The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรการเรียนรู้ด้วยตนเอง ของกระทรวงสาธารณสุข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2020-06-24 22:07:29

หลักสูตรการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย

หลักสูตรการเรียนรู้ด้วยตนเอง ของกระทรวงสาธารณสุข

ห ลั ก สู ต ร ก า ร เ รี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เ อ ง
ด้ า น ก า ร พั ฒ น า เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย แ ล ะ
ก า ร ป้ อ ง กั น ค ว บ คุ ม โ ร ค เ พ่ื อ ป้ อ ง กั น
การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19

คานา

เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด -19
(Coronavirus Disease 2019 (COVID -19) มีการระบาดในวงกว้าง องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประกาศ
ให้โรคโควิด-19 เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of
International Concern) โดยแนะนาให้ทุกประเทศเร่งรัดการเฝ้าระวังและป้องกันความเส่ียงจากโรคโควิด - 19
สาหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีโอกาสขยายวงกว้างขึ้นเรื่อย ๆ
โดยเฉพาะอย่างย่งิ แนวโน้มท่ีจะเกิดการแพร่ระบาดในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ดังน้ัน การสร้างความตระหนัก
รูเ้ ทา่ ทนั และเตรยี มความพรอ้ มในการรบั มือกบั การระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจาเป็นอย่าง
ย่ิงเพื่อลดความเสย่ี งและป้องกันไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพเด็กปฐมวัย ครู/ผู้ดูแลเด็ก และบุคลากรในสถาน
พฒั นาเด็กปฐมวัย อนั เปน็ ทรพั ยากรทส่ี าคัญในการขับเคลือ่ นและพฒั นาประเทศในอนาคต

“หลักสูตรการเรียนรู้ด้วยตนเองด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัยและการป้องกันควบคุมโรค เพื่อป้องกัน
การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เป็นหลักสูตรที่จัดทาขึ้นตาม คาส่ังศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด - 19) ท่ี ๕/๒๕๖๓ เร่อื ง แนวปฏิบัติตามขอ้ กาหนดออกตามความใน
มาตรา ๙ แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับท่ี ๔) เพื่อเตรียม
ความพร้อมของบุคลากรในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ที่เน้นความสอดคล้องกับบริบทของสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย และเอื้ออานวยให้เกิดการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้เด็กปฐมวัย ครู/ผู้ดูแลเด็ก
และบุคลากรในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยสามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย โดยมีสาระสาคัญประกอบด้วย
องค์ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับโรคโควิด-19 แนวทางปฏิบัติสาหรับบุคลากรในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่
ผู้บริหาร เจ้าของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ครู/ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง ผู้สัมผัสอาหาร และ
ผู้ปฏิบัติงานทาความสะอาด การจัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมบริเวณต่าง ๆ ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 และส่ือความรอบรดู้ ้านสุขภาพ

คณะผู้จัดทา มุ่งหวังให้ “หลักสูตรฯ” ฉบับนี้ เป็น “เครื่องมือ” สาหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและ
ผู้เกี่ยวข้องสามารถนาไปใช้ตามบริบทและสถานการณ์ของแต่และแห่งภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่าย
ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ไป

คณะผู้จดั ทา
มถิ ุนายน 2563
คานยิ าม
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั หมายความว่า ศูนย์เดก็ เล็ก ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก ศูนย์บรกิ ารชว่ ยเหลือ ระยะแรกเริ่ม
ของเด็กพิการหรือเดก็ ซ่ึงมคี วามตอ้ งการพเิ ศษ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และสถานสงเคราะห์ ตามกฎหมายว่า
ดว้ ยการคมุ้ ครองเด็ก ซง่ึ มีเด็กปฐมวัยอยู่ในความคุ้มครองดูแล หรอื สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ท่ีเรียกช่อื อย่างอ่นื
รวมทงั้ โรงเรยี น ศูนยก์ ารเรียน หนว่ ยงานการศึกษา หรอื หน่วยงานอืน่ ของรัฐหรอื เอกชน และสถาบนั ศาสนาที่
มีวัตถุประสงค์ในการจดั การศึกษาใหแ้ ก่เด็กปฐมวัย
ทม่ี า: พระราชบญั ญตั ิ การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ.2562

1

การลงทะเบยี นเรยี นดว้ ยตนเองและประเมนิ หลกั สตู ร

2

สารบญั หนา้
1
เรื่อง 2
1.คานา 3
2.การลงทะเบียนเรยี นดว้ ยตนเองและประเมนิ หลกั สตู ร 4
3. สารบัญ 5
4. โครงสรา้ งหลกั สตู รฯ 9
5. โมดลู ท่ี 1 ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั เช้อื ไวรสั โควิด -19 15
5. โมดูลท่ี 2 Bubble Model
6. โมดลู ที่ 3 คาแนะนาป้องกันตนเองและการปฏบิ ตั ดิ ้านสุขอนามยั เมื่อเปิดดาเนินการใน 16
18
สถานการณ์ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรน่า 2019 20
3.1 คาแนะนาสาหรับผบู้ ริหารสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั 21
3.2 คาแนะนาสาหรบั คร/ู ผ้ดู ูแลเดก็ 22
3.3 คาแนะนาสาหรับผปู้ กครองในการดูแลบุตรหลาน 22
22
7. โมดูลที่ 4 กจิ วตั รประจาวันในการดูแล พฒั นา และจดั การเรยี นรูข้ องเด็กปฐมวัย 25
4.1 การเตรยี มตวั ของผู้ปกครอง 26
4.2 การคัดกรองบุคคลของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 28
4.3 การคัดกรองเด็กและผปู้ กครอง และการส่งเด็กกลับบา้ น 28
4.4 การเปล่ยี นเสอ้ื ผา้ 28
4.5 การจดั กจิ กรรมดูแล พัฒนา และส่งเสริมการเรยี นรู้แก่เดก็ 29
4.6 การรับประทานอาหาร 32
4.7 การนอนกลางวนั
4.8 การใชห้ ้องนา้ และแปรงฟัน
4.9 การฆ่าเชอื้ และดแู ลความสะอาด

8. บรรณานุกรม

3

โครงสร้างหลกั สตู รการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองดา้ นการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และการปอ้ งกนั ควบคมุ โรค

เพอ่ื ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19

สาหรบั ครูผดู้ แู ลเดก็ ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

โมดลู เนอ้ื หา เวลาทใ่ี ช้
(นาที)
1 ความร้ทู วั่ ไปเก่ยี วกบั เช้อื ไวรสั โควิด -19
2 Bubble Model 15
3 คาแนะนาป้องกันตนเองและการปฏิบตั ิด้านสุขอนามยั เม่ือเปดิ
15
ดาเนนิ การ ในสถานการณร์ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019 30

3.1 สาหรบั ผู้บริหารสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั (10)
3.2 สาหรับครู/ผดู้ ูแลเด็ก (10)
3.3 สาหรบั ผ้ปู กครองในการดูแลบุตรหลาน (10)
4 กิจวตั รประจาวันในการดูแล พัฒนา และจดั การเรียนรขู้ องเดก็ ปฐมวัย 180
4.1 การเตรียมตวั ของผ้ปู กครอง (15)
4.2 การคัดกรองบุคคลของสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั (15)
4.3 การคดั กรองเด็กและผู้ปกครอง และการส่งเด็กกลบั บ้าน (30)
4.4 การเปล่ยี นเสื้อผา้ (15)
4.5 การจัดกิจกรรมดแู ล พัฒนา และสง่ เสรมิ การเรยี นรู้แก่เด็ก (30)
4.6 การรับประทานอาหาร (15)
4.7 การนอนกลางวนั (15)
4.8 การใช้ห้องนา้ และแปรงฟัน (15)
4.9 การฆา่ เชอ้ื และดูแลความสะอาด (30)
240
รวม

4

โมดลู ที่ 1 ความรทู้ ่ัวไปเกยี่ วกบั เชอ้ื ไวรสั โควดิ -19

(ระยะเวลาท่ีใช้ 15 นาที)
วตั ถปุ ระสงค์ : ผเู้ รียนมคี วามรเู้ รอ่ื ง

1. ครผู ดู้ ูแลเด็กมคี วามรูเ้ กย่ี วกับการติดเช้ือและการเกิดโรคไวรัสโควดิ -19
2. ครูผ้ดู ูแลเด็กเข้าใจสถานการณก์ ารตดิ เชอ้ื ไวรัสโควดิ -19 ในเดก็ ปฐมวัย
3. ครผู ดู้ แู ลเด็กตระหนกั ถงึ ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากโรคไวรศั โควดิ – 19
4. ครผู ู้ดูแลเด็กเขา้ ใจมาตรการการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และสามารถ

ส่อื สารกบั ทีมสหวิชาชีพเม่ือเกิดการระบาดได้

เนอ้ื หา (หัวขอ้ )
1. ความรทู้ ั่วไปเก่ยี วกบั การเกดิ โรคไวรัสโควดิ -19
2. เส้นทางที่เชอ้ื ไวรสั โควิด-19 เขา้ สู่ร่างกาย
3. ผลกระทบที่เกดิ ข้ึนจาก โรคโควดิ – 19
4. สถานการณก์ ารติดเชอื้ ไวรัสโควิด-19 ในเดก็ ปฐมวยั
5. มาตรการการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19
6. นิยามศัพท์ที่ใชก้ รณีเกดิ การระบาดในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

สื่อทใ่ี ช้
1. เอกสารหลกั สตู รฯ
2. สอ่ื วดี ีทัศน์
3. องคค์ วามร้ใู นอินเตอรเ์ นต็

5

โมดลู ที่ 1 ความรทู้ ่วั ไปเกยี่ วกับเชอื้ ไวรสั โควดิ -19

1.ความรู้ทว่ั ไป
โรคโควดิ -19 คือ โรคท่มี ีสาเหตุจากเช้อื ไวรสั โคโรนาสายพันธใุ์ หม่ ซึง่ พบครง้ั แรกในเมืองอฮู่ ั่น

ประเทศจนี ที่มชี ่อื วา่ โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โควิด -19 (COVID-19) ความหมาย “CO” มาจากคา
วา่ Corona, “VI” มาจาก Virus, และ “D” มาจาก Disease โดยกอ่ นหนา้ น้เี รยี กโรคดังกล่าววา่ “โรคไวรสั
โคโรนาสายพนั ธใ์ หม่ 2019” หรือ “2019-n Co V” ตอ่ มาองค์การอนามัยโลก ประกาศชอ่ื เป็นทางการสาหรบั
ใชเ้ รยี กโรคทางเดินหายใจทเี่ กิดจากไวรสั โคโรนาสายพนั ธ์ใหม่วา่ “โควิดไนนท์ นี ” (Covid-19) เมื่อ 1
กุมภาพนั ธ์ 2563 โรคโควิด -19 จัดอยูใ่ นตระกูลของเชื้อไวรสั โคโรนาซ่ึงประกอบดว้ ยเช้ือไวรสั โคโรนาหลาย
ชนิดที่กอ่ โรคในคนได้ต้งั แตโ่ รควัดธรรมดา เช่น Coronavirus OC43 HKU1 และ 229E เป็นชนดิ กอ่ โรคหวดั
(Common Clod) แตอ่ าจกอ่ โรคทางเดินหายใจสว่ นล่างรนุ แรงได้ในกลุ่มผปู้ ่วยเดก็ เล็กหรอื ผู้สูงอายุ สว่ นไวรสั
Coronavirus NL 63 เป็นเชอ้ื ที่ก่อโรคหลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis) ในเด็ก จนถึงไวรัสท่ีสามารถก่อ
โรคทางเดินหายใจรนุ แรง เช่น เชือ้ ไวรสั โคโรนาที่กอ่ โรคทางเดินหายใจตะวนั ออกกลาง (Middle East
Respiratory Syndrome : MERS-CoV) หรือ เช้ือไวรสั โคโรนาท่ีกอ่ ให้เกดิ โรคทางเดินหายใจเฉยี บพลนั รุนแรง
(Severe Acute Respiratory Syndrome : SARS)
ผูท้ ่ีตดิ เชอ้ื ไวรัส โควิด-19 ประมาณร้อยละ 80 ไม่มีอาการและแสดงอาการใดๆ สาหรับผู้ท่ีติดเช้อื จะแสดง
อาการเริ่มแรก คือ มีไข้ ปวดเมือ่ ย ครัน่ เน้ือตวั ไอแห้งๆ บางครัง้ มเี สมหะถ้าอาการรนุ แรงจะมีไขส้ ูงขน้ึ การ
หายใจจะมีอาการเหนื่อยหอบ หรอื หายใจลาบากเน่ืองจากปอดอักเสบ

ผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ จาก โรคโควดิ – 19
ผลกระทบต่อสขุ ภาพ ปญั หาจากปัญหาจากการตดิ เชื้อ Covid -19 นี ทาให้เกดิ ผู้ปว่ ยจานวนมาก

ขอ้ มูลล่าสดุ จากองคก์ รอนามัยโลก ณ วันที่ 14 มิถุนายน 2563 พบวา่ มผี ปู้ ว่ ยท้ังสน้ิ ประมาณ 7,872,619 คน
และจานวนผู้เสียชวี ติ 432,4758 คน ส่วนในประเทศไทยพบวา่ มผี ู้ติดเช้ือท้ังสน้ิ ประมาณ 3,134 คนและ
จานวนผูเ้ สียชวี ติ 58 คนผลกระทบต่อเศรษฐกิจ เนอื่ งจากการแพร่กระจายสามารถผ่านจากคนส่คู นมีการตดิ
เชอ้ื เกดิ ขนึ้ ในระยะเวลาทรี่ วดเรว็ มากทาใหห้ ลายประเทศต้องมีมาตรการเขม้ ข้น การกักตวั ผู้ท่ตี ดิ เช้อื ไวรสั หรือ
สงสัยว่าอาจมีโอกาสติดเช้อื เป็นระยะเวลา 14 วัน การห้ามเดนิ ทางออกจากพน้ื ที่ การปิดสถานทีท่ ีม่ ีคนจานวน
มากมาร่วมกิจกรรม เชน่ สวนสาธารณะ ห้างสรรพสิน รา้ นคา้ รา้ นอาหาร บรษิ ัท ห้างร้าน และพ่อค้าแม่ค้า
จานวนมากไม่สามารถดาเนนิ ธรุ กจิ ได้ส่งผลกระทบวงกวา้ งตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศน้ันๆ และต่อเศรษฐกิจโลก
ผลกระทบต่อสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย การสัง่ ปดิ สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยปฐมวยั ทาใหผ้ ปู้ กครองไม่มที ่ี
ปลอดภัยสาหรบั การฝากเลีย้ งลูกและไม่สามารถหวังพง่ึ ปูย่ ่า ตายายได้ เพราะครอบครวั คนไทยกลายเป็น
ครอบครัวเด่ียว แยกกนั อยู่มานานแล้ว และอยูก่ นั คนละจังหวัดผู้ปกครองจงึ ต้องนาลูกไปทางานดว้ ย ทาใหเ้ ด็ก
ตอ้ งสัมผัสสง่ิ แวดล้อมทไี่ มป่ ลอดภัย ท้งั จากการเดนิ ทางและในท่ีทางานของพอ่ แมท่ าให้เส่ียงติดเชอ้ื มากขึ้น

6

และทาให้ผู้ปกครองบางครอบครัวต้องลาออกจากงานมาเล้ียงลกู ทาให้ขาดรายได้และทาให้เกิดความเครยี ด
สะสมมากขนึ้ ในครอบครัว

2.เสน้ ทางทเ่ี ชอื้ ไวรสั โควดิ -19 เขา้ สรู่ า่ งกาย

ขณะน้ีองค์กรอนามยั โลก (WHO) และศนู ย์ควบคุมโรคแห่งสหรฐั อเมรกิ า (CDC) ยนื ยนั การไดร้ ับเชือ้
ดงั กลา่ วเขา้ ส่รู ่างกายนน้ั มี 2 เสน้ ทาง คอื

1.เสน้ ทางการสัมผสั โดยตรง (Direct Transmission)
2.เสน้ ทางการสมั ผสั โดยอ้อม (Indirect Transmission)
การหายใจไวรสั ในอากาศท่ีเป็นละอองเสมหะฝอย (Droplet) ของผตู้ ิดเช้ือ (Direct Droplet
Transmission)เขา้ สรู่ า่ งกาย เสน้ ทางน้เี กดิ ข้ึนจากการท่ีตวั เราไปอยู่ใกล้ชดิ (ในระยะน้อยกวา่ 2 เมตร) กับ
ผู้ป่วยหรือผูท้ ม่ี ีเชอ้ื โควิด-19 เมือ่ คนเหล่านี้ ไอ จาก กจ็ ะมฝี อยละออง ประมาณ 3,000 หยดตอ่ การไอหรอื จาม
1 ครัง้ ทาใหเ้ ราทอี่ ยใู่ กล้ ไดร้ ับฝอยละอองเขา้ ส่รู ่างกายทางจมกู เป็นการสัมผสั หรอื ได้รับโดยตรง นอกจากนี้
ฝอยละอองดังกลา่ ว ก็อาจติดกและเกาะอยตู่ ามวัสดทุ ี่เปน็ จุดสมั ผัสบอ่ ย ๆ โดยเฉพาะสถานทสี่ าธารณะ รถ
โดยสารสาธารณะ เชน่ ประตู ลูกบิด โต๊ะ เกา้ อ้ี ราวบนั ได ลฟิ ท์ พนื้ เสื้อผ้า ฯลฯและรา่ งกาย เช่น มือ ผวิ หนา้
แขน ผม ฯลฯ ดังน้นั การสัมผัสมือ หยอกล้อ สัมผัสตัวซึ่งกันและกัน ก็จะมีโอกาสทรี่ ่างกายจะได้รบั เชอ้ื นีเ้ ข้าสู่
รา่ งกายได้ เรียกการไดร้ บั เช้ือแบบนวี้ า่ ไดร้ ับโดยอ้อม (ยงั ไมม่ ีการยนื ยนั ว่ามกี ารติดเชื้อในเสน้ ทางทเ่ี ป็น
Airborne (ไวรสั แพร่กระจายมาทางอากาศ) แม้วา่ จะมีรายงานข่าวจากบางหนว่ ยงานของต่างประเทศว่าการ
ติดเชอ้ื COVID-19 น้ี วา่ อาจตดิ ตอ่ ไดใ้ นลักษณะ Airborne
3.สถานการณ์การตดิ เชอ้ื โควดิ -19 ในเดก็ ปฐมวยั
มีรายงานผู้ป่วยโรคโควิด-19 ในประเทศที่มีการระบาดทั้งประเทศจีน ประเทศในทวีปยุโรป ประเทศ
สหรัฐอเมริกา และประเทศไทย แสดงให้เห็นว่า เด็กติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ทุกอายุ แต่อุบัติการณ์น้อยกว่า
ผ้ใู หญ่มาก เด็กมักมปี ระวัตสิ มั ผสั ใกลช้ ดิ กับผทู้ ต่ี ิดเชอื้ ในครอบครวั เดก็ ทปี่ ่วยเปน็ โรคไวรัสโควิด-19 จะมีเชื้อใน
ระบบทางเดินหายใจ บทบาทของเดก็ ในการเป็นผู้แพร่เชื้อยังไม่ชัดเจน แต่การพบเช้ือโคโรนาไวรัส ในทางเดิน
หายใจของผู้ป่วยเด็ก และยังสามารถพบเชื้อในอุจจาระได้ ทาให้เด็กมีโอกาสเป็นผู้แพร่เช้ือสู่ผู้อ่ืนได้ แม้
รายงานส่วนใหญ่เด็กมักเป็นผู้รับเช้ือไวรัสโควิด-19 จากผู้อ่ืน มีรายงานว่าผู้ป่วยโควิด-19 เป็นเด็กมักมีอาการ
ไมร่ ุนแรง แตอ่ าจมอี าการรุนแรงถึงแก่ชีวิต ในกรณีที่มีโรคอ่ืนอยู่ก่อน หรือเป็นผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องในระยะ
หลังมีรายงานผู้ป่วยท่ีมีอาการคล้ายโรคคาวาซากิ (Kawasaki like Disease) บางรายมีอาการ shock และ
เสียชีวติ เกิดขนึ้ ในเด็กที่มีสุขภาพดีมาก่อน เป็นกลุ่มอาการ Hyperinflammatory syndrome ท่ีเกี่ยวข้องกับ
การติดเชอ้ื โควดิ -19 รายงานจากอังกฤษ สหรัฐอเมริกา อิตาลี จะเป็นได้ว่า โรคโควิด-19 เป็นโรคที่อุบัติขึ้นมา

7

ใหม่ ไม่เป็นท่ีรู้จักมาก่อน ความรู้ในด้านอาการ อาการแสดง ความรุนแรงของโรค ยังไม่เป็นที่รู้กัน ยังคงต้อง
ศกึ ษา และมีการเปลีย่ นแปลงข้อมลู ตลอดเวลา

ทีม่ า r5Cr O nI.26. N I ,15 (19-VOChC(R ARRVAN Ro h.soooh. DIeInrVOer (D0 – 19-DIVOC :
0r0 2020

สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยเป็นสถานที่ท่ีมีเด็กปฐมวัยอยู่รวมกันจานวนมาก มักจะมีความเส่ียงสูง หากมี
ระบบการจัดการที่ไม่ดี อาจจะมีการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ในกลุ่มเด็กปฐมวัยเนื่องจากพบว่าการ
ติดเช้ือไวรัสโควิด-19 ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมีอาการ หรือมีอาการแสดงค่อนข้างน้อยความรุนแรงจะน้อยมาก (มี
รายงานในบางประเทศว่าอาจมีสัมพันธ์กับการเกิด Kawasaki Like Disease แต่ในประเทศไทยยังไม่มี
รายงาน) แตเ่ ด็กปฐมวัยจะเอาเช้ือกลับบ้าน อาจทาให้การแพร่ระบาดเกิดข้ึนได้รวดเร็ว (Supper Spread) ไป
ยังบุคคลในบ้าน หากมีการระบาดในกลุ่มเด็กปฐมวัยขึ้น จะมีผลกระทบในสังคมหรือผู้ใกล้ชิด เช่น ครู/ผู้ดูแล
เด็ก พ่อแม่ ผู้สูงอายุ ท่ีติดเชื้อจากเด็ก จากรายงานสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโควิด-19 ประเทศไทย พบว่า
ผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อสะสม จานวน 3,017 ราย เด็กอายุ 0 – 9 ปี เป็นผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อสะสม จานวน 60
ราย คิดเป็นร้อยละ 1.9 เป็นเด็กอายุ 10 – 19 ปี เป็นผู้ป่วยยืนยันติดเช้ือสะสม จานวน 115 ราย คิดเป็น
รอ้ ยละ 3.8 นอ้ ยกว่ากลมุ่ ผ้ใู หญ่ (ข้อมลู ณ 12 พฤษภาคม 2563) ไม่มีรายงานผปู้ ว่ ยเด็กที่เสียชีวิตในประเทศ
ไทย อย่างไรก็ตาม หากมีการเปิดสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มีโอกาสสูงที่จะเกิดการติดเช้ือในกลุ่มเด็กเพ่ิมมาก
ข้ึน ซ่ึงเด็กปฐมวัยเป็นกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลและระมัดระวังในการกระจายเช้ือเป็นอย่างมาก มาตรการใน
การเปิดสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจึงมีความสาคัญมาก ในการควบคุมการระบาด การวางแผนเปิดสถานพัฒนา
เดก็ ปฐมวยั จงึ ตอ้ งมัน่ ในวา่ จะควบคุมไม่ใหเ้ กดิ การระบาดของโรคในเดก็ ปฐมวัยได้

8

โมดลู ที่ 2 Bubble Model

(ระยะเวลาท่ใี ช้ 15 นาท)ี
วตั ถปุ ระสงค์ : ผเู้ รยี นมคี วามรเู้ รอ่ื ง

1. ครูผดู้ ูแลเด็กมคี วามเขา้ ใจในหลกั การและแนวคดิ การจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตาม
แนวทาง Bubble Model

2. ครผู ูด้ แู ลเด็กมีแนวทางในการจดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามแนวทาง Bubble
Model

เนอ้ื หา (หัวขอ้ )
1. ความรพู้ ื้นฐานเก่ยี วกบั แนวคดิ การสร้าง Bubble ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
2. คาแนะนาในการสร้าง Bubble ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั

ส่อื ทีใ่ ช้
1. เอกสารบทเรียน
2. ส่อื วีดีทัศน์
3. องคค์ วามรู้ในอนิ เตอรเ์ น็ต

9

โมดลู ท่ี 2 Bubble Model

สาหรับในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) หน่วยงาน 4
กระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รวมถึงภาคีเครือข่าย มูลนิธิภาคเอกชนที่เก่ียวข้อง ร่วมกันจัดทามาตรการ
กลาง “คู่มือการปฏิบัติสาหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
(COVID-19))” ภายใต้แนวคิด Bubble ซึ่งเป็นการดูแลตัวเองช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19
จากประเทศนวิ ซแี ลนด์ เป็นการสร้างเขตของแตล่ ะบคุ คลทต่ี อ้ งพยายามรกั ษาให้เขตของตนเองปลอดเช้ือ และ
ปฏิบัติตามคาแนะนาเพื่อป้องกันเช้ือโรคอย่างเคร่งครัด และให้รักษาระยะห่างทางสังคม ไม่ให้มีปฏิสัมพันธ์
ใกล้ชดิ กัน ซง่ึ อาจทาใหเ้ ชือ้ โรคแพร่กระจายจาก Bubble หน่งึ ไปสู่ Bubble หนึง่ เช่น สมาชิกในครอบครัวที่
อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกันนับเป็นหน่ึง Bubble ผู้ที่อยู่ใน Bubble ทุกคนต้องปฏิบัติตามคาแนะนาเพ่ือป้องกัน
เช้ือโรคอย่างเคร่งครัดท้ังเวลาอยู่ในบ้าน และออกนอกบ้าน สาหรับผู้ท่ีไม่ได้อยู่ใน Bubble เดียวกัน ให้รักษา
ระยะห่างทางสงั คม ไม่ใหม้ ีปฏสิ ัมพนั ธ์ ใกล้ชิดกัน มิฉะนั้น Bubble จะแตกและอาจทาให้เช้ือโรคแพร่กระจาย
จาก Bubble หนง่ึ ไปสู่ Bubble หน่งึ ได้

สมาชิกใน Bubble ไม่จาเป็นต้องเป็นเครือญาติกันเท่านั้น Extended Bubble อาจเกิดข้ึนได้
เน่ืองจากจาเป็นต้องขยายให้ครอบคลุมไปถึงบุคคลอ่ืนท่ีจาเป็นต้องมีบทบาทในการดารงชีวิต เช่น ครู/ผู้ดูแล
เดก็ ผู้ดแู ลผสู้ งู อายุ ท่ีเข้ามาดูแลช่วยเหลือสมาชิกในบ้านยกตัวอย่าง ประเทศนิวซีแลนด์มีการจัดหาครู/ผู้ดูแล
เด็กให้สาหรับผู้ปกครองที่จาเป็นต้องทางานนอกบ้าน (Essential Workers) มาดูแลบุตรท่ีบ้าน
(home Based Care) ครู/ผู้ดูแลเด็กคนน้ันถือเป็นหนึ่งใน Bubble ของครอบครัวนั้น ทั้งน้ี Extended
Bubble ตอ้ งมีการปฏิบัติตัวอย่างเคร่งครัดหรือหากเด็กคนใดท่ีจาเป็นต้องย้าย เช่น เด็กท่ีพ่อและแม่แยกบ้าน
กันดูแล จะทาให้เกิด Shared Bubble ก็ต้องมีการจัดให้เด็กมีความปลอดภัยสูงสุด เช่น พยายามเดินทาง
ในระยะท่ไี ม่ไกลนัก เดนิ ทางดว้ ยรถสว่ นตัว

Thailand Early Childhood Developmental Bubble Model
(Thai-ECD Bubble Model)

คือ แนวคิด ทปี่ ระเทศไทยตอ้ งการทาเพื่อความปลอดภยั จากการติดเชื้อโควิด-19 สาหรับการดูแลเด็ก
ปฐมวัยในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในบริบทของประเทศไทย โดยการสร้าง Bubble ท่ีเปรียบเสมือนการสร้าง
ขอบเขตของแต่ละบุคคลท่ีต้องพยายามให้เขตของตนเองปลอดเช้ือ สมาชิกในกลุ่มย่อย (Bubble) (Small
Group) ประกอบด้วยครู/ผู้ดูแลเด็ก 1 คน ต่อเด็กไม่เกิน 5 คน อยู่รวมกันเพื่อทากิจกรรมด้วยกันตลอดท้ังวัน
โดยเน้นการเว้นระยะห่างจากกลุ่มย่อย (Bubble) อื่น 1-2 เมตร ตลอดเวลาในขณะที่อยู่ในสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั

คาแนะนาในการสรา้ ง Bubble มีดงั น้ี

1. กาหนดครูและเด็ก ในอัตราส่วน 1 : 5 (ควรเป็นสมาชิกเดิมทุกวัน) ท้ังครูและเด็กถือว่าเป็น
สมาชิกชั้นท่ี 1 และสมาชิกในครอบครัวของครูพ่ีเล้ียงและเด็กในกลุ่ม ถือว่าเป็นสมาชิก
ช้นั ที่ 2

2. ทาความสะอาดร่างกาย เช่น อาบน้า ล้างมือ ล้างเท้า และ เปล่ียนชุดทางาน ชุดเด็ก
หรือสวมเส้อื คลุมแขนยาวแบบเต็มตัว ตัวใหม่ ก่อนเข้ามาในสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ทกุ วนั

10

3. ทากิจกรรมทุกอยา่ งด้วยกนั ตลอดท้ังวัน โดยเนน้ การเว้นระยะห่างจากกลุ่มย่อย (Bubble) อื่น 1-
2 เมตร เช่น กิจกรรมการสร้างประสบการณ์ (การเรียนรู้) การรับประทานอาหาร
การทาความสะอาดรา่ งกาย การนอน เป็นต้น

4. ครอบครัวของสมาชิกในกลุ่ม ต้องปฏิบัติตนเพ่ือป้องกันเชื้อโรคอย่างเคร่งครัดตลอดเวลา โดยยึด
หลกั การเวน้ ระยะห่าง การสวมหน้ากาก การลา้ งมอื รกั ษาความสะอาด ปราศจากความแออดั

5. ส่ือสารแนวคิด Thailand ECD Bubble Model ให้สมาชิกช้ัน 1 และ 2 ทุกคนรับทราบ เข้าใจ
และรว่ มมือกันทาอย่างเคร่งครดั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั แก่ทกุ คน และกาหนดเคร่ืองมือสื่อสาร
เช่น โทรศพั ท์ LINE Facebook เปน็ ต้น เพือ่ สมาชิกไดต้ ดิ ต่อกันและสรา้ งปฏิสมั พันธท์ ่ีดีตอ่ กนั

6. หากในระยะแรกที่ยังไม่ไดป้ ฏบิ ตั ิการป้องกันโรคอยา่ งเคร่งครดั ของสมาชิกช้ันที่ 1 และ2 แนะนา
ใหเ้ วน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลของคร/ู ผูด้ ูแลเดก็ 1-2 เมตรไปก่อน

11

แนวทางการจดั กิจกรรมโดยยดึ หลกั Bubble Model สาหรบั สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั

การจดั กิจกรรมทุกประเภท เช่น การเคารพธงชาติ การรบั ประทานอาหาร การนอน การอาบน้า การล้าง
มือ การแปรงฟนั การเลน่ กจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นาการ เป็นต้น ยดึ หลัก เวน้ ระยะห่างอย่าน้อย 1 – 2 เมตร
ควรมพี ื้นท่ีอยา่ งน้อย 2 ตารางเมตรตอ่ เด็กปฐมวัย 1 คน จัดพื้นทีเ่ ฉพาะการเรยี นรู้กับเด็กเปน็ รายบคุ คลท่เี น้น
การเวน้ ระยะหา่ ง เช่น การเรียนบนเสือ่ การใช้เสน้ สญั ลกั ษณแ์ สดงขอบเขต ก้นั เขต เนน้ กจิ กรรมท่ีใหเ้ ดก็ ทา
บนพ้นื ทข่ี องตนเอง จดั พนื้ ทีเ่ ฉพาะการเรยี นรู้กับเดก็ เปน็ รายบคุ คลทเ่ี นน้ การเวน้ ระยะห่าง เช่น การเรียนบน
เส่ือ การใช้เสน้ สัญลักษณแ์ สดงขอบเขต กัน้ เขต จดั ตารางเวลาทม่ี กี ารสลบั เวลามาเรยี นท่ีลดจานวนเด็กใน
พ้ืนท่ีของสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยในแต่ละวนั และการจัดตารางเวลาในการใชพ้ ้นื ทท่ี ี่เหมาะสมกับจานวนเด็ก
สง่ เสริมให้มีการใชส้ ื่อการเรยี นรใู้ นระยะไกล เช่น Big Book การใชส้ ือ่ ขนาดใหญใ่ นการมองเห็นระยะไกล การ
ใชจ้ อขยายภาพ และมีการใช้สื่อรายบคุ คลกบั เดก็ แตล่ ะคนแต่ละวันโดยมีการทาความสะอาดทุกวนั ใช้วิธีการ
จัดกิจกรรม เพลง เกม นิทาน ส่ือ ทีเ่ น้นการเวน้ ระยะหา่ ง เกมการเลน่ ในระยะหา่ ง เชน่ การโยนห่วง การเลน่
ส่องกระจก การส่ือสารระยะไกลโดยใชแ้ กว้ โทรศพั ท์กระดาษ ดแู ลให้เด็กรบั ประทานอาหารตามหลัก
โภชนาการท่ีปรุงสกุ ใหมแ่ ละสะอาด ขณรับประทานอาหาร ให้เวน้ ระยะหา่ งอย่างน้อย 1-2 เมตร หรอื มีฉาก
กนั้ ระหวา่ งบคุ คลอุปกรณ์ของใชร้ ายบคุ คลทกุ ประเภท เชน่ การรับประทานอาหารรายบุคคล แปรงและยาสี
ฟัน แก้วน้า เปน็ ตน้
(หมายเหตุ ท้ังน้ี ยาสฟี ันควรแยกเป็นของใช้สว่ นบุคคล ในกรณที ่ใี ชเ้ ป็นของส่วนรวม ให้ครู/ผดู้ แู ลเด็กบบี ยาสี
ฟันป้ายท่ปี ากแกว้ ท่ลี า้ งสะอาด หรือ แก้วกระดาษ แลว้ ให้เด็กใชแ้ ปรงสฟี นั ปาดไปใช้ หรอื บีบใส่ถาดเปน็ จดุ ๆ
ตามขนาด ตามปริมาณทกี่ าหนด เพอ่ื จะไมใ่ ห้แปรงสีฟันของเดก็ แต่ละคนสัมผัสปากหลอดยาสีฟนั )

การจัดกิจกรรมสาหรับเดก็ เป็นรายบุคคล หรอื กล่มุ ย่อย จานวนเดก็ 3-5 คน และให้มีการเว้นระยะ
ระหว่าง ให้ปรับใหเ้ ขา้ กับบริบทของสถานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยของแตล่ ะสังกัด โดยคานึงถงึ ความปลอดภัย
ของเด็กเปน็ หลกั
กจิ กรรมที่ควรงด

-การเข้าแถวต่อกันแบบประชดิ

-กจิ กรรมท่ีมีการรวมกล่มุ ทกุ ประเภท เช่น การแขง่ กีฬา กิจกรรมตามวันสาคญั (วนั เด็ก กีฬาสี ฯลฯ)
การทัศนศึกษานอกสถานที่ เป็นต้น

การจัดการเด็กใหแ้ บ่งกลุ่มย่อย

ขอ้ กาหนดตาม”มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ” ท่ีเกย่ี วข้อง
1) มาตรฐานด้านที่ 1 สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ตอ้ งมคี รู/ผู้ดแู ลเดก็ อย่างน้อย 1 คน เปน็ ผมู้ ีหน้าท่ี

ดูแลเดก็ ดังนี้
(1) เดก็ อายุไมเ่ กนิ 1 ปี อตั ราส่วนคร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ต่อเด็ก 1:3
(2) สาหรับเด็กอายุไมเ่ กิน 2 ปี อัตราส่วนคร/ู ผู้ดแู ลเด็กต่อเดก็ 1:5
(3) สาหรับเดก็ อายุไมเ่ กนิ 3 ปี อตั ราส่วนคร/ู ผูด้ แู ลเดก็ ต่อเดก็ 1:10
(4) เด็กอายุ 3 ปีขน้ึ ไป อตั ราส่วนคร/ู ผู้ดแู ลเด็กต่อเด็ก 1:15

12

แต่ในสถานการณก์ ารระบาดของโรคโควิด-19 จึงกาหนดว่า
(1) เด็กอายุไมเ่ กิน 1 ปี อตั ราส่วนครู/ผดู้ ูแลเด็กต่อเด็ก 1:3
(2) สาหรับเดก็ อายุ 1 ปขี น้ึ ไป อตั ราส่วนครู/ผ้ดู ูแลเด็กต่อเด็ก 1:5

การจดั กิจกรรมกล่มุ ย่อย ต้องเป็นกลุ่มเดียวกนั ตลอดวนั และทุกวัน โดยเดก็ จานวน 3-5 คน ต่อกลมุ่
2) พืน้ ท่ีใชส้ อยภายในอาคารต้องสะอาด และปลอดภัย มพี น้ื ท่ีสาหรบั จดั กจิ กรรม รับประทานอาหาร
นอน และทาความสะอาดรา่ งกาย แยกจากหอ้ งประกอบอาหารหอ้ งสว้ ม และที่พกั เด็กปว่ ย โดยเฉล่ยี 2 ตาราง
เมตรตอ่ เด็ก จานวน 1 คน เหมอื นเดิมตาม”มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ”

2.1 การจดั ห้องทากจิ กรรมย่อย ประจาวัน เชน่
กรณถี ้าห้องขนาด 24 ตารางเมตร (4x6 เมตร) แบง่ พ้นื ท่ีได้ 2 กลมุ่ โดยมจี านวนเดก็ แต่ละ
กลมุ่ ไม่เกิน 3-5 คน โดยมีขนาดพื้นท่ีกล่มุ ละ 12 ตารางเมตร
2.2 การจดั ห้องรบั ประทานอาหาร ต้องมมี าตรฐานการเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร
2.3 การจดั หอ้ งนอน ตอ้ งมมี าตรฐานการเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร
3.) กจิ กรรมท่ีควรจัดหรอื ไมค่ วรจดั ให้กับเดก็
- กลมุ่ ท่ี 1 สีเขียว เป็นกิจกรรมทคี่ วรจดั เปน็ กจิ กรรมท่เี ว้นระยะห่างได้ ไดแ้ ก่ กิจกรรมวงกลม
กิจกรรมเสรี เชน่ มมุ บลอ็ ก ร้อยเชือก มุมหนงั สอื มุมวทิ ยาศาสตร์ โดยเน้นเปน็ รายบุคคล กิจกรรมสรา้ งสรรค์
เชน่ กจิ กรรมงานประดษิ ฐท์ ีส่ ามารถแยกอปุ กรณ์เปน็ รายบุคคลกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ เชน่ กิจกรรมเล่น
นิทาน เกมการศึกษาภายในกลมุ่ เชน่ เกมจับคู่ เกมแยกประเภท เกมจดั หมวดหมู่ เกมต่อตามแบบ เกมต่อ
โดมิโน
กลุ่มที่ 2 สเี หลอื ง กจิ กรรมท่ีควรจดั แตต่ อ้ งมีอุปกรณ์สว่ นบุคคล เป็นกจิ กรรมทเ่ี วน้ ระยะหา่ งได้ ได้แก่
กิจกรรมสรา้ งสรรค์ เชน่ ปั้นดินน้ามัน/แปง้ โดว์ กิจกรรมศิลปะ วาดรปู ระบายสี ( แยกสี หรอื เครอ่ื งเขยี น
รายบคุ คล ) กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ เช่น กิจกรรมบทบาทสมมตุ ิ กจิ กรรมกลางแจ้ง กจิ กรรมท่สี ามารถเวน้
ระยะและควบคุมการใช้อุปกรณ์ เครอ่ื งเล่นสนาม ตอ่ กนั ระหว่างกลมุ่ ได้ ( มกี ารฆ่าเช้อื ก่อนกลมุ่ ใหม่เข้ามาทา
กิจกรรม
กลุม่ ที่ 3 สแี ดง กิจกรรมที่ไม่ควรจัด เป็นกจิ กรรมที่ไมส่ ามารถเวน้ ระยะห่างได้ ได้แก่ กจิ กรรม
เคล่อื นไหวและจังหวะแบบรวมหมู่ เชน่ กิจกรรมเต้นประกอบจังหวะ กิจกรรมดนตรี กจิ กรรมเสริม
ประสบการณ์ เชน่ กจิ กรรมทัศนศึกษานอกสถานท่ี
ตัวอยา่ งการวางผังและกาหนดสัญลักษณ์การนั่งของเด็กในการจัดกิจกรรมกล่มุ ย่อย
1. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์หรือกิจกรรมในวงกลม
- แยกที่นัง่ โดยทาเครื่องหมายขอบเขตใหเ้ ด็ก เชน่ ตดิ สัญลกั ษณ์ประจาตวั
- ใหเ้ ดนิ มาน่งั ทลี ะคนโดยเวน้ ระยะหา่ ง
- เคลือ่ นยา้ ยเดก็ ใหน้ อ้ ยท่สี ดุ
2. กิจกรรมกลางแจ้ง งดเลน่ เครือ่ งเลน่ สนามและการเลน่ รว่ มกันอ่นื ๆ เช่น ลูกบอลเลน่ นา้ เลน่
ทราย
- เปล่ียนเป็นการบริหารร่างกายแทน โดยให้อยใู่ นทีซ่ ง่ึ ครกู าหนด ขอบเขตไวเ้ ชน่ เส่ือโยคะ หรอื การ
ตดิ เทปบนพนื้ เพื่อกาหนดขอบเขต
3. กิจกรรมเสรี
- ไปหยิบของเลน่ จากชั้นได้ทีละคนคนละ 1 อย่าง/ชดุ
- กลับมานงั่ ในที่ที่ครกู าหนดขอบเขตให้น่ัง(เสือ่ /พรมเล็กๆ หรือตดิ เทปกาหนดขอบเขตที่พ้ืน)

13

- ทากจิ กรรมเสร็จ นาของเล่นไปไวบ้ นโตะ๊ ที่ครกู าหนดไว้สาหรบั ครทู าความสะอาด (ไม่นาไปเกบ็ ท่ี
เดิม) แลว้ จึงไปหยิบของเล่นใหม่ไมใ่ ห้เดก็ เลน่ ของเล่นต่อจากเพ่ือน

4. เกมการศึกษา
- จัดเกมให้เพียงพอต่อจานวนเดก็
- กาหนดขอบเขตของทีเ่ ลน่ ให้เวน้ ระยะห่างกนั
- ใหเ้ ล่นแบบตา่ งคนตา่ งเล่นไมน่ าเกมมาเล่นดว้ ยกัน
- เลน่ เสรจ็ แล้วนาเกมไปไว้บนโตะ๊ สาหรับให้ครทู าความสะอาด
5. กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ
- เน้นการเคลือ่ นไหวอยู่กับทีใ่ นเขตของตนเอง
- เม่อื ใช้เคร่ืองดนตรเี สรจ็ ใหค้ รนู าไปทาความสะอาดไมน่ ามาเลน่ ต่อกัน
6. กจิ กรรมสร้างสรรค์
- ทางานศิลปะในท่ขี องตนเอง ซ่ึงครูกาหนดไว้ใหเ้ วน้ ระยะห่าง
- ไม่ใชว้ ัสดุอุปกรณส์ ี ฯลฯ ร่วมกนั
- ใช้เสร็จแล้วครูนาไปไว้ทีโ่ ตะ๊ สาหรบั ทาความสะอาด

14

โมดลู ท่ี 3 คาแนะนาปอ้ งกนั ตนเองและการปฏบิ ตั ดิ า้ นสขุ อนามัยเมอื่ เปดิ ดาเนนิ การใน
สถานการณร์ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ 2019 (Covid – 19)

(ระยะเวลาทใี่ ช้ 30 นาที)
วตั ถปุ ระสงค์ : ผู้เรยี นมคี วามรเู้ รอื่ ง

1. ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีแนวทางในการเตรียมความพร้อมเพ่ือเปิดสถาน
พัฒนาเดก็ ปฐมวัยในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 (Covid – 19)

2. ครู/ผู้ดูแลเด็กและบุคลากรอ่ืนๆ เข้าใจแนวทางในการปฏิบัติตัวเม่ือต้องเปิดสถาน
พฒั นาเด็กปฐมวัย ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019 (Covid – 19)

3. ครู/ผู้ดูแลเด็กและบุคลากรอื่นๆ มีความรู้และแนวทางการส่ือสารให้ผู้ปกครองทราบ
วิธีการปฏิบัตติ นเม่ือนาบตุ รหลานเข้ารับบริการท่สี ถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

เนอ้ื หา (หวั ขอ้ )
1. คาแนะนาป้องกันตนเองและการปฏิบัติด้านสุขอนามัยเม่ือเปิดดาเนินการใน

สถานการณ์ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019 (Covid – 19)
- ผบู้ ริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
- ครู/ผู้ดูแลเดก็ และบคุ ลากรอ่นื ๆ
- ผปู้ กครองในการดูแลบุตรหลาน

สื่อท่ีใช้
1. เอกสารบทเรียน
2. สื่อวีดีทัศน์
3. องคค์ วามรูใ้ นอินเตอร์เน็ต

15

โมดลู ท่ี 3 คาแนะนาป้องกนั ตนเองและการปฏบิ ตั ดิ า้ นสขุ อนามยั

เมอ่ื เปดิ ดาเนนิ การในสถานการณร์ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019
(Covid – 19)

1. สาหรบั ผู้บรหิ ารสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

ท่ี ข้อกาหนดของมาตรการกลาง แนวทางปฏบิ ตั ใิ นสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

1. ช้ีแจง ทาความเข้าใจกับเจ้าหน้าท่ีและผู้ปกครอง 1.1 ประชุมสร้างความเข้าใจกับผู้ปกครอง

เร่ืองมาตรฐานการดาเนินงานการเมื่อเปิดสถาน ครู/ผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร (แบบกลุ่ม

พัฒนาเด็กปฐมวัย เช่น กรณีท่ีเจ้าหน้าที่ เด็ก หรือ ย่อย) หรอื ประชุมผ่านส่อื อิเล็กทรอนิกส์)

ผู้ปกครองมีอาการเจ็บป่วย มีไข้ ไอ จาม มีน้ามูก -โอกาสของการติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

ให้หยดุ เรียนทนั ที -การปฏิบัติตัวเพ่ือปอ้ งกันโรคในทสี่ าธารณะ

1.2 แจกเอกสาร คู่มือ แผ่นพับ คาแนะนาแก่

ผเู้ กย่ี วข้อง

1.3 ฉายวีดิทัศน์ แนะนาวิธีข้ันตอนการ

ปฏิบัติการป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา

2019 (COVID – 19 )

2. กรณีพบผู้สงสัยติดเช้ือโรคโควิด – 19 ให้ผู้บริหาร 2. 1 ป ระส าน งาน ทา งกา รแ พทย์ แล ะ

แ จ้ ง ห น่ ว ย ง า น ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ ใ น พ้ื น ที่ ทั น ที สาธ ารณสุขในพ้ืนท่ี เช่น ศูนย์บริการ

เพอื่ รบั ทราบคาแนะนาในการดาเนินการตอ่ ไป สาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

ตาบล เป็นต้น เพ่ือขอรับแนวทางปฏิบัติ

เมอื่ พบผ้สู งสัยติดเชอ้ื โรคโควดิ – 19

2.2 แจ้งหน่วยงานต้นสังกดั ทันที

2. 3 ท า ค ว า ม สะ อ า ดต า มท่ี ก ร ะท ร ว ง

สาธารณสขุ แนะนา

3. ควบคุม กากับ ดูแลครู เจ้าหน้าท่ี และผู้ปฏิบัติงาน 3.1 กากับ ตรวจสอบ การปฏิบัติสาหรับครู/

ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ปฏิบัติตามคาแนะนา ผดู้ ูแลเดก็ และบุคลากรทีเ่ กี่ยวข้องทุกคนตาม

ของกระทรวงสาธารณสุข เช่น การใส่หน้ากากผ้า คาแนะนาของกระทรวงสาธารณสุขอย่าง

ใส่ถุงมือ การล้างมืออย่างถูกวิธี หรือการอาบน้า เครง่ ครัด

เปน็ ตน้ 3.2 จัดหาเครอื่ งวัดอณุ หภมู ิรา่ งกาย หน้ากาก

ผ้า สบู่สาหรับล้างมือ และเจลแอลกอฮอร์

เพื่อใชส้ าหรับปอ้ งกัน โรคโควิด -19

4. จัดให้มชี ่องทางการติดตอ่ สอ่ื สารแก่ผ้ปู กครองในการ 4.1 ประสานงานทางโทรศัพท์

เตรยี มตัวก่อนนาเด็กเขา้ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 4.2 แอปพลิเคชน่ั Line Facebook เป็นตน้

4.3 ป้ายประชาสัมพันธ์ จดหมายขา่ ว

5. กาหนดจุดรับ-ส่ง จุดคัดกรอง จัดเตรียมอุปกรณ์ 5.1จัดให้มีพื้นท่ีและอุปกรณ์ทาความสะอาด

ล้างมือ บรเิ วณทางเข้าสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั มือและเท้า บริเวณทางเข้าสถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวัย และทาเครื่องหมาย 1-2 เมตร

16

ที่ ข้อกาหนดของมาตรการกลาง แนวทางปฏบิ ตั ใิ นสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

ให้ผู้ปกครองปฎบิ ัติตาม

6. จัดให้มีการดูแลทาความสะอาดอาคารสถานท่ี 6.1 ควบคุม การทาความสะอาดอาคาร

สิ่งของ เครื่องใช้ บริเวณจุดสัมผัส และยานพาหนะ สถานท่ี สิ่งของ เครื่องใช้ เครื่องเล่นสนาม

ด้วยผลิตภณั ฑ์ ทาความสะอาดและผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อ สื่อพัฒนาการเด็ก ยานพาหนะเป็นต้น

ตามคาแนะนาของกระทรวงสาธารณสขุ เป็นประจา และบรเิ วณจดุ สัมผัส ดว้ ยผลิตภัณฑ์ ทาความ

สะอาดและผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อ ตามคาแนะนา

ของกระทรวงสาธารณสุข อย่างน้อยวันละ 2

ครัง้ และทกุ วนั (Daily Cleaning)

6.2 ต้องมีพื้นท่ีสาหรับการจัดกิจกรรมและ

กจิ วตั รประจาวันของเด็ก อยา่ งน้อย 2 ตาราง

เมตรต่อเด็ก 1 คน

7. จัดให้มีการดูแล ทาความสะอาดห้องน้า ห้องส้วม 7.1 ควบคุม การทาความสะอาดห้องน้า

บริเวณจุดสัมผัส ด้วยผลิตภัณฑ์ ทาความสะอาด ห้องส้วม บริเวณจุดสัมผัส ด้วยผลิตภัณฑ์

และผลิตภัณฑ์ฆา่ เชือ้ อย่างน้อยวันละ 2 ครง้ั ทาความสะอาด และผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้ออย่าง

นอ้ ยวันละ 2 ครั้ง

8. จัดให้มีมาตรการเว้นระยะห่างระหว่างกลุ่มและ 8.1 กาหนดจุดรับส่งเด็กจุดยืนรอรับเด็กของ

ระหวา่ งบุคคลในการทากิจกรรมต่างๆอย่างน้อย ผปู้ กครองเวน้ ระยะหา่ งอย่างน้อย 1-2 เมตร

1-2 เมตร 8.2 กาหนดจุดทากิจกรรมสาหรับเด็ก

รายบุคคล

8.3 กรณีใช้พ้ืนที่จัดกิจกรรมท่ีมีเด็กมากกว่า

1 กลุ่ม ต้องจัดเตรียมฉากหรืออุปกรณ์ก้ัน

ระหว่างกลุ่ม โดยคานึงถึงความปลอดภัย

สาหรบั เดก็

9. เม่ือพบว่าบุคลากรหรือคนใกล้ชิดมีอาการ ไข้ ไอ 9.1 กาหนดแนวทางที่ชัดเจน เม่ือพบว่า

จาม เหนื่อยหอบ หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง (ตามคา ตนเองบุคลากรหรือคนใกล้ชิด ในสถาน

นิยามกระทรวงสาธารณสุข) ให้หยุดงานทันที และ พัฒนาเด็กปฐมวัย มีอาการ ไข้ไอ จาม

ปฏิบัติตามคาแนะนา ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เหนื่อยหอบ หรือกลับจากพ้ืนท่ีเส่ียง (ตามคา

อยา่ งเคร่งครดั นยิ ามกระทรวงสาธารณสุข) ให้หยุดงานทันที

และปฏิบัติตามคาแนะนา ของเจ้าหน้าท่ี

สาธารณสุขในพ้นื ทอี่ ย่างเคร่งครัด

10 บุคลากรทุกคน ก่อนการปฏิบัติงานควรทาความ 10.1 กาหนด และควบคุมให้ครู/ผู้ดูแลเด็ก

สะอาดร่างกายก่อนปฏิบัติงาน เช่น อาบน้าเปลี่ยน และบุคลากรที่เก่ียวข้อง ต้องทาความสะอาด

ชดุ ล้างมือ ลา้ งเท้า สวมหน้ากากผ้า สวมหมวกคลุม ร่างกาย เช่น อาบน้าเปลี่ยนชุด เส้ือผ้า หรือ

ผม เป็นต้น และให้ความรู้แก่เด็กที่มีอายุมากกว่า สวมเสื้อคลุมแขนยาวแบบเต็มตัว ทาความ

2 ปี ในการสวม ถอด และเก็บหน้ากากอนามัยหรือ สะอาด มือ-เท้า และสวมหน้ากากอนามัย

หนา้ กากผา้ อย่างถูกสุขอนามยั หรอื หน้ากากผา้ ก่อนการปฏบิ ัติงานในสถาน

พัฒนาเดก็ ปฐมวัยทุกครง้ั ทุกวนั

17

ที่ ข้อกาหนดของมาตรการกลาง แนวทางปฏบิ ตั ใิ นสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

10.2 จัดทาจุดหรือห้องเปล่ียนเส้ือผ้า

หอ้ งอาบนา้

2.สาหรับครู/ผู้ดแู ลเด็กและบคุ ลากรอื่นๆ

ที่ ข้อกาหนดของมาตรการกลาง แนวทางปฏบิ ตั ใิ นสถานพฒั นาเดก็

ปฐมวยั

1. เม่ือพบว่าตนเอง บุคลากร หรือคนใกล้ชิด มีอาการไข้ 1.1 ให้หยุดงานทนั ที และไปพบแพทย์

ไอ จาม หอบเหนือ่ ย หรอื กลับจากพื้นท่ีเสี่ยง (ตามคา

นิยามกระทรวงสาธารณสุข) ให้หยุดงานทันที และ

ปฏิบตั ิตามคาแนะนา ของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขอย่าง

เคร่งครัด

2. ก่อนการปฏิบัติงานควรทาความสะอาดร่างกาย 2.1 ต้องทาความสะอาดรา่ งกาย เช่น อาบน้า

(โดยเฉพาะผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ)ล้างมือ สวม เปลี่ยนชุดเสื้อผ้าหรือสวมเส้ือคลุมแขนยาว

หน้ากากผ้าขณะปฏิบัติงาน และให้ความรู้แก่เด็กที่มี แบบเต็มตัว ทาความสะอาดมือ-เท้า และ

อายุมากกว่า 2 ปี ในการสวมถอดและเก็บหน้ากาก สวมหน้ากากอนามัย/หน้ากากผ้า หรือสวม

อนามัยอยา่ งถูกสขุ อนามยั หมวก ก่อนการปฏิบตั งิ านในสถานพฒั นาเด็ก

ปฐมวยั ทุกครงั้ ทกุ วนั

2.2 สอนใหเ้ ดก็ ร้จู ักป้องกันตนเองจากโรคติด

เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) สาหรับ

เด็กที่อายุมากกว่า 2 ปี ต้องสวมหน้ากาก

อนามัยหรือหน้ากากผ้า และถอดทิ้งอย่างถูก

สขุ ลักษณะ

3. สอนเด็กไม่ให้ใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับผู้อ่ืน และ 3.1 สอนเด็กไม่ให้ใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อ่ืน

รกั ษาอยา่ งถกู ตอ้ ง และเก็บรกั ษาอยา่ งถกู ตอ้ ง

3.2 จดั เกบ็ แยกอปุ กรณ์ เครื่องใช้ส่วนตัวของ

เด็ก เชน่ จาน ชาม ถาดหลุม ช้อน ส้อม แก้ว

น้า ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า แปรงสีฟัน ยาสี

ฟนั แยกรักษาเป็นรายบุคคล ไม่ใชป้ ะปนกัน

4. ให้ความรู้ คาแนะนาเกย่ี วกับการแพร่กระจายของโรค 4.1 ให้ความรู้ คาแนะนาเก่ียวกับการ

โควิด-19 แก่ผู้ปกครองของเด็ก แพร่กระจายและโอกาสของการติดเชื้อไวรัส

โคโรนา 2019 แก่ผู้ปกครองของเด็ก

การปฏิบัติตัวในช่วงที่มารับ-ส่งเด็กท่ีสถาน

พัฒนาเดก็ ปฐมวัย และเมื่อกลบั ถึงบา้ น

4.2 จัดทามุมผู้ปกครอง เพื่อประชาสัมพันธ์

คาแนะนาเก่ียวกับการแพร่กระจายของโรค

โควดิ -19 และการปฏบิ ัตติ ัวเม่อื กลับถึงบ้าน

18

ที่ ข้อกาหนดของมาตรการกลาง แนวทางปฏบิ ตั ใิ นสถานพฒั นาเดก็

ปฐมวยั

4.3 ขอความร่วมมือให้ผู้ปกครองแจ้งข้อมูล

การเดินทางไป ณ จุดเสี่ยงต่าง ให้ครูทราบ

ทุกวนั ก่อนรบั -สง่ เด็ก

5. ส่งเสริมให้เด็ก ผู้ปกครอง ล้างมืออย่างถูกวิธีด้วย 5.1 ให้ความรู้ คาแนะนาเกี่ยวกับกับการล้าง

น้าและสบู่ มืออย่างถูกวิธีด้วยน้าและสบู่แก่ผู้ปกครอง

ของเด็ก ในช่วงที่มารับ-ส่งเด็กที่สถาน

พฒั นาเด็กปฐมวยั

5.2 จัดทามุมผู้ปกครอง เพ่ือประชาสัมพันธ์

คาแนะนาเกี่ยวกับการล้างมืออย่างถูกวิธีด้วย

น้าและสบู่

5.3 สาธิตวิธีการล้างมืออย่างถูกวิธีด้วย

น้าและสบูแ่ กผ่ ู้ปกครอง

6. จัดกิจกรรมสาหรับเด็ก ควรจัดเป็นรายบุคคลหรือ 6.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สาหรับ

กลุ่มย่อย (Bubble) ไม่เล่นรวมกัน เว้นระยะห่าง เด็ก รายบุคคล หรือ กลุ่มย่อย (Bubble) ไม่

ระหว่างกลุ่มและรายบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร เกิน 5 คนตอ่ กลุ่ม เว้นระยะห่างระหว่างกลุ่ม

(เด็กจานวนไม่เกิน 5 คนตอ่ กลุ่ม) และควรจัดของเล่น และรายบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร ในที่มี

ส่ือการเรียนรู้ให้เด็กเป็นรายบุคคล กรณีเป็นของท่ี อากาศถ่ายเท

ต้องใช้ร่วมกันหรือและเปลี่ยนกันใช้ ต้องทาความ 6.2 กรณีใช้พื้นท่ีจัดกิจกรรมท่ีมีเด็กมากกว่า

สะอาดตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข โดยไม่ใช้ 1 กลุ่ม ให้ใช้ฉากหรืออุปกรณ์ก้ันระหว่าง

ต่อเนอื่ งกัน กลมุ่ โดยคานงึ ถึงความปลอดภัยสาหรับเด็ก

6.3 จดั ของเลน่ สื่อพฒั นาการเด็ก ให้เด็กเล่น

เฉพาะกลุ่มย่อย (Bubble) ไม่ใช้เล่นร่วมกับ

กลุม่ ยอ่ ย (Bubble)อน่ื

6.4 ทาความสะอาดของเล่น และสื่อ

พัฒนาการเด็กทุกชนิดท่ีเด็กเล่นเสร็จแล้ว

ก่อนการเล่นของเด็กคนถัดไปทุกครั้งตาม

มาตรฐานกระทรวงสาธารณสขุ กาหนด

7. ดูแลให้เด็กรับประทานอาหารตามหลักเกณฑ์ 7.1 จัดทาอาหารปรุงสุกใหม่ๆทุกม้ือ

โภชนาการท่ีปรุงสุกใหม่และสะอาดขณะรับประทาน สาหรบั เดก็

อาหารให้เว้นระยะห่างอย่างน้อย 1-2 เมตร หรือ 7.2 แยกภาชนะ จาน ชามช้อน แก้วน้า

มฉี ากกนั้ ระหวา่ งบุคคล สาหรบั เดก็

แตล่ ะคนไมใ่ ช้ร่วมกัน

7.3 ขณะรับประทานอาหาร ให้เว้นระยะ

หา่ ง 1-2 เมตรหรอื มีฉากกนั้ ระหวา่ งบคุ คล

19

3. สาหรบั ผปู้ กครองในการดแู ลบตุ รหลาน

ที่ ขอ้ กาหนดของมาตรการกลาง แนวทางปฏบิ ตั ใิ นสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

1. หากเด็กและบุคคลในครอบครัวมีอาการป่วย เช่น มีไข้ 1.1 ให้เด็กหยุดเรียนและผู้มีอาการไปพบแพทย์

ไอ จาม มีน้ามูก หรือเหนื่อยหอบ ให้เด็กหยุดเรียนและ และปฏิบัติตามคาแนะนาของแพทย์อย่าง

ผู้มีอาการไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วย เครง่ ครัด

โรคโควิด-19 หรือกลับจากพ้ืนท่ีเส่ียงและอยู่ในช่วง 1.2 กรณีที่คนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด-19

กักกันตัวให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าท่ี หรือกลับจากพื้นท่ีเสี่ยง แยกคนป่วย หรือให้

สาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครัด กักตัวเองและให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของ

แพทย์อย่างเครง่ ครดั

1.3 จัดทาบันทึกข้อมูลการเดินทางไปยังพื้นที่

เส่ียงของตนเองและเด็ก รวมถึงคนใน

ครอบครัว และแจ้งแก่สถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวยั ทุกครงั้

2. เตรียมอาหารท่ีถูกต้องตามหลักโภชนาการ อาหารต้อง 2.1 จัดทาอาหารปรงุ สุกใหม่ สาหรบั เด็กทกุ ม้ือ

ปรงุ สุกใหม่ จัดให้มีการออกกาลังกายทุกวัน รวมถึงการ 2.2 ส่งเสรมิ และควบคุม ให้เด็ก มีการออกกาลัง

ดูและด้านการแปรงฟัน และให้เด็กพักผ่อนด้วยการ กายทุกวันพร้อมปฏิบัติกิจวัตรประจาวันให้ถูก

นอนหลับวนั ละ 9 – 11 ชัง่ โมงต่อวัน สุขลักษณะตามที่กระทรวงสาธารณสุขแนะนา

กาหนด

3. หลังกลับเข้าบ้านทุกครั้ง ควรล้างมือด้วยน้าและสบู่ 3.1 ควบคุม ให้เด็กล้างมือด้วยน้า และสบู่

หรืออาบนา้ ทาความสะอาดร่างกายทนั ที หรืออาบน้าทาความสะอาดร่ายกายทันทีที่กลับ

เข้าบ้าน

3.2 ปฏิบัติตัวเป็นตัวอย่างท่ีดีแก่เด็ก ในการทา

ความสะอาดรา่ งกายทกุ คร้งั ท่ีกลบั เข้าบา้ น

4. เตรียมอุปกรณข์ องใช้ส่วนตวั แบบรายวนั ท่ีจาเป็น เช่น 4.1 เตรยี มอุปกรณข์ องใช้สว่ นตัว แบบรายวันท่ี

เส้ือผ้า หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า เป็นต้น จาเป็น เชน่ เสอื้ ผ้าสาหรบั เดก็ อยา่ งน้อยวนั ละ 3

เพื่อให้เด็กนาไปใช้และเปลี่ยนในสถานพัฒนาเด็ก ชุด (ชุดนกั เรยี น/ชดุ นอน/ชุดระหวา่ งเดินทางไป

ปฐมวัย กลับบา้ น) หนา้ กากผา้ อย่างนอ้ ยวันละ 3 ชิน้

เพ่อื ใหเ้ ด็กนาไปใช้และเปลย่ี นท่สี ถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวยั

4.2 เม่อื เด็กกลับเข้าบา้ น เปล่ียนชดุ และทาความ

สะอาดร่างกายทนั ที

5. ไม่พาเดก็ ไปสถานท่แี ออดั หรือมคี นจานวนมาก หากมี 5.1 ไมพ่ าเดก็ ไป ณ จุดเส่ยี งต่าง ๆ เช่น ตลาด

ความจาเป็น ตอ้ งใสห่ น้ากากผา้ และเว้นระยะห่าง 1-2 หา้ งสรรพสนิ ค้า โรงภาพยนตร์ โรงละคร สนาม

เมตร เด็กเล่น พ้นื ท่ีเล่น และ สถานทแ่ี ออดั อื่นๆ

เป็นต้น

20

โมดลู 4 กจิ วตั รประจาวนั ในการดแู ล พฒั นา และจดั การเรียนรขู้ องเดก็ ปฐมวัย

(ระยะเวลาท่ใี ช้ 180 นาท)ี

วตั ถปุ ระสงค์ : ผเู้ รียนมคี วามรเู้ รอื่ ง

1. คร/ู ผู้ดูแลเดก็ มแี นวทางในการจัดกจิ วัตรประจาวนั ในการดูแล พัฒนา และจดั การเรียนรขู้ อง
เด็กปฐมวัยในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 (Covid – 19)
1.1 การเตรยี มตวั ของผปู้ กครอง
1.2 การคดั กรองบุคลากรของสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย
1.3 การคัดกรองเด็กและผปู้ กครอง และการส่งเดก็ กกลับบ้านช่วงเยน็
1.4 การเปล่ียนเสื้อผ้า
1.5 การจดั กจิ กรรมดแู ล พัฒนา และส่งเสริมการเรียนรแู้ กเ่ ดก็
1.6 การรบั ประทานอาหาร
1.7 การนอนกลางวัน
1.8 การใชห้ อ้ งน้าและการแปลงฟนั
1.9 การฆ่าเช้ือ และดแู ลทาความสะอาด

เนอ้ื หา (หวั ขอ้ )

1. การเตรียมตวั ของผปู้ กครอง
2. การคดั กรองบคุ ลากรของสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
3. การคัดกรองเด็กและผู้ปกครอง และการส่งเดก็ กกลับบา้ นช่วงเยน็
4. การเปลี่ยนเสือ้ ผ้า
5. การจดั กจิ กรรมดูแล พัฒนา และส่งเสรมิ การเรียนร้แู กเ่ ด็ก
6. การรบั ประทานอาหาร
7. การนอนกลางวนั
8. การใชห้ อ้ งน้าและการแปลงฟนั
9. การฆ่าเชือ้ และดูแลทาความสะอาด

สื่อทใ่ี ช้

1. เอกสารบทเรียน
2. สื่อวดี ีทัศน์
3. องคค์ วามรูใ้ นอินเตอร์เน็ต

21

โมดลู 4 กจิ วตั รประจาวนั ในการดแู ล พฒั นา และจดั การเรียนรขู้ องเดก็ ปฐมวยั

1. การเตรยี มตวั ของผปู้ กครอง
แนวปฏบิ ตั ิ

1.1 จดั เตรยี มอุปกรณ์ เครือ่ งใช้ส่วนตวั สาหรับเดก็ ใช้ในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ซ่งึ ตอ้ งมีการตรวจเช็ค
ทาความสะอาดเพ่ิมขน้ึ เช่น

- กระตกิ น้าส่วนตัว
-หน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้าสาหรับเด็ก อย่างน้อยวนั ละ 3 ชนิ้ 3-4 ชุดต่อวนั เพื่อเปล่ียน
ระหวา่ งวัน
- ผา้ เชด็ ตัว เปลยี่ นอยา่ งน้อย 2 คร้ังตอ่ สปั ดาห์
- ชดุ เครอ่ื งนอน ผ้าปูทนี่ อน ปลอกหมอน ผ้าหม่ เปลยี่ นอย่างน้อย 2 คร้ังต่อสัปดาห์
- เสอ้ื ผ้าสะอาด อย่างน้อยวนั ละ 3 ชดุ (ชดุ นกั เรยี น/ชดุ นอน/ชดุ ระหวา่ งเดนิ ทางไปกลบั บา้ น)
- ถงุ ซิปหรอื ถุงสะอาดสาหรับใสเ่ สอ้ื ผ้า หรอื ของใช้เด็กทีใ่ ช้แลว้
1.2 ก่อนรับ – ส่งเด็ก ผู้ปกครอง ต้องสวมหน้ากากอนามัย/หน้ากากผ้า และล้างมือด้วยน้าสะอาด
และ สบู่ หรือเจลแอลกอฮอร์ ทุกครงั้
หมายเหตุ : กรณีหากผู้ปกครองกังวลการติดเชื้อในช่วงการเดินทางไป-กลับ ระหว่างบ้านกับสถาน
พัฒนาเด็กปฐมวัยเนื่องจากโดยสารรถสาธารณะ หรือ มอเตอร์ไซค์ ก็สามารถสวมเสื้อคลุม (เส้ือแจ๊คเก็ตยาว
หรือเส้ือท่ีมีลักษณะเส้ือกันฝน หรือแบบอื่นๆ) สวมทับเพื่อปกปิดท่ัวร่างกายเด็ก เมื่อมาถึงสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยให้ถอดเส้ือคลุมพับเก็บไว้ในกระเป๋า ทั้งนี้ ควรหลีกเล่ียงการสะบัดเส้ือคลุมดังกล่าว เพราะอาจทาให้
เชือ้ โรคกระจายได้

2. การคดั กรองบคุ ลากรของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ผู้บรหิ ารสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ครู/ผดู้ แู ล
เดก็ ผู้ประกอบอาหาร ผูท้ าความสะอาด และบคุ ลากรทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
แนวทางปฏบิ ตั ิ

2.1 ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ครู/ผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบการ ผู้ทาความสะอาด และบุคลากร
ที่เกี่ยวข้อง ทาความสะอาดร่างกาย ล้างมือ ล้างเท้าด้วยน้าสะอาดและสบู่ หรืออาบน้า ใช้ผ้าสะอาดแยกเช็ด
รายบุคคล กอ่ นเขา้ ด้านในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

2.2 ผบู้ ริหารสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย ครู/ผ้ดู แู ลเดก็ ผปู้ ระกอบอาหาร ผทู้ าความสะอาด และบุคลากร
ทเี่ กย่ี วข้อง เปล่ยี นเสอ้ื ผ้าชุดใหม่ท่ีใชเ้ ฉพาะภายในสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั สวมหน้ากากอนามยั /หนา้ กากผา้
(แนะนาสวมหมวกคลมุ ผม สาหรับผ้ดู แุ ลเด็กและผูส้ มั ผัสอาหาร ในกรณีที่จัดหาได้)

3. การคดั กรองเดก็ และผปู้ กครอง และการสง่ เดก็ กลบั บ้านชว่ งเยน็ (คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ รบั ส่งเด็กดา้ นนอกอาคาร
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั )

แนวทางปฏบิ ตั ิ
3.1 การคดั กรองเดก็ และผปู้ กครองกอ่ นเข้าสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

1. กาหนดบรเิ วณจดุ คัดกรองเดก็ และจดั ทาเปน็ สัญลกั ษณท์ ่เี หน็ ชัดเจนของระยะ ระหว่างท่ีเด็กยืนรอ
การคดั กรอง ให้มรี ะยะหา่ งกัน อยา่ งน้อย 1-2 เมตร

22

2. จัดเตรียมอปุ กรณค์ ดั กรองเด็ก ไดแ้ ก่ เคร่อื งตรวจวดั อณุ หภูมิ หรือวัดไข้สาหรบั เดก็ เจลแอลกอฮอล์
ล้างมือ เอกสารคัดกรอง ใบลงช่ือรับส่ง แบบบันทึกอุณหภูมิเด็กและผู้ปกครอง ป้ายประชาสัมพันธ์ ขั้นตอน
การคดั กรอง

3.สาหรับครู/ผู้ดูแลเด็ก ท่ีตรวจรับส่งเด็ก ให้สวมหน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้า และสวม Face
Shield รว่ มด้วยเพือ่ ปอ้ งกันตนเอง

4. ตรวจคดั กรองเด็กและผปู้ กครอง วดั อณุ หภมู ิของทั้งเด็กและผปู้ กครอง อุณหภูมิจะต้องไม่เกิน 37.5
องศาเซลเซียส ไม่มีอาการ ไอ จาม มีน้ามูก อาการหอบเหน่ือย และสอบถามข้อมูลจากผู้ปกครอง เก่ียวกับ
บุคคลในครอบครัวมีใครเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือถูกกักตัวตามมาตรฐาน ของกรมควบคุมโรค หรือไม่
หากพบวา่ มขี อ้ มลู เส่ยี ง จะตอ้ งให้เด็กหยุดเรยี นทนั ที (อาจเพิ่มการตอบแบบสอบถามทาง App. ไทยชนะ)

หมายเหตุ : โปรดติดตามข่าว “พื้นท่ีเส่ียง”ที่จะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์การระบาดของโลก
ประเทศไทย และพ้นื ทที่ สี่ ถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตั้งอยู่

5. ใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าที่ใหม่ แห้ง และสะอาดให้เด็ก (สาหรับเด็กที่ผ่านการคัดกรอง
จากข้อ 4 ยกเวน้ เด็กอายุต่ากว่า 2 ปี ไมต่ ้องใส่หน้ากากอนามยั หรอื หน้ากากผา้ )

6. ทาความสะอาดร่างกาย ล้างมอื ล้างเท้าเด็กดว้ ยนา้ สะอาดและสบู่ หรืออาบน้าให้เด็ก (สาหรับเด็ก
ทผี่ ่านการคดั กรองจาก ข้อ 4) แล้วใชผ้ า้ สะอาดแยกเช็ดใหแ้ ห้งเปน็ รายบคุ คล ก่อนเดินเข้าภายในพื้นที่ดูแลเดก็

7. ห้ามผูป้ กครองและบุคคลภายนอกเข้าภายในพ้นื ทดี่ ูแลเด็ก

3.2 การสง่ เดก็ กลับบ้านชว่ งเยน็ (คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ )

1. นาเด็กออกมารอผู้ปกครอง ณ จุดคัดกรองเด็กในช่วงเช้า (ส่วนที่ 1 ) และวัดอุณหภูมิของเด็กก่อน
สง่ กลบั ใหผ้ ปู้ กครอง และวัดอุณหภูมิของผปู้ กครองท่มี ารบั เด็กทุกคร้ัง.(ข้อแนะนาหากทาได้)

2. ลงช่ือสง่ เด็ก และบันทึกอุณหภูมิเด็กและผู้ปกครอง ในเอกสารแบบฟอร์ม พร้อมแนะนาผู้ปกครอง
หลังจากกลับเข้าบ้านแล้วให้อาบน้า ทาความสะอาดร่างกายท้ังเด็กและผู้ปกครองทันทีทุกครั้ง เพื่อป้องกันมิ
ใหเ้ กิดการตดิ เช้ือในระหว่างการเดนิ ทางจากสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยกับบ้าน และให้หลีกเล่ียงการพาเด็กไปใน
พน้ื ทเี่ สย่ี ง หมน่ั สังเกตตนเอง บคุ คลในบ้าน และเด็กอย่างสม่าเสมอ ว่ามีอาการผิดปกติใดๆ อาทิ มีไข้ ไอ จาม
น้ามูลไหล เหนื่อยหอบ หรอื ไม่

3. ส่งชุดเคร่ืองนอน และผ้าเช็ดตัว ของเด็กแก่ผู้ปกครองเพื่อให้ทาความสะอาดก่อนนามาใช้ทุกคร้ัง
เป็นประจา

3.3 วิธีการตรวจคัดกรองสุขภาพ การตรวจคัดกรองสุขภาพเบ้ืองต้นช่วงสถานการณ์

โรคโควิด-19 ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่สาคัญ ได้แก่ การตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายหรือวัดไข้ การซักประวัติ
การสัมผัสในพื้นทเ่ี ส่ียง การสังเกตอาการเสี่ยงต่อการตดิ เชื้อ โดยมวี ิธปี ฏิบัติ ที่สาคัญพอสังเขป ดงั นี้

วธิ กี ารตรวจวัดอุณหภูมิรา่ งกายหรอื วัดไข้

คนทั่วไปจะมีอุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง 36.5 - 37.4 องศาเซลเซียส สาหรับผู้ที่เริ่มมีไข้หรือสงสัย
วา่ ติดเชอื้ จะมอี ณุ หภมู ทิ ่ี มากกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส เคร่ืองวัดอุณหภมู ริ า่ งกาย มี 4 แบบ ไดแ้ ก่

1. เครื่องวัดอุณหภูมิแบบแท่งแก้ว เครื่องมือชนิดน้ีนิยมใช้ในการวัดอุณหภูมิทางปากหรือทางรักแร้
ในผู้ใหญ่หรอื เด็กโต แต่ไมเ่ หมาะสาหรับใชใ้ นเด็กปฐมวยั บางครั้งใช้ในการวัดอุณหภูมิทางทวารของเด็กปฐมวัยด้วย

ขอ้ ดี : อ่านคา่ อณุ หภมู มิ ีความน่าเชื่อถอื และมคี วามถูกต้อง
ขอ้ เสีย : ใช้เวลาในการวัดนาน ไมเ่ หมาะสมในการคัดกรองผ้ปู ่วยจานวนมาก
2. เครื่องวดั อุณหภูมแิ บบดจิ ติ อล หนา้ จอแสดงผลเป็นแบบตวั เลข ทาให้ง่ายตอ่ การอา่ นคา่

23

ขอ้ ดี : อา่ นคา่ อุณหภูมิมีความน่าเชอื่ ถอื และมีความถูกต้อง
ข้อเสีย : ใช้เวลาในการวัดนอ้ ยกวา่ แบบแท่งแกว้ แต่ยังไมเ่ หมาะในการใช้ในการคัดกรองคนจานวนมาก
3. เคร่ืองวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอลช่องหู ใช้วัดอุณหภูมิความร้อนที่แพร่ออกมาของร่างกายโดยไม่
สัมผสั กบั อวยั วะทีว่ ัด มีหนา้ จอแสดงผลเปน็ แบบตัวเลขทาให้งา่ ยตอ่ การอ่านค่า บริเวณปลายมีเซ็นเซอร์วัดรังสี
อินฟราเรดท่ีร่างกายแผอ่ อกมา โดยเครอ่ื งมือไดอ้ อกแบบให้วดั ท่บี ริเวณเย่ือแกว้ หู
ขอ้ ดี : อ่านค่าอุณหภมู ไิ ดร้ วดเร็วเหมาะสมกับการคัดกรองคนจานวนมาก
ขอ้ ควรระวัง : การปนเปื้อนและติดเช้อื จากทางหูกรณีไม่เปลีย่ นปลอกห้มุ
4. เคร่ืองวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอลบริเวณหน้าผาก เป็นเคร่ืองท่ีพัฒนามาเพ่ือลดโอกาสในการติดเช้ือ
ของเครื่องวัดอุณหภูมิในช่องหู แต่ยังคงวัดอุณหภูมิได้อย่างรวดเร็ว เพ่ือใช้ในการคัดกรองผู้ป่วยจานวนมาก
มหี น้าจอแสดงผลเป็นแบบตัวเลข บรเิ วณปลายมเี ซน็ เซอรว์ ัดรงั สอี นิ ฟราเรดท่ผี วิ หนัง โดยเคร่ืองมือได้ออกแบบ
ให้วัดที่บรเิ วณหน้าผาก ปัจจุบนั เปน็ ทนี่ ยิ มมาก
ขอ้ ดี : อา่ นค่าอุณหภูมไิ ดร้ วดเรว็ เหมาะสมกับการคัดกรองคนจานวนมาก

วิธกี ารใช้งานเครอื่ งวดั อุณหภมู ิทางหนา้ ผาก

1. ตั้งค่าการใช้งานเป็นโหมดการวัดอุณหภูมิร่างกาย (Body Temperature) ปกติเครื่องวัดอุณหภูมิ
หน้าผาก มีอย่างน้อย 2 โหมด คือ โหมดการวัดอุณหภูมิพื้นผิว (Surface Temperature) ใช้วัดอุณหภูมิวัตถุ
ท่ัวไป เช่น ขวดนม หรืออาหาร และโหมดการวัดอุณหภูมิร่างกาย (Body Temperature) ใช้วัดอุณหภูมิ
ผวิ หนงั แลว้ แสดงค่าเป็นอุณหภูมริ ่างกาย

2. วัดอุณหภูมิ โดยช้ีเคร่ืองวัดอุณหภูมิไปที่หน้าผาก หรือบริเวณท่ีผู้ผลิตแนะนา ให้มีระยะห่าง
จากผิวหนังตามที่ผู้ผลิตแนะนา โดยทั่วไปมีระยะห่างไม่เกิน 15 เซนติเมตร (บางรุ่นอาจต้องสัมผัสกับผิวหนัง)
จากน้ันกดปุ่มบันทึกผลการวัด โดยขณะทาการวัด ไม่ควรส่ายมือไปมาบนผิวหนังบริเวณที่ทาการวัด ไม่ควร
มวี ัตถอุ ่ืนใดบัง เช่น เส้นผม หมวก หนา้ กาก หรอื เหงอ่ื

3. การอ่านค่าผลการวัด เม่ือมีสัญญาณเสียง หรือสัญลักษณ์ที่แสดงว่าทาการวัดเสร็จส้ิน ควรทา
การวัดอย่างน้อย 3 ครั้ง หากผลการวัดไม่เท่ากัน ให้ใช้ค่ามากที่สุด หากสงสัยในผลการวัด ควรทาการวัดซ้า
ด้วยเครื่องวัดอุณหภูมิทางการแพทย์ชนิดอ่ืนๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟาเรดในช่องหู (Infrared ear
Thermometers)

ข้อควรระวัง
1. ศกึ ษาคู่มือการใช้งานเครอ่ื งวัดอุณหภูมิกอ่ นการใช้งาน
2. เครือ่ งวัดอณุ หภมู ิผวิ หนังควรอยู่ในสภาวะแวดล้อมของพ้ืนที่ทาการวัดไม่น้อยกว่า 30 นาที เพ่ือให้
อุณหภมู ขิ องเครอื่ งวดั เท่ากบั อณุ หภมู แิ วดล้อม
3. ไม่ควรสัมผัสหรือหายใจบนเลนส์ของหัววัด หากมีส่ิงสกปรกบนเลนส์ให้ใช้ผ้านุ่มแห้ง หรือสาลีพัน
ก้านไม้ ทาความสะอาด ไมค่ วรเช็ดด้วยกระดาษทิชชู
4. ผู้รับการตรวจวัดควรอยู่ในบริเวณจุดตรวจวัดอย่างน้อย 5 นาที ก่อนการวัด ไม่ควรออกกาลังกาย
หรืออาบน้า ก่อนถูกวัดอุณหภูมิเป็นเวลาอย่างน้อย 30 นาที การถือเครื่องวัดอุณหภูมิหน้าผากเป็นเวลานาน
มีผลใหอ้ ุณหภมู ภิ ายในของเครื่องวัดสูงข้นึ และจะส่งผลการวัดอณุ หภมู ิร่างกายผิดพลาด
5. อุณหภูมิร่างกายขึ้นอยู่กับ การเผาผลาญพลังงานของแต่ละคน เส้ือผ้าที่สวมใส่ขณะทาการวัด
อณุ หภมู ิแวดลอ้ ม กจิ กรรมทที่ า
6. ผู้ท่ีมีประวัติไข้หรือวัดอุณหภูมิกายได้ ต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไป ร่วมกับอาการทางเดิน
หายใจอย่างใดอย่างหน่ึง (มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส) และมีประวัติสัมผัส

24

ใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยัน ในช่วง 14 วันก่อนมีอาการ ถือว่า เป็นผู้สัมผัสความเสี่ยง (กลุ่มเสี่ยง) ต้องรีบแจ้ง
เจา้ หนา้ ทที่ างการแพทยท์ ่เี กย่ี วข้องดาเนนิ การตอ่ ไป

3.4 ขน้ั ตอนการซกั ประวตั แิ ละสงั เกตอาการเสีย่ ง

โดยสอบถามเกี่ยวกับประวัติการสมั ผสั ในพ้ืนที่เส่ยี ง พื้นที่ที่มผี ปู้ ว่ ยตดิ เชื้อ หรือพื้นท่ีท่ีมีคนจานวนมาก
และสงั เกตอาการเสีย่ งต่อการตดิ เช้อื หรอื อาการทางเดินหายใจ เช่น ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อย
หอบ จมูกไม่ไดก้ ลิ่น ล้นิ ไม่รูร้ ส เปน็ ตน้ โดยมวี ิธีปฏิบตั ิ ดังน้ี

1.จัดต้ังจุดคัดกรองบริเวณทางเข้าของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย พิจารณากาหนดจุดคัดกรองตาม
ความเหมาะสมกบั จานวนเดก็ ปฐมวยั โดยยดึ หลัก Social distancing วัดอุณหภูมิตามคาแนะนาของเครื่องวัด
อณุ หภมู ิตามผลติ ภัณฑน์ นั้ พร้อมอา่ นค่าผลทไ่ี ด้ (มากกวา่ 37.5 องศาเซลเซียส ถือว่า มไี ข้)

2.ให้ผู้รับการตรวจคัดกรองล้างมือด้วยสบู่และน้า หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ทาความสะอาดมือ
ตรวจสอบการสวมหน้ากาก (Check mask) ของบุคคลทุกคนท่ีเข้ามาในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สอบถาม
และซักประวัติการเคยไปสัมผัสในพื้นท่ีเสี่ยง(แตกต่างกันตามพ้ืนท่ี) พ้ืนที่ที่มีผู้ป่วยติดเชื้อ หรือพื้นที่ที่มีคน
จานวนมาก และสังเกตอาการเส่ียงต่อการติดเชื้อหรืออาการทางเดินหายใจ เช่น ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจ
ลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส เป็นต้น รวมถึงบันทึกผลลงในแบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพ
สาหรบั เด็กปฐมวยั บคุ ลากร หรือผู้มาติดต่อในสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

2.1 กรณี วัดอุณหภูมิร่างกายได้ ไม่เกิน 37.5 องศาเซลเซียส และไม่มีอาการทางเดินหายใจ (ไอ มี
น้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส) ไม่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยัน ในช่วง
14 วัน ก่อนมีอาการ ถือว่า ผ่านการคัดกรอง จะติดสัญลักษณ์หรือสติ๊กเกอร์ ให้เข้าเรียนหรือปฏิบัติงานได้
ตามปกติ

2.2 กรณี วัดอุณหภูมิร่างกาย ต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไป หรือ มีไข้ ร่วมกับอาการทางเดิน
หายใจอยา่ งใดอย่างหนึ่ง (ไอ มนี ้ามกู เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลน่ิ ไม่รู้รส) ใหป้ ฏิบัติ ดังนี้

1) บันทึกรายช่ือและอาการปว่ ย
2) ให้ผู้ปกครองรับกลับบ้านทันที และรีบไปพบแพทย์ (หยุดพักจนได้ใบรับรองแพทย์ ยืนยันว่า
สามารถเข้าเรียนได)้
3) หากตรวจพบว่า มปี ระวัตเิ สี่ยง และ/หรือมีประวัตสิ ัมผสั ใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยันหรือสงสัย มีประวัติ
เดินทางไปในพ้ืนท่ีเสี่ยงหรือพื้นที่เกิดโรค ไปในพ้ืนที่ท่ีมีคนแออัดจานวนมาก ในช่วง 14 วัน ก่อนมีอาการ
ถือวา่ เป็นผูส้ มั ผสั ทีม่ คี วามเส่ยี ง (กลุ่มเสี่ยง) ใหป้ ฏิบตั ิ ดังนี้
- แจง้ เจา้ หน้าทีท่ างการแพทยท์ เ่ี ก่ยี วขอ้ ง ประเมินสถานการณ์การสอบสวนโรค และเกบ็ ตัวอยา่ ง
- ทาความสะอาดจดุ เส่ยี งและบริเวณโดยรอบ
- กกั ตัวอย่บู ้าน และตดิ ตามอาการให้ครบ 14 วัน
- คร/ู ผ้ดู แู ลเด็กรวบรวมข้อมูลและรายงานผลใหผ้ ้บู ริหารสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ผเู้ กี่ยวข้อง

4. การเปลย่ี นเสอ้ื ผา้ (คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ เปลีย่ นเสอ้ื ผา้ ให้เดก็ )

แนวทางปฏบิ ตั ิ

1.จัดเตรียมพน้ื ท่ี หรือหอ้ งทส่ี ะอาดผ่านการฆ่าเชอื้ แล้วทกุ วนั สาหรบั เปลี่ยนเสือ้ ผ้าให้เดก็
2.เปลย่ี นเส้อื ผา้ ให้เด็กทผ่ี ่านการคัดกรองแล้ว และนาเส้ือผ้าชุดเดิมทส่ี วมใส่ถุงพร้อมมัดปากถุงให้สนิท
และเกบ็ ใสใ่ นกระเป๋าเด็กใหเ้ รียบร้อย
3. ลา้ งมือด้วยนา้ สะอาดและสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์ทกุ ครัง้ ท่ีเปลี่ยนเสอื้ ผ้าใหเ้ ดก็ แต่ละคน

25

5. การจดั กจิ กรรมดแู ล พฒั นา และสง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ กเ่ ดก็ (คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ จดั เตรยี ม
จดั การ)

การจัดกิจกรรมดูแล พัฒนา และส่งเสริมการเรียนรู้แก่เด็กปฐมวัยที่เข้ารับบริการในสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย ดาเนินการภายใตห้ ลกั สตู รแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560
ซึ่งมกี ารจัดกจิ กรรมหลัก 1 วนั ประกอบดว้ ย กจิ กรรมเสรี กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ซ่ึงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ดาเนนิ การอยู่แล้ว แต่ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) เกิดขึ้น
เพ่ือความปลอดภัยของเด็ก จึงต้องมีการ ปรับเปลี่ยนวิธีการดูแล พัฒนา และส่งเสริมการเรียนรู้ “รูปแบบ
ใหม่” แก่เด็ก โดยเฉพาะการปรับเปล่ียนขนาดพ้ืนที่การจัดกิจกรรม การจัดกลุ่มเด็ก การควบคุมเด็กกลุ่มย่อย
(Bubble) การจดั การใหม้ คี ร/ู ผู้ดูแลเดก็ รายกลมุ่ ยอ่ ย (Bubble)ทุกกลุ่ม ตามแนวคิด Bubble ซ่ึงเป็นการดูแล
ตัวเองช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 ในประเทศนิวซีแลนด์ เป็นการ สร้างขอบเขตของแต่ละ
บุคคลท่ีต้องพยายามรักษาให้เขตของตนเองปลอดเช้ือ และปฏิบัติตามคาแนะนาเพื่อป้ องกันเชื้อโรค
อย่างเคร่งครัด และให้รักษาระยะห่างทางสังคม ไม่ให้ปฏิสัมพันธ์ใกล้ชิด ดังน้ัน ครู/ผู้ดูแลเด็ก จึงต้องเตรียม
จดั การจัดกิจกรรม ดงั น้ี

แนวทางปฏบิ ตั ิ

1) จัดแบ่งพื้นที่สาหรับจัดกิจกรรมย่อยเป็นสัดส่วน โดยจัดให้แต่ละกลุ่มย่อย (Bubble) ร่วมทา
กิจกรรมกับกลุ่มเดิม ตลอดทั้งวัน เว้นระยะห่างกันระหว่างกลุ่ม ระยะ 1 – 2 เมตร และมีฉากหรืออุปกรณ์ก้ัน
ระหวา่ งกลมุ่ โดยคานงึ ถึงความปลอดภัยของเดก็

2) จัดเด็กออกเป็นกลุม่ สาหรบั จัดกจิ กรรมกลุม่ ย่อย ตามชว่ งอายุตาม ดังนี้
- เดก็ อายไุ ม่เกนิ 1 ปี จานวนไม่เกิน 3 คน มีครู/ผดู้ ูแลเดก็ เฉพาะกลุม่ ทัง้ วนั 1 คน
- เดก็ อายุ ต้ังแต่ 1 ปีขน้ึ ไป จานวนไม่เกนิ 5 คน มคี ร/ู ผ้ดู ูแลเดก็ เฉพาะกลุม่ ท้ังวัน 1 คน

3) ควบคุมไมใ่ ห้เดก็ ออกไปสู่กลุ่มย่อย (Bubble) อน่ื ๆ ในช่วงจดั กิจกรรมกล่มุ ยอ่ ย (Bubble)

กิจกรรมท่ีควรงด เช่น การเข้าแถวต่อกันแบบประชิด กิจกรรมท่ีมีการรวมกลุ่มทุกประเภท
เชน่ การแขง่ กีฬา กิจกรรมตามวันสาคัญ (วันเด็ก กีฬาสี ฯลฯ) และการทัศนศึกษานอกสถานท่ีโดยมี
การแบ่งกิจกรรมท่ีจัดให้กับเด็กเป็น 3 กลุ่ม โดยมีคาแนะนาดังน้ี แนวทางการจัดกิจกรรมให้กับเด็ก
ปฐมวัย

กลุ่มท่ี 1 สีเขียว เป็นกิจกรรมที่ควรจัดเป็นกิจกรรมที่เว้นระยะห่างได้ ได้แก่ กิจกรรมวงกลม

กิจกรรมเสรี เช่น มุมบล็อก ร้อยเชือก มุมหนังสือ มุมวิทยาศาสตร์ โดยเน้นเป็นรายบุคคล กิจกรรม

สร้างสรรค์ เช่น กิจกรรมงานประดิษฐ์ท่ีสามารถแยกอุปกรณ์เป็นรายบุคคลกิจกรรมเสริม

ประสบการณ์ เช่น กิจกรรมเล่นนิทาน เกมการศึกษาภายในกลุ่ม เช่น เกมจับคู่ เกมแยกประเภท

เกมจดั หมวดหมู่ เกมตอ่ ตามแบบ เกมตอ่ โดมิโน

กลมุ่ ที่ 2 สีเหลือง กิจกรรมที่ควรจัดแต่ต้องมีอุปกรณ์ส่วนบุคคล เป็นกิจกรรมที่เว้นระยะห่าง
ได้ ได้แก่ กิจกรรมสร้างสรรค์ เช่น ป้ันดินน้ามัน/แป้งโดว์ กิจกรรมศิลปะ วาดรูป ระบายสี (แยกสี
หรือเครื่องเขียนรายบุคคล) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เช่น กิจกรรมบทบาทสมมุติ กิจกรรม
กลางแจ้ง กจิ กรรมท่สี ามารถเว้นระยะและควบคมุ การใช้อปุ กรณ์ เครื่องเล่นสนาม ต่อกันระหว่างกลุ่ม
ได้ (มีการฆ่าเช้ือกอ่ นกลมุ่ ใหม่เขา้ มาทากิจกรรม)

26

กลุ่มที่ 3 สีแดง กิจกรรมที่ไม่ควรจัด เป็นกิจกรรมที่ไม่สามารถเว้นระยะห่างได้ ได้แก่
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะแบบรวมหมู่ เช่น กิจกรรมเต้นประกอบจังหวะ กิจกรรมดนตรี
กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ เช่น กิจกรรมทัศนะศึกษานอกสถานท่ี

- ตัวอยา่ งการวางผงั และกาหนดสัญลักษณ์การนั่งของเด็กในการจัดกจิ กรรมกล่มุ ย่อย
1. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์หรือกิจกรรมในวงกลม
- แยกทน่ี งั่ โดยทาเครอ่ื งหมายขอบเขตให้เด็ก เชน่ ติดสญั ลกั ษณป์ ระจาตัว
- ใหเ้ ดนิ มานั่งทีละคนโดยเว้นระยะห่าง
- เคลื่อนย้ายเด็กใหน้ อ้ ยท่สี ดุ
2. กิจกรรมกลางแจ้ง งดเล่นเคร่ืองเล่นสนามและการเล่นร่วมกันอื่นๆ เช่น ลูกบอลเล่นน้า
เล่นทราย เปล่ียนเป็นการบริหารร่างกายแทน โดยให้อยู่ในท่ีซ่ึงครูกาหนด ขอบเขตไว้เช่น เสื่อโยคะ
หรือการตดิ เทปบนพ้นื เพือ่ กาหนดขอบเขต
3. กิจกรรมเสรี
- ไปหยิบของเล่นจากช้นั ได้ทลี ะคนคนละ 1 อยา่ ง/ชุด
- กลับมานั่งในที่ที่ครูกาหนดขอบเขตให้นั่ง (เส่ือ/พรมเล็กๆ หรือติดเทปกาหนดขอบเขตท่ี
พนื้ )
- ทากจิ กรรมเสร็จ นาของเล่นไปไว้บนโต๊ะที่ครูกาหนดไว้สาหรับครูทาความสะอาด (ไม่นาไป
เกบ็ ท่ีเดมิ ) แล้วจึงไปหยบิ ของเล่นใหม่ไมใ่ ห้เดก็ เลน่ ของเลน่ ตอ่ จากเพื่อน
4. เกมการศึกษา
- จดั เกมใหเ้ พียงพอตอ่ จานวนเดก็
- กาหนดขอบเขตของทเ่ี ลน่ ให้เว้นระยะห่างกัน
- ให้เลน่ แบบต่างคนต่างเลน่ ไม่นาเกมมาเลน่ ดว้ ยกนั
- เลน่ เสร็จแล้วนาเกมไปไว้บนโต๊ะสาหรบั ใหค้ รทู าความสะอาด
5. กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ
- เน้นการเคลือ่ นไหวอยู่กับท่ใี นเขตของตนเอง
- เมือ่ ใช้เคร่อื งดนตรีเสร็จ ให้ครูนาไปทาความสะอาดไม่นามาเล่นตอ่ กนั
6. กจิ กรรมสร้างสรรค์
- ทางานศิลปะในท่ีของตนเอง ซง่ึ ครกู าหนดไวใ้ หเ้ วน้ ระยะหา่ ง
- ไม่ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์สี ฯลฯ รว่ มกนั
- ใช้เสรจ็ แลว้ ครูนาไปไวท้ ี่โต๊ะสาหรับทาความสะอาด

4) ทาความสะอาด สื่อที่ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มย่อย (Bubble) ทุกประเภท ทุกชิ้น ฆ่าเชื้อ
ก่อน และหลังใช้ทุกวัน หากจาเป็นต้องใช้สื่อหมุนเวียน ไปในกลุ่มย่อย (Bubble)อ่ืนๆ ต้องทาความสะอาดฆ่า
เชอื้ ก่อนทุกคร้งั

5) ควบคุม สอนแนะนาให้เด็กล้างมือทุกคร้ัง ด้วยน้าสะอาดและสบู่ และเช็ดมือด้วยผ้าสะอาดแยก
รายบคุ คล หลังการทากิจกรรม รวมถึงครู/ผดู้ ูแลเดก็ ควรล้างมอื ดว้ ยน้าสะอาดและสบ่ดู ว้ ยเชน่ กนั
แนวทางการจดั กจิ กรรมให้กับเด็กปฐมวัย

27

6. การรบั ประทานอาหาร อาหารหลัก อาหารเสรมิ (นม) และอาหารวา่ ง
แนวทางปฏบิ ตั ิ

1. ผู้เตรยี มอาหาร
1.1 ล้างมือด้วยน้าสะอาดและสบู่ทุกคร้ังที่เตรียมอาหาร พร้อมสวมถุงมือและที่คลุมผมตลอดเวลา
ในการจัดเตรียมอาหาร
1.2 ทาความสะอาด ฆ่าเชื้อภาชนะท่ใี ส่อาหารก่อนนามาใชท้ ุกชิ้น และทกุ คร้ัง
1.3 จัดโต๊ะสาหรับน่ังทานอาหาร โดยแบ่งกลุ่มย่อย (Bubble) ให้มีระยะห่างรายบุคคล 1 – 2 เมตร
หรือหากมีข้อจากัดเร่ืองพื้นที่ ให้ทาฉากก้ันระหว่างเด็ก หรือสามารถจัดเวียนรับประทานอาหาร
เหล่ือมเวลาตามความเหมาะสม หากต้องใช้โต๊ะและเก้าอ้ีชุดเดิม ต้องทาความสะอาด ฆ่าเช้ือ
ก่อนเดก็ และครูคนใหมเ่ ข้ามานงั่ ทุกคร้ัง

2. คร/ู ผูด้ แู ลเดก็
2.1 ควบคุม สอนแนะให้เด็กล้างมือด้วยน้าสะอาดและสบู่ โดยให้มีระยะห่างรายบุคคล 1 – 2 เมตร
ก่อนรับประทานอาหารทุกครงั้
2.2 ควบคุม สอนแนะใหเ้ ดก็ ล้างมือ ล้างปาก และแปรงฟัน โดยให้มีระยะห่างรายบุคคล 1 – 2 เมตร
หลังจากรับประทานอาหารทกุ ครั้ง
2.3 ทาความสะอาดด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ หลังจากการใช้อ่างล้างมือ หรือแปรงฟัน ด้วยน้ายาฟอกขาว
ผสมน้าสะอาดตามสดั สว่ น ท่ีสขุ ภัณฑ์ทุกครั้ง และระวังอย่าให้เดก็ สัมผสั หากนา้ ยายงั ไม่แหง้ ดี
2.4 แนะนาผู้ปกครองของเด็ก ในการนาของใช้ส่วนตัวเด็กที่ต้องเตรียมมาใช้ในสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย เชน่ กระตกิ นา้ แปรงสฟี ัน ยาสีฟัน เป็นต้น

7. การนอนกลางวนั (คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ จดั เตรยี ม จดั การ)
แนวทางปฏบิ ตั ิ

1.จดั เตรียมพ้นื ทนี่ อนให้เด็กเป็นรายกลมุ่ ยอ่ ย (Bubble) โดยจดั ใหม้ ีระยะห่างรายบุคคลอยา่ งน้อย 1-
2 เมตร

2.จดั การแยกทนี่ อนของเดก็ ออกจากกนั กรณีเกบ็ ทน่ี อนของเดก็ รวมกันในต้เู ก็บของ ให้แยกเกบ็ ตาม
กลมุ่ ย่อย(Bubble) ทตี่ วั เองดูแล และไม่ใช้ท่ีนอนรว่ มกนั

3.ส่งคืนเครื่องนอน หมอน ผา้ หม่ ผา้ ปูทีน่ อน แก่ผู้ปกครองให้ทาความสะอาดเป็นประจาอย่างน้อย 2
คร้งั ตอ่ สปั ดาห์

4.(ข้อแนะนาหากทาได)้ วดั ไข้เด็กก่อนนอน หรือหลงั ต่นื นอน หากเด็กมีอุณหภูมติ ้ังแต่ 37.5 องศา
เซลเซียส ให้แยกเด็กไปห้องหรือมุมพยาบาล และรายงานผู้บริหาร พร้อมแจง้ ผูป้ กครองรับเดก็ ทนั ที

8. การใชห้ อ้ งนา้ และแปรงฟนั (ครู/ผดู้ แู ลเดก็ จดั เตรยี ม จดั การ)
แนวทางปฏบิ ตั ิ

1. อาบน้า และแต่งตัวให้เด็กเป็นรายบุคคล (คร้ังละ 1 คน) โดยจัดเป็นรอบตามกลุ่มกิจกรรมย่อย
(Bubble) จนครบทุกคน เสื้อผ้าใช้แล้ว ให้ใส่ถุงให้มัดปากถุงให้สนิท จัดเก็บในกระเป๋าให้เรียบร้อย และส่งคืน
ผา้ เช็ดตวั ของเด็กใหผ้ ู้ปกครองทาความสะอาดเป็นประจาทุกวัน หรอื อยา่ งน้อย 2 ครัง้ ตอ่ สัปดาห์

28

2. ทำความสะอาดด้วยน้ายาฆ่าเชื้อสาหรับสุขภัณฑ์ โดยใช้น้ายาฟอกขาวผสมน้าสะอาดตามสัดส่วน

ทาความสะอาดสขุ ภัณฑห์ ลงั จากเดก็ ขบั ถ่ายทุกครั้ง และระวงั อยา่ ให้เดก็ สมั ผสั สุขภัณฑ์ หากนา้ ยายังไม่แห้ง
3. ควบคุม สอนและควบคุมให้เด็กล้างมือด้วยน้าสะอาดและสบู่ทุกคร้ังที่ขับถ่าย และใช้ผ้าสะอาด

แยกเช็ดรายบุคคล หรือใช้กระดาษทิชชู และท้ิงทิชชูใช้แล้วใส่ภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด กรณีเด็กท่ีใช้ผ้าอ้อม
สาเร็จรปู เมอ่ื ใช้แลว้ ควรทงิ้ ใสภ่ าชนะทมี่ ีฝาปดิ มิดชดิ เพื่อปอ้ งกนั การกระจายของเชอื้ โรค

4. การจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ครู/ผู้ดูแลเด็กจัดให้มีกิจกรรมการแปรงฟันหลัง
อาหารกลางวันทุกวันอย่างสม่าเสมอ ควรแปรงฟันในบริเวณสาหรับแปรงฟันที่เหมาะสม เช่น ห้องน้า โดย
หลีกเลี่ยงการรวมกลุ่ม และต้องเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร ในการแปรงฟัน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของ
น้าลายละอองน้า หรือเช้ือโรคสู่ผู้อ่ืน กรณีห้องน้าแออัด ควรกาหนดให้เหล่ือมเวลาในการแปรงฟัน
ก่อนการแปรงฟันทุกครั้ง ให้ล้างมือด้วยสบู่และน้าเสมอ เป็นเวลาอย่างน้อย 20 วินาที หรือ เจลแอลกอฮอล์
ท่ีมีความเข้มข้น 70-74 % แต่หากมีความจากัดด้านสถานที่ ขอแนะนาการแปรงฟันทางเลือก คือ การแปรง
ฟนั ท่ีโต๊ะเรียนในหอ้ งเรยี น

หมายเหตุ : ยาสีฟันควรแยกเป็นของใช้สว่ นบุคคล ในกรณที ีใ่ ชเ้ ป็นของสว่ นรวม ให้ครู/ผู้ดแู ลเด็กบีบ
ยาสีฟนั ป้ายท่ปี ากแก้วทีล่ ้างสะอาด หรือ แก้วกระดาษ แลว้ ใหเ้ ดก็ ใชแ้ ปรงสีฟนั ปาดไปใช้ หรอื บบี ใส่ถาด
เปน็ จดุ ๆ ตามขนาด ตามปริมาณท่ีกาหนด เพื่อจะไม่ให้แปรงสฟี นั ของเดก็ แตล่ ะคนสมั ผสั ปากหลอดยาสีฟัน

5. ทาความสะอาดห้องน้า ห้องส้วม ด้วยน้ายาทาความสะอาดทั่วไป พ้ืนห้องส้วมให้ฆ่าเช้ือโดยราด
น้ายาฟอกขาวที่เตรียมไว้ตามทิ้งไว้อย่างน้อย 10 นาที เช็ดเน้นบริเวณท่ีรองนั่งโถส้วม ฝาปิดโถส้วม ท่ีกดชัก
โครก ราวจับ ลกู บิด หรอื กลอนประตู ที่แขวนกระดาษชาระ อ่างล้างมือ ก๊อกน้า ที่วางสบู่ ผนังซอกประตูด้วย
ผ้าชบุ น้ายาฟอกขาวทเี่ ตรียมไว้ หรอื แอลกอฮอล์ 70 % หรือไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5%

9. การฆา่ เชอ้ื และดแู ลความสะอาด (ผบู้ รหิ ารสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั & คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ )
แนวทางปฏบิ ตั ิ

ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และ ครู/ผู้ดูแลเด็ก ทาความสะอาดบริเวณสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
โดยเน้นบริเวณท่ีมีการสัมผัสหรือใช้งานร่วมกันบ่อยคร้ัง เช่น ปากกา ลูกบิดประตู รีโมทคอนโทรล โทรศัพท์
ปุ่มกดลิฟท์ ซึ่งเป็นพ้ืนผิวขนาดเล็ก บริเวณจุดสัมผัสของสนามเด็กเล่นทั้งภายในและภายนอกอาคาร สิ่งของ
เคร่ืองใช้ส่ือพัฒนาการเด็ก ยานพาหนะ ห้องน้า ห้องส้วมทาความสะอาดชุบน้ายาฟอกขาวท่ีเตรียมไว้
หรอื แอลกอฮอล์ 70 % หรอื ไฮโดรเจนเปอรไ์ ซด์ 0.5% เชด็ ทาความสะอาดและฆา่ เช้ือ อย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง
ตามคาแนะนากระทรวงสาธารณสุข ดังนี้

การทาความสะอาดตามคาแนะนาของกระทรวงสาธารณสขุ

1.จัดเตรียมอุปกรณ์ทาความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ายาทาความสะอาดหรือน้ายาฟอกขาว
อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้า ไม้ถูพ้ืน ผ้าเช็ดทาความสะอาด อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม
กับการปฏิบัตงิ าน อาทิ ถงุ มอื หน้ากากผ้า เสื้อผ้าท่ีจะนามาเปล่ียนหลังทาความสะอาด

2.เลอื กใช้ผลิตภณั ฑ์ทาความสะอาดพน้ื ผวิ ท่เี หมาะสม
- กรณีสิ่งของอปุ กรณ์เครื่องใช้ แนะนาให้ใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% ใน
การเชด็ ทาความสะอาด
- กรณเี ป็นพนื้ ที่ขนาดใหญ่ เช่น พื้นหอ้ ง แนะนาให้ใชผ้ ลติ ภณั ฑท์ ม่ี ีสว่ นผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ 0.1%
(น้ายาซกั ผ้าขาว) หรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5%

29

ตรวจสอบคุณลักษณะของน้ายาทาความสะอาดบนฉลากข้างขวดผลิตภัณฑ์ วันหมดอายุ
รวมถงึ พิจารณาการเลอื กใชน้ า้ ยา ข้ึนอยูก่ ับชนดิ พ้นื ผิววัสดุ เชน่ โลหะ หนงั พลาสติก

เตรยี มนา้ ยาทาความสะอาดเพื่อฆ่าเช้ือ ขึ้นอยู่กับชนิดและความเข้มข้นของสารที่เลือกใช้ โดยแนะนา
ให้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเช้ือที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกันในชื่อ “น้ายาฟอกขาว”) เนื่องจาก
หาซือ้ ได้งา่ ย โดยนามาผสมกับน้า เพอื่ ใหไ้ ดค้ วามเข้มข้น 0.1% หรือ 1000 ส่วนในลา้ นส่วน ดังน้ี

กรณี ผลิตภัณฑ์ มคี วามเขม้ ขน้ 2.54% ใหผ้ สม 40 มิลลลิ ิตร (2.8 ชอ้ นโตะ๊ ) : นา้ 1 ลิตร
กรณี ผลิตภัณฑ์ มีความเข้มข้น 5.7% ให้ผสม 18 มิลลลิ ติ ร (1.2 ชอ้ นโต๊ะ) : นา้ 1 ลติ ร
กรณี ผลิตภัณฑ์ มีความเข้มขน้ 5% ใหผ้ สม 20 มลิ ลิลิตร (1.3 ช้อนโตะ๊ ) : นา้ 1 ลติ ร
กรณี ผลติ ภัณฑ์ มีความเข้มขน้ 6% ใหผ้ สม 17 มลิ ลิลิตร (1.1 ชอ้ นโตะ๊ ) : น้า 1 ลติ ร
หรืออาจใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเช้ือท่ีมีส่วนผสมของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โดยนามาผสมกับน้า เพื่อให้ได้
ความเขม้ ข้น 0.5% หรอื 5000 ส่วนในลา้ นสว่ น ดังน้ี
กรณี ผลิตภัณฑ์ มีความเข้มข้น 5% ใหผ้ สม 110 มิลลิลติ ร (7.5 ช้อนโต๊ะ) : นา้ 1 ลติ ร
กรณี ผลิตภณั ฑ์ มคี วามเขม้ ขน้ 3% ใหผ้ สม 200 มิลลิลิตร (13.5 ชอ้ นโตะ๊ ) : น้า 1 ลิตร
3.สื่อสารให้ความรู้ขั้นตอนการทาความสะอาดที่ถูกต้อง เหมาะสม รวมท้ังแนะนาสุขอนามัยในการ
ดูแลตนเองกบั ผปู้ ฏิบตั งิ าน
4.ล้างมอื ดว้ ยสบู่และนา้ ก่อน – หลงั ทาความสะอาดทุกครัง้
5.สวมอปุ กรณป์ ้องกนั ตวั เองทุกครง้ั เม่ือต้องทาความสะอาดและฆ่าเชอ้ื
6.เปดิ ประตหู น้าต่าง ขณะทาความสะอาด เพ่อื ใหม้ กี ารระบายอากาศ
7.หากพ้ืนผิวสกปรก ควรทาความสะอาดเบื้องต้นก่อน เช่น นาผ้าชุบน้าเช็ดบริเวณที่มีฝุ่นหรือคราบ
สกปรก ก่อนทจ่ี ะใช้น้ายาทาความสะอาดเพ่ือฆา่ เช้ือ
8.ควรทาความสะอาดและฆ่าเชื้อท่ัวทั้งบริเวณ ก่อน – หลัง ใช้งานทุกครั้ง และเน้นบริเวณท่ีมีการ
สัมผัสหรือใช้งานร่วมกันบ่อย ๆ เช่น ลูกบิดประตู รีโมทคอนโทรล ปุ่มกดลิฟต์ ซ่ึงเป็นพ้ืนผิวขนาดเล็ก โดยนาผ้า
สาหรับเช็ดทาความสะอาดชุบน้ายาฟอกขาวที่เตรียมไว้ตามข้อ 2 หรือใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจน
เปอรอ์ อกไซด์ 0.5% เชด็ ทาความสะอาดและฆา่ เชื้อ
9.สาหรับพ้นื ใชไ้ มถ้ พู นื้ ชุบด้วยน้ายาฆ่าเชื้อท่ีเตรียมไว้ตามข้อ 2 เริ่มถูพ้ืนจากมุมหน่ึงไปยังอีกมุมหนึ่ง
ไมซ่ ้ารอยเดมิ โดยเรมิ่ จากบริเวณทีส่ กปรกน้อยไปมาก
10.การทาความสะอาดห้องน้า ห้องส้วม ด้วยน้ายาทาความสะอาดท่ัวไป พื้นห้องส้วมให้ฆ่าเชื้อโดยราด
น้ายาฟอกขาวท่ีเตรียมไว้ตามข้อ 2 ทิ้งไว้อย่างน้อย 10 นาที เช็ดเน้นบริเวณที่รองนั่งโถส้วม ฝาปิดโถส้วม
ที่กดชักโครก สายชาระ ราวจับ ลูกบิดหรือกลอนประตู ท่ีแขวนกระดาษชาระ อ่างล้างมือ ขันน้า ก๊อกน้า ที่วาง
สบู่ ผนัง ซอกประตู ด้วยผ้าชุบน้ายาฟอกขาวท่ีเตรียมไว้ตามข้อ 2 หรือใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจน
เปอรอ์ อกไซด์ 0.5%
11.หลังทาความสะอาด ควรซักผ้าเช็ดทาความสะอาดและไม้ถูพื้น ด้วยน้าผสมผงซักฟอกหรือน้ายา
ฆา่ เช้อื แลว้ ซักดว้ ยน้าสะอาดอกี ครั้ง และนาไปผง่ึ แดดให้แหง้
12.ถอดถงุ มอื แลว้ ลา้ งมอื ดว้ ยสบู่และน้า หากเปน็ ไปไดค้ วรชาระลา้ งร่างกายและเปล่ยี นเส้ือผ้าโดยเร็ว
หรอื รบี กลับบา้ นอาบนา้ ให้สะอาดทนั ที
13.บรรจุภัณฑ์ใส่น้ายาทาความสะอาด ควรคัดแยกออกจากขยะทั่วไป และท้ิงในถังขยะอันตราย
สว่ นขยะอ่นื ๆ เช่น หนา้ กากอนามัย ถงุ มือ รวบรวมและทง้ิ ขยะลงในถุงพลาสตกิ ถงุ ขยะซอ้ นสองชั้น มัดปากถุง
ใหแ้ น่นและนาไปทงิ้ ทนั ที โดยทง้ิ รวมกบั ขยะทว่ั ไป

30

ขอ้ ควรระวัง
1.สารที่ใช้ฆ่าเชื้อ ส่วนใหญ่เป็นชนิดสารฟอกขาว อาจก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง เน้ือเยื่ออ่อน

ควรระวงั ไม่ใหเ้ ขา้ ตาหรอื สัมผัสโดยตรง
2. ไมค่ วรผสมนา้ ยาฟอกขาวกับสารทาความสะอาดอืน่ ที่มีส่วนผสมของแอมโมเนยี
3. หลีกเลี่ยงการใช้สเปรย์ฉีดพ่นเพื่อฆ่าเช้ือ เน่ืองจากอาจทาให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโรคไม่ควรนา

ถุงมือไปใช้ในการทากิจกรรมประเภทอื่น ๆ ใช้เฉพาะการทาความสะอาดเท่านั้นเพื่อป้องกันการแพร่กระจาย
ของเช้อื

3. หลีกเลี่ยงการใชม้ ือสัมผัสบริเวณใบหน้า ตา จมูก และปาก ขณะสวมถุงมือและระหวา่ งการทาความ
สะอาด

รายการนา้ ยาฆา่ เชอื้ ในการทาความสะอาดจาแนกตามลกั ษณะพน้ื ผวิ

ลกั ษณะพนื้ ผวิ ชนดิ สารฆา่ เชื้อ ความ ระยะเวลา วธิ กี ารเตรยี ม
เขม้ ขน้ ทฆ่ี า่ เช้ือ
- พ้ืนผิวท่ัวไป พืน้ ผิวทีเ่ ป็นโลหะ แอลกอฮอล์ (เอทานอล ทฆ่ี า่ เช้อื
- ส่ิงของ อุปกรณ์ พืน้ ท่ขี นาด หรอื เอทิลแอลกอฮอล์) 70% 10 นาที
เลก็ เช่น ลกู บิดประตู
- พื้นผิวท่เี ป็นวสั ดุแขง็ ไม่มรี ู โซเดยี มโปคลอไรท์ 0.1% 5-10 นาที ผสม 1 ส่วน ต่อนา้ 49
พรุน เชน่ พ้ืนกระเบ้อื ง เซรามกิ (เช่น น้ายาฟอกขาว) ส่วน (เชน่ 1 ช้อนโต๊ะ
สแตนเลส แตไ่ ม่เหมาะกับ 0.5% ต่อน้า 1 ลิตร กรณี
พืน้ ผิวโลหะ ผลติ ภัณฑท์ ่ีใช้มคี วาม
เขม้ ข้น 6%)
- พน้ื ผวิ ทั่วไป (ไม่ใชโ่ ลหะหรือ ไฮโดรเจนเปอร์
ผลิตภณั ฑท์ ีม่ ีการเคลือบสี) ออกไซด์ 1 นาที ผสม 1 สว่ นตอ่ นา้ 5
สว่ น (เชน่ 13 ช้อน
โตะ๊ ต่อนา้ 1 ลติ ร
กรณีผลิตภัณฑ์ที่ใชม้ ี
ความเข้มข้น 3%)

31

บรรณานกุ รม

1.มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ nCRioNCo RCNdCAd (oA OCAoy Dsiodsood DCAR,
CRvRoopmRNRCo CNd OdV.CRioN sCioCNd./กรงุ เทพฯ หน้า 112 2562O Bn:978-616-395-986-7
2.Bubble แนวคิดในการดูแลตัวเองในชว่ งสถานการณก์ ารระบาดของโรคโควิด 19
https: // www.education.govt.nz/covid -19 / home- care - options –for-children – aged-14-of-
essential- workers/
https: // www .health. govt. nz. / our- work/ diseases- and- conditions/ covid-19- novel-
coronavirus/ covid-19- novel- coronavirus- information- specific- audiences/ covid-19- advice-
extending- your- bubble
https: // www. justice. govt. nz/ about/ news- and- media/ covid-19- news/ guidance- for-
managing- shared- custody/
https : // www. odt. co. nz/ star- news/ star- national/ how- far- can- you- extend- your-
bubble- alert- level-3
3.การเตรยี มความพร้อมเปิดสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ข้อมลู ณ วนั ที่ 20
พฤษภาคม

การลงทะเบยี นเรยี นดว้ ยตนเองและประเมนิ หลกั สตู ร

32


Click to View FlipBook Version