด็ก ให้เด็กรักครู และรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้
ร่วมกันอย่างมคี วามสุข

l มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่าง
เป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัด
และประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้ปกครองเพื่อน�ำผลไป
ใชพ้ ฒั นาการเรยี นรู้

l มชี ุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพระหวา่ งครูและผู้เก่ียวขอ้ ง
เพือ่ พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ ครู และผูเ้ ก่ียวขอ้ ง
มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้

73

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา

ยอดเย่ยี ม l จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคลท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษาท่ีเน้น
ใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรียนรผู้ า่ นกระบวนารคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ เชอื่ มโยง
กับชีวติ ประจำ� วนั การมีสว่ นรว่ มของผู้ปกครองและผทู้ ีเ่ กี่ยวข้อง
โดยผู้เรียนได้รับการฝึกให้มีทักษะ และการแสดงความคิด
เห็นตามศกั ยภาพและประเภทของความพิการ
l มีการใช้เทคโนโลยี ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก สื่อ บริการและ
ความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้ รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยน�ำมาใช้ใน
การจัดการเรียนรู้ และสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา
ความรตู้ ามศักยภาพของผเู้ รยี นจากส่อื ท่ีหลากหลาย
l มกี ารบริหารจดั การผู้เรียน โดยเนน้ การมปี ฏิสมั พนั ธเ์ ชงิ บวก
ครูรักเด็ก ให้เด็กรักครู และรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้
รว่ มกนั อย่างมีความสขุ
l มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่าง
เป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัด
และประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้ปกครองเพื่อน�ำผลไป
ใช้พัฒนาการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่อง
l มชี มุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี ระหวา่ งครูและผู้เกย่ี วขอ้ ง
และใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การ
เรยี นรู้

74

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

กฎกระทรวง
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๖๑
อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แหง่ พระราชบญั ญตั ิ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออก
กฎกระทรวงไว้ ดงั ต่อไปน ี้
ขอ้ ๑ ใหย้ กเลกิ กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คณุ ภาพการศึกษาพ.ศ. ๒๕๕๓
ขอ้ ๒ ในกฎกระทรวงน้ี
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับ
และประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหาร
คุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดข้ึน เพ่ือให้เกิดการพัฒนาและสร้าง
ความเช่ือม่ันให้แก่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษาน้ันสามารถ
จัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์
ของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรือหน่วยงานทก่ี �ำกับดูแล

75

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

“ส�ำนักงาน” หมายความว่า ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คณุ ภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน)
ข้อ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาโดยการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศก�ำหนด พร้อมทั้งจัดท�ำแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและด�ำเนินการ
ตามแผนที่ก�ำหนดไว้จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศกึ ษา ติดตามผลการดำ� เนนิ การเพอ่ื พฒั นาสถานศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพ
ตามาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงาน
ตน้ สงั กัดหรอื หน่วยงานท่กี ำ� กบั ดแู ลสถานศกึ ษาเป็นประจ�ำทุกปี
เพื่อให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามวรรคหน่ึงเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล
สถานศึกษามีหน้าท่ีในการให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะน�ำสถานศึกษา
เพือ่ ให้การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาพฒั นาอยา่ งต่อเนือ่ ง
ข้อ ๔ เม่ือได้รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามข้อ ๓
แล้วให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถานศึกษาจัดส่งรายงาน
ดังกล่าวพร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ท่ีต้องการให้มีการประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ
สถานศึกษาแห่งนั้นให้แก่ส�ำนักงานเพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมิน
คุณภาพภายนอก
ให้ส�ำนักงานด�ำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินและ
การติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีก�ำกับดูแลสถานศึกษานั้นๆ เพ่ือให้สถานศึกษาใช้เป็น
แนวทางในการปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตอ่ ไป

76

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ในการด�ำเนินการตามวรรคสอง ส�ำนักงานอาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงาน
ที่ได้รับรองจากส�ำนักงานด�ำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้
ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีก�ำกับดูแลสถานศึกษานั้นติดตาม
ผลการด�ำเนินการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม
วรรคสอง เพ่อื นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ข้อ ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการมอี �ำนาจตคี วามและวินจิ ฉยั
ปญั หาอนั เก่ียวกบั การปฏิบัตติ ามกฎกระทรวงนี้

ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๐ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑


ธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป์
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

77

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยที่แนวทาง
ในการด�ำเนินการตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไม่สอดคล้องกับหลักการประกันคุณภาพ
การศึกษาท่ีแท้จริง จึงส่งผลให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายใน
และภายนอกไม่สัมพันธ์กัน เกิดความซ้�ำซ้อนและคลาดเคล่ือนจากการปฏิบัติ
ท�ำให้ไม่สะท้อนความเป็นจริงและเป็นการสร้างภาระแก้สถานศึกษาและ
บุคลากรในสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่ก�ำกับดูแล
และหน่วยงานภายนอกเกินความจ�ำเป็น สมควรปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือให้มีกลไกการปฏิบัติที่เอ้ือต่อการ
ดำ� เนินการตามมาตรฐานการศกึ ษาของแต่ละระดับ และเกดิ ประสิทธิภาพในการ
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา จึงจำ� เปน็ ต้องออกกฎกระทรวงนี้


78

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ
เร่อื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

และระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานศูนย์การศึกษาพเิ ศษ
โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองท่ีก�ำหนดเป้าหมาย
และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต
ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพ
ทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป
จ�ำเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานให้สอดคล้องกัน จึงให้ยกเลิก
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี ๒๗ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน เพื่อประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี ๑๑ ตุลาคม
พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษ เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี
๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ได้ก�ำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง

79

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักที่ส�ำคัญข้อหน่ึง คือ มีการก�ำหนด
มาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ
ประเภทการศึกษาโดยมาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอ�ำนาจหน้าท่ีก�ำกับดูแล
การศกึ ษาทุกระดบั และทกุ ประเภท ก�ำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา
และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถ้ อื วา่ การประกันคุณภาพภายในเปน็ สว่ นหน่งึ
ของการบริหารการศึกษาท่ีต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดท�ำรายงาน
ประจ�ำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และเปิดเผย
ต่อสาธารณชน เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรับรอง
การประกนั คุณภาพภายนอก
ฉะน้ัน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๙ (๓) มาตรา ๔๘
แห่งพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๕ มาตรา ๓๑
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติ
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐานในการประชมุ ครัง้ ที่ ๕/๒๕๖๑ เม่ือวันศกุ รท์ ี่
๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ จึงประกาศให้
ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เพ่ือเป็นหลักในการเทียบเคียงส�ำหรับ
สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาท้ังประถม
ศกึ ษา และมัธยมศึกษา ในการพฒั นาสง่ เสริม สนับสนุน ก�ำกับดูแล และตดิ ตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศฉบบั น้ี


80

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ทั้งนี้ให้ใช้กับสถานศึกษาท่ีเปิดสอนระดับปฐมวัย ระดับการศึกษา
ขน้ั พ้ืนฐาน และระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ

ประกาศ ณ วันท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ธรี ะเกยี รติ เจริญเศรษฐศลิ ป์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

81

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
แนบท้ายประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ

ฉบบั ลงวนั ที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจ�ำนวน
๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รียน
๑.๑ ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รียน
๑.๒ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผ้เู รียน
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ ส�ำคัญ
แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดังน้ี
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรียน
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการ
คิดค�ำนวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปลย่ี น ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
๖) มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชพี

82

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

๑.๒ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผเู้ รียน
๑) การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมที่ดตี ามทส่ี ถานศึกษาก�ำหนด
๒) ความภูมิใจในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย
๓) การยอมรับทจ่ี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑ มีเป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษาก�ำหนดชัดเจน
๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา และทุกกลุม่ เปา้ หมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้
อย่างมีคุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
และการจัดการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำ� คัญ
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ

นำ� ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตได้
๓.๒ ใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรทู้ ี่เอื้อตอ่ การเรียนรู้
๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผล

มาพฒั นาผู้เรียน
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ

ปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้

83

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย
แนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั
ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน และระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐานศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ

ฉบับลงวนั ท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๑ มจี �ำนวน ๓ มาตรฐาน
ได้แก่
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ การจัดการประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส�ำคัญแต่ละมาตรฐาน
มรี ายละเอียดดงั นี้
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพเดก็
๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแล

ความปลอดภัยของตนเองได้
๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง

อารมณไ์ ด้
๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดี

ของสงั คม
๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน

และแสวงหาความร้ไู ด้
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑ มีหลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บริบท

ของทอ้ งถ่นิ
๒.๒ จัดครูให้เพยี งพอกบั ชัน้ เรียน
๒.๓ สง่ เสริมให้ครูมคี วามเชี่ยวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์

84

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และ
เพยี งพอ

๒.๕ ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพ่ือ
สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์

๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกีย่ วข้องทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วม
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำ� คญั
๓.๑ จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล

เตม็ ศักยภาพ
๓.๒ สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏบิ ตั ิอยา่ งมี

ความสขุ
๓.๓ จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะ

สมกับวัย
๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและน�ำผลการประเมิน

พัฒนาการเด็กไปปรับปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาการเดก็

85

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ
แนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน และระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานศูนย์การศกึ ษาพิเศษ

ฉบับลงวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจำ� นวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลการพฒั นาผู้เรยี น
๑.๒ คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ของผูเ้ รียน
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำ� คญั
แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอียดดงั น้ี
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผ้เู รยี น
๑.๑ ผลการพัฒนาผเู้ รียน
๑) มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ท่ีแสดงออกถึง
ความรู้ ความสามารถ ทักษะตามที่ระบุไว้ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการให้บริการช่วยเหลือ
เฉพาะครอบครัว
๒) มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อหรือการส่งต่อ
เข้าสู่การศึกษาในระดับที่สูงข้ึน หรือการอาชีพหรือ
การด�ำเนนิ ชีวิตในสังคมได้ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล
๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผเู้ รยี น
๑) มคี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามทีส่ ถานศกึ ษาก�ำหนด
๒) มีความภมู ิใจในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย ตามศักยภาพของ
ผเู้ รยี นแตล่ ะบุคคล

86

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.๑ มีเปา้ หมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกิจท่ีสถานศกึ ษาก�ำหนดชัดเจน
๒.๒ มีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม

หลกั สตู รสถานศึกษาและทุกกลมุ่ เปา้ หมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ

เรียนรูอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ

และการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นส�ำคญั
๓.๑ การจัดเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ

น�ำไปประยุกตใ์ นชีวติ ได้
๓.๒ ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูท้ ่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้
๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผลมา

พัฒนาผู้เรยี น
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ

ปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้



87

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
เรอ่ื ง แนวปฏบิ ตั ิการด�ำเนนิ งานประกนั คุณภาพการศึกษา

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ.๒๕๖๑
โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ลงวนั ท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ไดก้ ำ� หนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกนั
คุณภาพการศึกษาอันส่งผลให้การด�ำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา
ท้ังหนว่ ยงานต้นสงั กัดหรอื หน่วยงานก�ำกับดูแล และหน่วยงานภายนอกทีส่ ะทอ้ น
สภาพการด�ำเนินงานที่แท้จริงและเกิดประสิทธิภาพ และก�ำหนดแนวทางในการ
ขับเคล่ือนการประกันคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับหลักการประคุณภาพ
การศึกษา และมีกลไกปฏิบัติที่เอื้อต่อการด�ำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
แตล่ ะระดับให้เกดิ ประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้จัดท�ำแนวปฏิบัติการ
ดำ� เนนิ งานการประกนั คุณภาพการศกึ ษาขนึ้ เพื่อให้หนว่ ยงานต้นสงั กัด ส�ำนักงาน
บริหารการศึกษาพิเศษ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาท้ังประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการด�ำเนินการเพื่อการพัฒนาส่งเสริม ก�ำกับ
ดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี

88

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ระดบั สถานศึกษา
ใหส้ ถานศกึ ษาระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐานดำ� เนนิ การดงั ตอ่ ไปนี ้
๑. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา เพ่ือให้เกิดการพัฒนา และเพื่อเป็นกลไกในการควบคุม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเช่ือม่ัน
ให้กับสังคม ชมุ ชน และผมู้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง
๒. จัดใหม้ ีระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ดังนี้
๒.๑ ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและหรือระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ท่ีกระทรวงประกาศใช้ และให้สถานศึกษาก�ำหนดเป้าหมายความส�ำเร็จ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท ท้ังนี้ สามารถเพ่ิมเติมมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา นอกเหนือจากท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้
โดยให้สถานศึกษาและผู้เกยี่ วขอ้ ง ดำ� เนนิ การและรบั ผิดชอบร่วมกนั
๒.๒ จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีสอดคล้อง
กับสภาพปัญหาและความต้องการจ�ำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
โดยสะทอ้ นคุณภาพความส�ำเร็จอย่างชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
๒.๓ ดำ� เนินการตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
๒.๔ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยกำ� หนดผู้รับผดิ ชอบ และวธิ ีการที่เหมาะสม
๒.๕ ติดตามผลการด�ำเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษา และน�ำผลการติดตามไปใช้ประโยชน์ในการ
ปรบั ปรุงพัฒนา
๒.๖ จัดทำ� รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report
: SAR) ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา น�ำเสนอรายงานผลการประเมนิ
ตนเองตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานใหค้ วามเห็นชอบ และจัดส่งรายงาน
ดังกลา่ วต่อสำ� นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาเปน็ ประจำ� ทกุ ปี

89

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผล
การประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตามคำ� แนะนำ� ของ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนา
อยา่ งต่อเนอ่ื ง
๓. สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอกของ
สถานศึกษา เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อเสนอแนะของ
ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (สมศ.) และหนว่ ยงาน
ต้นสังกัดหรอื หนว่ ยงานทก่ี ำ� กับดแู ล เพ่อื นำ� ไปสู่การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐาน
ของสถานศึกษา
ระดบั สำ� นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา/ส�ำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ในฐานะ
หน่วยงานต้นสังกดั หรอื หนว่ ยงานท่ีกำ� กบั ดูแล ดำ� เนนิ การดงั ต่อไปนี้
๑. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ตลอดจนให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะน�ำสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบ
ประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาแต่ละแห่งอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
๒. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR) พร้อมกับประเด็นต่างๆ ที่ต้องการให้มี
การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบซ่ึงรวบรวมได้จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
หรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งน้ัน และจัดส่งไปยังส�ำนักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลและ
แนวทางในการประเมินคณุ ภาพภายนอก

90

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

๓. ตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งาน ปรบั ปรุง และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อการน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๔. ให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (สมศ.) ในการประเมนิ คุณภาพภายนอก
๕. อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์ และ
ให้ขอ้ มูลเพ่มิ เติมในกระบวนการประเมินคณุ ภาพภายนอก
ระดับสำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
๑. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือ ต่อส�ำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษา เพอ่ื การพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา
๒. ศึกษา วเิ คราะห์ สรุปผลรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self-Assessment Report : SAR) และรวบรวมประเด็นที่ต้องการให้มี
การประเมินผลและติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องหรือ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษา ไปยังส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
๓. ติดตามผลการด�ำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๔. ประสานความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการจัดบุคคลร่วมเป็นผู้ประเมินคุณภาพภายนอก
กบั ส�ำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (สมศ.)


91

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา


Click to View FlipBook Version