The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือยกระดับวิทยาศาสตร์ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2021-01-28 19:52:29

คู่มือยกระดับวิทยาศาสตร์

คู่มือยกระดับวิทยาศาสตร์ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

Keywords: การยกระดับผลการทดสอบระดับชาติ

1

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

2

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

คำนำ

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาแนวทางการยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการยกระ ดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น โดยเอกสารแนวทางการนิเทศนี้ประกอบไปด้วยสภาพทั่วไป ผลการ
วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของปีการศึกษา 2562 กระบวนการ
ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ าง การเรียนกลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

ขอขอบคุณคณะศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ที่ให้ข้อมูล
และร่วมกนั เสนอแนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์จนสำเร็จ
ลลุ ่วงไปดว้ ยดี ผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ใหส้ ูงขึ้นไดต้ ามเปา้ หมาย

กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพป.น่าน 1
พฤศจิกายน 2563

3

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

สารบัญ 4
5
คำนำ 6
สารบัญ 6
บทที่ 1 บทนำ
7
ความเป็นมาและความสำคัญ 10
วตั ถุประสงค์ 11
เป้าหมาย
ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 14

บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง 15
16
ตวั ช้วี ัดและสารการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ 22
ความสำคญั ของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 23
การดำเนนิ การเก่ียวกบั การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
แนวทางการดำเนินการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์

บทที่ 3 วิธีดำเนินการ

Flow chart กระบวนการดำเนนิ งาน
รายละเอยี ดกระบวนการดำเนินงาน

เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก

4

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

บทท่ี 1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กล่าวถึง

แนวการจัดการศึกษาในมาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของ
ผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปใน
กระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา ให้สถานศึกษาใช้
วิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อ และให้นำผลการประเมินผู้เรียนมาใช้
ประกอบการพิจารณาดว้ ย (สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2557, หนา้ 8-10)

รัฐบาลได้กำหนดนโยบายด้านการศึกษา โดยกำหนดเร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพิ่มผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนทุกระดับช้ันโดยวัดผลจากการผ่านการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติและนานาชาติขจัด
ความไม่รูห้ นังสือใหส้ ้ินไปจากสังคมไทย จัดให้มีครดู ีเพียงพอในทุกห้องเรียน เนื่องจากการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาเป็นกระบวนการที่จะช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาศักยภาพและความสามารถด้านต่างๆ ที่จะ
ดำรงชีวิต และประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุข จึงเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่า ประเด็นของ
“คุณภาพการศึกษา” เป็นประเด็นที่สำคัญที่สุดประเด็นหน่ึง ซึ่งสังคมไทยและกระทรวงศึกษาธิการกำลัง
ให้ความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ และพยายามพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาทุกแห่ง สถานศึกษา
จำเป็นต้องสร้างความเชื่อมั่นแก่สังคมว่าสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามที่สังคมคาดหวัง สามารถ
จัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและบรรลุตามมาตรฐานการศึกษาท่ี
กำหนดไว้

ปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ให้ความสำคัญในการยกผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นของนกั เรียนเป็นอย่างมากโดยได้กำหนดจดุ เน้นดา้ นผู้เรยี นว่า นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
ต้องมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ (O-NET) กลมุ่ สาระหลกั เพมิ่ ข้ึนเฉล่ียไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 3 (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2558ก, หน้า 40) นอกจากนี้สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานได้กำหนดประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาคุณภาพครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ด้วยการส่งเสริมการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้มีความสามารถทุกด้านอย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และส่งเสริม
ความก้าวหน้าของครู ให้มีวิทยฐานะที่สอดคล้องกับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรียนเปน็ เกณฑ์ในการ
ประเมินประสิทธิภาพและวิทยฐานะของผู้บริหารและครูด้วย ประกอบกับคณะกรรมการนโยบายปฏิรูป
การศกึ ษาในทศวรรษทส่ี อง (พ.ศ. 2552-2561) ไดก้ ำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ ตัวบง่ ชี้ และค่าเป้าหมาย
สำหรับการดำเนินงานด้านการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ในเป้าหมายยุทธศาสตร์ข้อ 1 คนไทยและ

5

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

การศึกษาไทยมีคุณภาพ ได้มาตรฐานระดับสากล ตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมายสำคัญข้อหนึ่ง คือ ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน ต้องมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า
ร้อยละ 50

แต่จากการประกาศผลสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน หรอื O-NET ชนั้ ประถมศึกษาปีที่
6 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ประจำปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการ
เรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นหนึ่งในส่ีกลุ่มสาระหลักท่ีมีการทดสอบประเมินผลระดับชาติพบวา่ มีค่าคะแนน
เฉลี่ย 36.09 สูงกว่าระดับประเทศ (35.55) แต่ก็ยังไม่ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำของการประเมินคือร้อยละ 50
นอกจากนี้ยังพบว่าในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่
29.86 ต่ำกว่าค่าเฉล่ียของระดับประเทศ (30.07) จึงทำให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน
เขต 1 มีความจำเป็นเร่งด่วน ที่จะยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน โดยได้กำหนดจุดเน้นด้าน
ผู้เรียน เป็นมาตรการเร่งรัดในด้านการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
เพื่อสอดคลอ้ งกบั จุดเน้นดา้ นผ้เู รียนของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้ดำเนินการขับเคลื่อนการยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์มาโดยตลอดโดยดำเนินการในมิติของการขับเคลื่อนด้วยกลุ่มโรงเรียนเป็นฐาน มอบนโยบาย
และวิธีการให้ศึกษานิเทศก์ และผู้รับผิดชอบขับเคลือ่ นการยกระดับผลสมั ฤทธิใ์ นระดับกลุ่มโรงเรียน และ
จากการขับเคลื่อนดังกล่าวพบว่าเกิดผลสำเร็จโดยในระดับกลุ่มโรงเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่ ม
สูงขึ้นถึง 16 กลุ่มจาก 18 กลุ่มโรงเรียน แต่ในมิติของกลุ่มสาระการเรียนรู้ยังไม่ประสบผลสำเร็จตาม
เป้าหมาย จึงมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการยกระดับผลสัมฤทธิ์โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ และเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายดังกล่าวสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต
1 จึงได้จัดทำแนวทางการนิเทศเพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อ
เป็นแนวทางในการนำไปใช้ขับเคลื่อนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ตอ่ ไป

2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างและพัฒนาแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์ ของสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1
2. เพื่อศึกษาผลการใช้แนวทางยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์ ของสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1
3. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้

วิทยาศาสตร์ของสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

6

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

3. เปา้ หมาย
เชิงปริมาณ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

ประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 เพิม่ ขึ้นจากปีการศึกษา 2562 ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 3
เชงิ คณุ ภาพ
นักเรียนในสังกัดได้รับการพัฒนาให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้

วิทยาศาสตร์ เพมิ่ ข้ึนจากปกี ารศึกษา 2562

ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
1. ผลการดำเนินงานทำให้ไดท้ ราบสภาพปจั จุบันและปัญหาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน
เขต 1

2. ได้กลยุทธ์ที่ประกอบดว้ ยมาตรการหรือกลวิธีในการปฏิบตั ิงานและตัวชีว้ ดั ในการนำไปบริหาร
จัดการโรงเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในรายกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยสามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาตนเองตลอดจนประยุกต์ใช้ได้กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้
อ่นื ๆ ได้อย่างเหมาะสม

3. สถานศึกษาอื่น ๆ สามารถนำแนวทาง วิธีการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไปเป็น
ข้อมูลสารสนเทศประกอบการตัดสินใจเพื่อประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่างมี
ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลได้

7

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

บทที่ 2

เอกสารท่เี กีย่ วข้อง

เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้องกับการดำเนนิ การยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกล่มุ สาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ มดี งั น้ี

1. ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
2. ความสำคัญของผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
3. การดาํ เนนิ การเก่ยี วกับยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
4. แนวทางการดำเนินการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

1. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนร้แู กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.

2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กำหนดสาระการเรียนรู้
ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระท่ี 3
วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี มีสาระเพิ่มเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา
สาระเคมี สาระฟสิ กิ ส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ซ่ึงองคป์ ระกอบของหลกั สูตรท้งั ในด้านของ
เนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในการ
วางรากฐานการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ให้มีความต่อเนื่องเช่ือมโยงกัน ตั้งแต่ช้นั
ประถมศึกษาปีท่ี 1 จนถึงชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 สำหรบั กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ได้กำหนดตัวชี้วัด
และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียนเป็นพื้นฐาน เพื่อให้สามารถนำความรู้นี้ไปใช้ใน
การดำรงชีวิตหรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรียงลำดับความยากง่ายของเนื้อหา
แต่ละสาระในแต่ละระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการ
เรยี นร้ทู ส่ี ่งเสรมิ ให้ผู้เรียนพฒั นาความคดิ ทั้งความคดิ เปน็ เหตุเป็นผล คดิ สร้างสรรค์ คดิ วิเคราะห์วิจารณ์ มี
ทักษะที่สำคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21ในการค้นคว้าและสร้าง
องค์ความรดู้ ้วยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สามารถแก้ปญั หาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้
ขอ้ มลู หลากหลายและประจกั ษพ์ ยานท่ตี รวจสอบได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการเชื่อมโยง
ความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบ
เสาะหาความรู้ และแก้ปญั หาที่หลากหลาย ให้ผ้เู รยี นมีส่วนรว่ มในการเรยี นรู้ทุกข้ันตอน มกี ารทำกิจกรรม
ด้วยการลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชัน้ โดยกำหนดสาระสำคญั ไดแ้ ก่

8

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

➢ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตการ
ดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทาง
ชีวภาพและวิวฒั นาการของสง่ิ มีชีวติ

➢ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการ
เคลื่อนท่ี พลังงาน และคลืน่

➢ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์
ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา
กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศ และผลต่อสิ่งมีชวี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม

➢ เทคโนโลยี

• การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อการ
ดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ
สิง่ แวดลอ้ ม

• วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกีย่ วกับ การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์
แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สาร ในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชีวิตจรงิ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์มีดงั น้ี
สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ
สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา
สิง่ แวดลอ้ มรวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและ
ออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน
สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้ง
นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

9

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมสาร
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ
ววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชีวิต รวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมบัติของ
สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของ
สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำตอ่ วัตถุ ลักษณะ
การเคลื่อนท่แี บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี
เกย่ี วข้องกบั เสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต แ ละการ
ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณพี บิ ัติภยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ัง
ผลต่อสิง่ มชี วี ิตและส่ิงแวดลอ้ ม
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอ่ ชีวติ สงั คม และส่ิงแวดล้อม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ข้ันตอนและเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหา
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ รเู้ ทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม

10

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

2. ความสำคัญของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
เป้าหมายสำคัญของการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 คือการ

ทำใหผ้ เู้ รยี นเปน็ มนุษย์ทีส่ มบูรณ์หรือเป็นคนท่ีมีคณุ ภาพทัง้ เก่ง ดีและมีความสุขในการเป็นพลเมืองไทยใน
อนาคต ซึง่ อาจแยกคุณภาพของคนออกเป็นสองส่วน สว่ นแรก คือ การทำใหผ้ เู้ รยี นเป็นคนเกง่ และเป็นคน
ดี ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ตั้งแต่ผู้เรียนยังอยูใ่ นระบบการศกึ ษา ส่วนที่สองคือ การทำให้ผู้เรยี นมีความสขุ
นั้น เปา้ หมายคือเม่อื จบการศึกษาแลว้ สามารถอย่รู ว่ มกบั ผู้อน่ื ในสงั คมได้อย่างมีความสุข ในการตรวจสอบ
ผลการศึกษาว่าเป็นไปตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาที่กำหนดไว้หรือไม่ ส่วนมีการดำเนินการอย่าง
ต่อเนื่อง ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การตรวจสอบในดา้ นทีเ่ รียกวา่ เก่ง ซึ่งดำเนินการในรูปแบบการทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งในรูปการสอนในโรงเรียน แต่ละโรงเรียนในลักษณะต่างคนต่างสอบจนถึง
การทดสอบระดับชาติที่ใชม้ าตรการในการวัดหรือแบบทดสอบเหมือนกันทัง้ ประเทศ ทำให้ทราบผลการ
จัดการศึกษาของผู้เรียนและในยุคโลกาภิวัตน์นี้ได้มีการกล่าวถึงความสามารถในการแข่งขันนั้นสามารถ
เพิ่มขึ้นได้ โดยระบบการศึกษาเพราะการศึกษาจะทำให้คนไทยมีคุณภาพมากขึ้น ดังนั้นในประเด็นของ
ความเก่งจึงยังคงเป็นทีย่ อมรับของประชาชนท่ัวไปว่าเป็นคุณสมบัติหนึ่งของคนไทยที่ต้องการให้มีการเร่ง
พฒั นาให้มากขึน้ เพอื่ นำไปสู่ความสามารถในการแข่งขันของคนไทยหรือของประเทศไทยในอนาคตดังน้ัน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งในการวัดผู้เรียนว่า ผลการเรียนของผู้เรียนเป็นไปตาม
เป้าหมายมากน้อยเพียงใด (กระทรวงศึกษาธิการ,2546:1-2) และจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 มาตรา 47 ไดก้ ำหนดให้มีระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาในทุกระดับและมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าเป็นการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเ ป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนับเป็น
ส่วนหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งการประเมินผลที่ดีสามารถบ่งบอกถึงผลการดำเนินงานได้
อย่างถูกต้อง บ่งบอกถึงระดับความมั่นใจและพึงพอใจของสถานศึกษาและชุมชนในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาและเป็นทยี่ อมรบั ของบุคลากรในชุมชนทัว่ ไป การวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนท่ีดี
กอ่ ให้เกดิ ผลดี คอื (นพิ ล พลกลาง,2549 : 14)

1.1 ทำให้สามารถเปรียบเทียบผลระหว่างสถานศึกษาภูมิภาคและรัฐได้อย่างสมเหตุสมผล
ประเมนิ ท้งั ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการตามหลักสตู รและความถนดั ทางการเรียน

1.2 ส่งเสริมและกระตุน้ ให้สถานศึกษาให้ความสนใจอยา่ งจริงใจในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทีส่ ำคัญ
ท่หี ลกั สูตรกำหนด

11

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

1.3 สามารถใช้ผลการประเมินให้เป็นประโยชน์ทั้งในระดับชาติ ระดับสถานศึกษาและระดับ
ผู้เรียนเปน็ รายบุคคล

1.4 สร้างแรงจงู ใจกระตุ้นและทา้ ทายให้ผู้เรียนทุกคนตัง้ ใจใฝห่ าสมั ฤทธิผ์ ล
2. การทดสอบทางการศกึ ษาระดับข้ันพื้นฐาน
หลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกำหนดให้มีการวัดผลการเรยี นรู้ของผู้เรียนไว้ 3 ระดบั คอื ระดับชั้น
เรียน ระดับสถานศึกษา และระดับชาติ ทั้งนี้เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพของผู้เรียน โดยในการวัดผลและประเมินผลระดับชั้นเรียนนั้น ถือ
เป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะต้องหาค าตอบว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ
คุณธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ อันเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมากน้อยเพียงใด
สว่ นการประเมนิ ผลระดบั สถานศึกษารวมถึงระดับชาตินน้ั ทำการประเมนิ ผลเพ่ือตรวจสอบความก้าวหน้า
ด้านการเรยี นรู้ของผู้เรยี นทุกคนท่ีเรยี นในชัน้ ปีสดุ ทา้ ยของทั้ง 4 ชว่ งชั้น ซง่ึ ประกอบดว้ ยนักเรียนชั้น ป.3
ป.6 ม.3 และชั้น ม.6 โดยมีการดำเนินการประเมินผลระดับสถานศึกษาจากหลายหน่วยงาน เช่น สำนัก
ทดสอบทางการศกึ ษา สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จำกัดหรือ สทศ.
เป็นต้น สำหรับการประเมินผลที่จัดขึ้นโดย สทศ. เรียกว่า “การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน
พื้นฐาน (Ordinary National Education Test)” หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า O-NET ซึ่งถือว่าเป็นการ
ทดสอบความรู้ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานที่สนองรับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่ไ ด้
กำหนดให้มีการทดสอบผลการเรียนรู้รวบยอดระดับชาติของกระบวนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานการจัด
สอบความรู้รวบยอดระดับชาติจัดเป็นภารกิจสำคัญที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การ
มหาชน) หรือ สทศ.เป็นผดู้ ำเนินการจัดสอบ O-NET ในช่วงชน้ั ที่ 2 ช่วงชัน้ ที่ 3 และชว่ งชั้นท่ี 4

3. การดาํ เนินการเกย่ี วกับยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
จันทนา นนทิกร (2551:106) ได้กล่าวไว้ว่า วิธีการจัดการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ดำเนินการใน 3 รูปแบบ คือรูปแบบที่ 1 การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชองนักเรียนให้สูงขึ้นตาม
เกณฑ์ที่คาดหวัง มีวิธีการดำเนินการโดย 1) การปรับเปลี่ยนท่าทีของครูในการจัดการความรู้ 2) การ
กำหนดเกณฑ์ที่คาดหวังการประเมินผล 3) การจัดกลุ่มผู้เรียนที่เหมาะสม 4) การกำหนดรูปแบบการ
พฒั นาการเรยี นรแู้ ละการจัดกิจกรรมรูปแบบที่ 2 การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนเพ่ือมุ่ง
สู่ความเป็นเลิศ 1) การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนพิเศษ 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมเพื่อ
ความเป็นเลิศรูปแบบที่ 3 การช่วยเหลือนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การจบหลักสูตรและลด 0 ร และ มส.1)

12

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

การดูแลใกล้ชิดเพื่อปรับพฤติกรรมและให้โอกาสนักเรียน 2) การเพิ่มพูนผลสัมฤทธิ์เพื่อให้ได้ตามเกณฑ์
การจบหลกั สูตร

จากแผนปฏิบัติราชการสี่ปี (พ.ศ.2555–2558) เพื่อการดำเนินการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนนั้น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ (2554: 4) ได้ดำเนินการ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ 6 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานทุกระดับตาม
หลกั สูตร และสง่ เสรมิ เทคโนโลยีเพือ่ เปน็ เคร่อื งมอื ในการเรยี นรู้ 2) ปลกู ฝงั คุณธรรม ความส านึกส านึกใน
ความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักสูตรปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3)ขยายโอกาสทางการศึกษา 4)
พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ 5) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตาม
แนวทางการกระจายอ านาจ เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 6) พัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัด
ชายแดนใต้

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 (2556:3) ได้ดำเนินการยกระดับ
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน โดยใชน้ โยบายการบรหิ ารและพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 4 ข้อ ได้แก่ 1) ส่งเสริม
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรมตามวิถีไทยเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และด ารงชีวิตอยู่
อย่างพอเพียง 2) ส่งเสริม พัฒนาครูละบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม
จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพและได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ 3) ส่งเสริม พัฒนาสถาบัน
สถานศกึ ษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา องคค์ ณะบุคคลและเครือขา่ ยให้มคี วามเข้มแข็ง โดยใช้หลักธรร
มาภิบาล การนิเทศแบบบูรณาการน าเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการ 4) ส่งเสริม
พฒั นาผู้เรียน ครแู ละบคุ คลากรทางการศกึ ษาสคู่ วามเปน็ ผู้นำประชาคมอาเซยี น

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 ( 2556 : 5) ได้ดำเนินการ
ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้ยทุ ธศาสตร์ 3 ส 2 ซ ได้แก่ 1) การบริหารคุณภาพการจัดกิจกรรม
การสอน การซ่อนเสริม การซ้อมเพื่อให้เกิดทักษะ การสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เปรยี บเทียบและการสร้างผลงานเพอ่ื น าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน 2) การจัดกจิ กรรมเพื่อการเพ่มิ ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนตามเป้าหมายหรือพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับชาติ 3) การสร้างทัศนคติที่ดีของครู
นักเรียน และพ่อแม่ ผู้ปกครอง อันส่งผลทำให้ทุกคนสามารถใช้ศักยภาพของตนเองเต็มตามธรรมชาติและ
เต็มศักยภาพจากที่กล่าวมาจะเห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถของนักเรียนในด้านต่างๆ
ซงึ่ เกดิ จากนกั เรียนได้รบั ประสบการณจ์ ากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครตู ้องศกึ ษา

หลักการในการวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน แนวทางในการวัดและประเมินผล การสร้างเครื่องมอื
วัดให้มีคุณภาพการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา Empowerment Evaluation เป็น
แนวคิดในการพัฒนาทมี่ ุงหวังใหองคกรหรือบุคลากร ในองคกรสามารถชี้นำตนเอง (Self-Directing) หาก

13

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

นำแนวคิดนี้เขาสู่กระบวนการบริหารเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษาจะชวยให
สถานศึกษาเกดิ การพัฒนาแบบยงั่ ยนื ในอนาคต

สุพักตร พิบูลย (2552) ได้นำเสนอแนวปฏิบัติที่สำคัญ ๆ ในกระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น ดงั น้ี

ขั้นที่ 1 Taking Stock ตรวจสอบสภาพปัจจุบันเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือผลการ
ประเมินคุณภาพโรงเรียน เพื่อวิเคราะหวาโรงเรียนเรามีคุณภาพมากนอยเพียงใดเปนการวิเคราะห์และ
จัดทำ Baseline เชน พิจารณาจากผลการสอบ O-NET ผลการประเมินของ สมศ.

ขนั้ ท่ี 2 Setting Goal กำหนดเปาหมายความสำเร็จ
ขน้ั ที่ 3 Developing Strategies and Implementing พฒั นากลยทุ ธแล้วนำกลยทุ ธส่กู ารปฏบิ ตั ิ
ข้ันที่ 4 Documenting Progress ประเมินรวบรวมเอกสารหลักฐานทแ่ี สดงถึงความกา้ วหน้าของ
งานตามเป้าหมาย การดำเนินการในทุกขั้นตอนเน้นการมีส่วนร่วมของคณะครู บุคลากรในโรงเรียนและ
ผ้เู กย่ี วขอ้ ง
ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2539 : 30-36) ได้นำเสนอบทสังเคราะห์องค์ประกอบทางการศึกษาท่ี
สัมพันธ์กับกำหนดประสิทธผิ ลของโรงเรียนจากการศกึ ษาและวิเคราะหก์ ารวจิ ัยจำนวน 5 เรื่อง สรุปได้วา่
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ อัตราการเลื่อนชั้นและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนั กเรียนมี 5
องคป์ ระกอบคอื
1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับครู ประกอบด้วย (1.วุฒิและประสบการณ์ในการสอน 2.ทัศนคติของ
ครตู ่อนักเรยี น 3.การใชเ้ วลาของครู และ 4.เทคนิคในการสอน)
2. องค์ประกอบเกี่ยวกับนักเรียน ประกอบด้วย (1.เพศของนักเรียน 2.การมาเรียนของนักเรยี น
และ 3. พ้ืนความรู้เดมิ )
3. องค์ประกอบเกี่ยวกับสภาพของโรงเรียน ประกอบด้วย (1.ขนาดของโรงเรียน 2.สภาพทาง
ภมู ศิ าสตร3์ .ระยะทางจากบา้ นถึงโรงเรียน 4.อตั ราสว่ นของครตู อ่ ห้องเรียน 5.อัตราสว่ นของครูต่อนักเรียน
6.อุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอน และ 7.สงั กัดของโรงเรียน)
4. องค์ประกอบเกยี่ วกับผ้ปู กครอง ประกอบดว้ ย (1.อาชีพของผ้ปู กครอง 2.ทัศนคตติ อ่ การศึกษา
และอนาคตของบตุ ร 3.สภาพเศรษฐกจิ ทางบ้าน 4.ความอบอ่นุ ในครอบครัว)
5. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับชุมชน ประกอบด้วย (1.สาธารณูปโภค 2.ความสัมพันธ์ระหว่างชมุ ชน
กับโรงเรยี น)

14

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

4. แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
จากการศึกษาเอกสารดังกล่าวจึงนำมาสังเคราะห์และสรุปเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการ

ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ดงั นี้
1. ศึกษาสภาพปัจจุบัน โดยศึกษาและวิเคราะห์ผลจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
O-NET วิเคราะห์และสรุปสาระ มาตรฐาน พรอ้ มทงั้ ศกึ ษาเชงิ ลกึ รายโรงเรียน
2. สร้างความตระหนัก รับรู้ และวางแผนการพัฒนาร่วมกันทั้งโรงเรียน โดยสร้างความเข้าใจ
และรับรู้ร่วมกันของครูผู้สอนในโรงเรียนทุกคน พร้อมทั้งวางแผนหาแนวทางร่วมกันในการ
ขับเคลอื่ นการยกระดับผลสัมฤทธ์ิของแต่ละโรงเรียน กำหนดปฏทิ นิ การปฏิบตั ิงานของแต่ละ
รายการ
3. ลงมือปฏิบัติ และนิเทศติดตาม ดำเนินการตามแผนการที่ได้ออกแบบและดำเนินการตาม
ปฏทิ ิน แต่งตัง้ คณะกรรมการนเิ ทศตดิ ตาม
4. ตรวจสอบซ้ำ สะท้อนผลและหนุนเสริมพัฒนา ดำเนินการทดสอบซ้ำ วิเคราะห์ผล และเติม
เตม็ จดุ ทีค่ วรพัฒนาจากผลการทดสอบซำ้
5. ศึกษา วิเคราะห์ผล ถอดบทเรียน ดำเนินการวิเคราะห์ผลจากการทดสอบ ถอดบทเรียน
ความสำเร็จ ศกึ ษาปญั หา อุปสรรค จัดทำรายงานผลและเผยแพร่

15

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

บทที่ 3
วธิ ดี ำเนนิ การ

การขบั เคลื่อนการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์มี
กระบวนการนเิ ทศ ติดตาม การดำเนินงานดังนี้

1. Flow Chart การดำเนินงาน

การยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั

สรา้ งความตระหนกั รบั รูร้ ว่ มกนั

วางแผนการพฒั นา ปรบั ปรุงพฒั นา

ลงมือปฏบิ ตั ิและนเิ ทศตดิ ตาม
ตรวจสอบซา้ สะทอ้ นผลและหาทางหนนุ เสรมิ พฒั นา

ตรวจสอบซา้ สะทอ้ นผล หาทางหนนุ เสริม ปรบั ปรุงพฒั นา
พฒั นา

หนนุ เสรมิ พฒั นาและลงมอื ปฏิบตั ิ

ศกึ ษาวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบ และถอดบทเรยี น

แนวทางการขบั เคลอ่ื นการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

16

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

2. รายละเอียดกระบวนการดำเนนิ งาน
1. ศึกษาสภาพปัจจบุ ัน
1.1 ศึกษาสภาพปัจจบุ นั /ปัญหา จากผลการทดสอบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดับชาติ

O-NET กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
1.2 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์จากการทดสอบระดับชาติ O-NET รายข้อ โดยใช้ Print out

ฉบับที่ 3 รายโรงเรียน (ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ละข้อ สำหรับโรงเรียน) โดยผลการวิเคราะห์
ระดับเขตพื้นทีม่ ดี ังน้ี

ขอ้ ชุดท่ี (เลขค)ี่ ขอ้ ชุดคู่ (เลขค่)ู คะแนน คะแนน
100 300 500 200 400 600 รวม เฉลย่ี
18 31.9 29.41 26.96
1 28.52 30.45 30.07 19 44.8 43.1 44.71 195.31 32.55
2 49.46 53.63 50 20 27.7 34.48 34.93 304.7 50.78
3 37.91 39.93 36.86 21 13.98 15.17 18.09 231.81 38.64
4 12.64 9.69 13.18 22 32.62 29.86 28.77 103.75 17.29
5 41.88 37.37 35.81 23 56.27 60.34 54.61 228.31 38.05
6 63.18 61.94 62.16 24 31.18 33.79 32.65 381.5 63.58
7 29.24 29.76 31.19 25 47.67 50 42.66 211.81 35.30
8 50.18 47.4 47.97 26 40.14 43.79 39.59 310.88 51.81
9 50.9 50.52 50.34 13 14.7 19.31 18.03 301.28 50.21
10 13.72 12.85 14.86 14 17.56 15.17 14.97 106.47 17.75
11 15.16 17.01 14.19 15 24.01 22.76 22.11 108.06 18.01
12 28.52 25.95 27.03 16 34.77 34.14 32.65 165.38 27.56
13 33.94 38.06 35.81 17 64.87 63.45 60.88 225.37 37.56
14 66.06 63.67 68.24 6 44.09 41.18 45.58 404.17 67.36
15 44.04 46.02 44.26 7 25.45 30 26.53 271.17 45.20
16 33.21 28.72 32.43 8 32.97 37.72 35.71 183.34 30.56
17 44.4 33.91 37.5 9 34.17 35.52 35.37 230.21 38.37
18 44.4 38.75 39.86 237.07 39.51

17

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

19 23.1 23.88 26.35 10 25.09 20 28.57 156.99 26.17
20 36.82 42.21 42.57 11 40.14 43.1 38.44 254.28 42.38
21 36.1 33.56 39.86 12 38,71 34.14 39.12 194.78 32.46
22 15.16 10.73 11.49 1 10.04 11.38 7.82 67.62 11.27

ขอ้ ชดุ ที่ (เลขค)่ี ขอ้ ชดุ คู่ (เลขคู)่ คะแนน คะแนน
100 300 500 200 400 600 รวม เฉล่ยี
2 43.68 39.1 34.13
23 36.46 34.6 37.16 3 75.27 70 68.03 227.13 37.86
24 62.32 63.32 62.84 4 27.24 27.93 27.21 404.78 67.46
25 27.8 27.34 36.82 5 29.75 30.45 29.59 178.34 29.72
26 24.91 28.72 27.36 28 31.18 30.45 36.18 175.78 29.30
27 40.07 39.45 36.15 27 11.11 10.73 10.24 241.48 40.25
28 12.64 14.19 9.8 95.71 15.95

ข้อสอบข้อทน่ี ักเรียนสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 ทำได้น้อย

เรยี งลำดับไดด้ ังนี้

ขอ้ ท่ี ขอ้ ท่ี คะแนนเฉล่ีย
ลำดับ ฉบับค่ี ฉบับคู่

1 22 1 11.27

2 28 27 15.95

34 21 17.29

4 10 13 17.75

5 11 14 18.01

6 19 10 26.17

7 12 15 27.56

8 26 5 29.30

9 25 4 29.72

18

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

ข้อท่ี ข้อที่ คะแนนเฉลย่ี
ลำดับ ฉบบั ค่ี ฉบับคู่
10 16
11 21 7 30.56
12 1 12 32.46
13 7 18 32.55
14 13 24 35.30
15 23 16 37.56
16 5 2 37.86
17 17 22 38.05
18 3 8 38.37
19 18 20 38.64
20 27 9 39.51
21 20 28 40.25
22 15 11 42.38
23 9 6 45.20
24 2 26 50.21
25 8 19 50.78
26 6 25 51.81
27 14 23 63.58
28 24 17 67.36
3 67.46

1.2.1 จบั คขู่ ้อสอบของแบบทดสอบฉบบั คี่และฉบับคู่
1.2.2 แต่ละโรงเรยี นดำเนินการวิเคราะห์ผลสอบโดยดูทลี ะข้อตามตัวอย่างการวเิ คราะห์
ขา้ งบน

19

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

1.2.3 สรุปและเรยี งลำดับรายขอ้ ทโ่ี รงเรียนมีปัญหา หรอื นักเรยี นทำไดน้ ้อย ทำไดไ้ มต่ รง

ตามเป้าหมาย

1.2.4 ย้อนกลบั ดขู ้อสอบรายขอ้ ตามท่ีเป็นปญั หาของแตล่ ะโรงเรียน ศกึ ษาสภาพและ

ลักษณะของข้อสอบ

1.2.5 จดั ทำและดำเนินการให้ครอบคลุมจัดทำเป็นสารสนเทศของโรงเรียนในรายกลมุ่

สาระวิทยาศาสตร์

1.2.6 ศึกษา Test blueprint ของปีการศกึ ษา 2563 เชน่

สาระวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ ว 1.2

ตัวชีว้ ัด รายละเอียดตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง รูปแบบขอ้ สอบ

ป 4/1 บรรยาย หนา้ ทข่ี องราก ลำต้น ใบ และดอก สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ดอกทำ 4 ตัวเลือก 1 คำตอบ 2

ของพชื ดอก โดยใช้ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ หนา้ ท่ีแตกต่างกนั ฯ ขอ้ และ เลือกตอบ

ป 6/1 ระบสุ ารอาหารและบอกประโยชนข์ อง เชงิ ซ้อน 1 ข้อ

สารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารทต่ี นเอง

รับประทาน

ป 6/2 บอกแนวทางในการเลือกรบั ประทานอาหารให้

ได้สารอาหารครบถว้ น ในสดั สว่ นที่เหมาะสม

กบั เพศและวัย รวมทัง้ ความปลอดภัยต่อ

สุขภาพ

ป 6/3 ตระหนักถงึ ความสำคัญของสารอาหารโดย

เลือกรับประทานอาหารท่มี สี ารอาหาร

ครบถ้วนในสัดส่วนทเ่ี หมาะสมกับเพศและวยั

รวมทง้ั ปลอดภัยต่อสุขภาพ

ป 6/4 สรา้ งแบบจำลองระบบย่อยอาหาร และ

บรรยายหนา้ ท่ีของอวยั วะในระบบย่อยอาหาร

รวมทั้งอธบิ ายการย่อยอาหารและการดูดซมึ

สารอาหาร

ป 6/5 ตระหนักถึงความสำคญั ของระบบยอ่ ยอาหาร

โดยการบอกแนวทางในการดแู ลรกั ษาอวยั วะ

ในระบบย่อยอาหารใหท้ ำงานเป็นปกติ

20

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

ตวั อยา่ งการเชือ่ มโยงสู่การออกแบบกิจกรรมการเรยี นร้ใู นหอ้ งเรยี น

ตัวช้ีวัด การออกแบบกิจกรรม การวัดและประเมนิ ผล

ป.6/2 1. ตรวจสอบความเขา้ ใจนร.

บอกแนวทางในการ ตง้ั โจทย์ใหน้ ักเรยี นเลือกทาน 2. ทดสอบซำ้ จากแบบทดสอบในข้อสอบ ONET ใน

เลือกรับประทาน อาหาร 1 อย่าง แล้วให้นักเรยี น เรอ่ื งท่เี ก่ียวขอ้ งกับมาตรฐาน และตวั ชีว้ ดั น้นั เชน่

อาหารใหไ้ ด้ อธิบายวา่ ในอาหารท่รี บั ประทาน

สารอาหารครบถว้ น มสี ารอาหารอะไรบา้ ง ในวยั ของ

ในสัดส่วนทเ่ี หมาะสม นักเรียนควรได้รบั ปริมาณเท่าไหร่

กับเพศและวัย รวมทัง้ และมคี วามเหมาะสมปลอดภัย

ความปลอดภยั ต่อ หรือไม่

สขุ ภาพ

ป6/4 ใหน้ กั เรียนวาดภาพ เขียน สร้าง

สร้างแบบจำลอง หรือเขียนสรปุ การย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร และ ของตนเองทรี่ ับประทานใน 1 มอ้ื

บรรยายหน้าท่ีของ (ข้าวผดั หมู)

อวยั วะในระบบยอ่ ย - ขา้ วเร่ิมยอ่ ยท่ีไหน ดดู

อาหารรวมทัง้ อธิบาย ซมึ ไปใช้ที่อวัยวะใด

การย่อยอาหารและ - เน้อื หมู ยอ่ ยทไ่ี หน

การดูดซึมสารอาหาร - ไขมันย่อยที่ไหน

1.2.7 เชอ่ื มโยงสาระการเรียนรทู้ เ่ี ปน็ ปญั หากบั Test blueprint ของปีการศึกษา 2563

ดำเนินการจนครบทุกสาระและมาตรฐานโดยอาจจะเรม่ิ จากสาระและมาตรฐานท่ีมผี ลการ

ประเมนิ ตำ่ และเป็นปญั หาของโรงเรยี นทัง้ จากผลการสอบในปีท่ีผ่านมา หรอื ผลการ Pre test

2. สร้างความตระหนัก รับรู้ และวางแผนการพฒั นาร่วมกันทง้ั โรงเรยี น
1. นำเสนอผลการวเิ คราะหผ์ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ให้กบั

ครูผูส้ อนในโรงเรยี นรับทราบ ทงั้ น้ีจาก Test Blueprint จะเหน็ วา่ ในบางตัวชว้ี ดั จำเป็นต้องทบทวน
เน้ือหาตง้ั แตร่ ะดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4,5 จึงตอ้ งสร้างความตระหนักและความเขา้ ใจร่วมกันระหวา่ ง
ครผู สู้ อนในช้ันอน่ื ๆ ดว้ ย

2. กำหนดค่าเป้าหมายรว่ มกันในการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นคือ เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 3
จากปีการศกึ ษา 2562

21

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

3. แต่งตั้งคณะทำงานระดับโรงเรียน/กลุ่มโรงเรียน ประชุมคณะทำงานของโรงเรียน/กลุ่ม
โรงเรียน ร่วมนำผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ วิเคราะห์ปัญหามากำหนดเป็นแนวทางการพัฒนา กำหนด
เป้าหมายการพัฒนา และการกำหนดงบประมาณ ในการดำเนินการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่ม
สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

4. จัดทำปฏิทินการขับเคลื่อนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ของกลุม่ โรงเรยี น

3. ลงมอื ปฏิบตั ิ และนเิ ทศติดตาม
1. แตง่ ตง้ั คณะนิเทศติดตามการดำเนินการในระดับโรงเรยี น/ กลมุ่ โรงเรียน ไดแ้ ก่ ประธานกลมุ่

โรงเรยี น/ผอ.โรงเรียน/คณะกรรมการนเิ ทศ/ครวู ชิ าการหรืออนื่ ๆ
2. กระตนุ้ และเสรมิ สร้างความตระหนักอยา่ งตอ่ เน่ืองให้กบั ครผู ู้สอน โดยคณะทำงานฝา่ ยบริหาร

และฝ่ายวิชาการของโรงเรยี น
3. ดำเนินการนเิ ทศติดตาม และหนุนเสริมเตมิ พลังอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
4. สะท้อนผลและช่นื ชม หนุนเสริมให้กำลงั ใจ พรอ้ มทั้งเติมเตม็ แนวทางการดำเนินงานใน

ระดบั ช้ันเรียน
5. เตมิ ความรู้เพ่ิมเตมิ ตามสภาพปญั หาความตอ้ งการพัฒนา ขยายผลการนำหลักสตู รระดบั ช้นั

เรยี นสู่การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ชวนครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ตามสภาพปัญหาท่คี ้นพบ
6. ปรบั รปู แบบและกระบวนการวัดผล พร้อมท้งั นำผลการวัดมารประเมนิ ผล ปรับปรงุ และพฒั นา

ตามผลการประเมนิ อย่างตอ่ เนือ่ ง ในชัว่ โมงเรียนปกติในชน้ั เรียน

4. ตรวจสอบซำ้ สะท้อนผลและหนนุ เสริมพฒั นา
1. ดำเนินการสอบจัดสอบ Pre O-NET, Pre NT รายโรงเรยี น
2. วิเคราะห์ผลการสอบ Pre O-NET, Pre NT รายกลุ่มโรงเรียนและรายโรงเรียนร่วมกันรายข้อ

รายมาตรฐาน รายสาระ เพอ่ื ตรวจสอบสาระและมาตรฐานท่นี กั เรยี นต้องได้รบั การเติมเตม็ อย่างเร่งด่วน
3. นำมาตรฐาน สาระ ที่เป็นปัญหา มาออกแบบกิจกรรมสำหรับพัฒนาอย่างเร่งด่วน อาจ

ดำเนินการในรูปแบบค่ายวิชาการ เฉพาะเรื่องที่เป็นปัญหา หรือจัดทำนวัตกรรมที่ตอบสนอง/แก้ปัญหา
เฉพาะเรื่อง เช่น จัดทำคลังข้อสอบเรื่อง พลังงาน (รวบข้อสอบเรื่องพลังงาน 10 พ.ศ. เป็นต้น) พร้อมทั้ง
เฉลยแบบละเอียด มาใช้ในการสอนเสริมใหก้ บั นกั เรียน)

22

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

4. สร้างความคุ้นเคยให้กับนักเรียนโดยการจำลองสถานการในการทดสอบเสมือนจริง และ
ทดลองทำแบบทดสอบ กระดาษคำตอบ โดยใช้ระยะเวลาตามที่กำหนดในปฏิทินการทดสอบ เพื่อสร้าง
ความคุ้นเคยและฝกึ นักเรยี นใหว้ างแผนในการทำแบบทดสอบให้ทนั ตามกำหนดเวลา

5. กระต้นุ ให้ครูเสริมสร้างกำลงั ใจให้กับนักเรยี น เพ่ือใหน้ กั เรียนเห็นความสำคัญของการทดสอบ
และสรา้ งสร้างแรงบนั ดาลใจในการสอบใหก้ ับนกั เรยี น

5. ศกึ ษา วเิ คราะห์ผล ถอดบทเรยี น
1. นำผลการประเมินจาก สทศ. มาศึกษาร่วมกัน โดยการวิเคราะห์ผล ศึกษาจากแบบทดสอบ

Print out ทกุ ฉบับ ประชุมและสะท้อนผลการสอบ O NET, NT
2. ร่วมกันวิเคราะหแ์ ละคน้ หาปัญหา อุปสรรคของแต่ละโรงเรียนท่ีทำให้ไม่บรรลตุ ามเป้าหมาย

ท่ีกำหนดไว้ พร้อมทงั้ หาแนวทางการปรับปรงุ และพฒั นาจากการนำผลการทดสอบมาใช้
2. ประกาศยกย่อง เชิดชูเกียรติโรงเรียนที่รว่ มกันดำเนินการขับเคลื่อนการยกระดับผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิควิธีการดำเนินการของแต่ละ
โรงเรียน พร้อมทั้งถอดบทเรียนความสำเร็จของการดำเนินการ สรุปเป็นแนวทางการขับเคลื่อนการ
ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

4. จัดทำเป็นข้อมูลสารสนเทศเผยแพร่ “แนวทางการนิเทศเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ สพป.น่าน เขต 1”

23

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

เอกสารอา้ งองิ

จันทนา นนทกิ ร. (2552).ระบบเรียนรู้ :การยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน.กรุงเทพฯ :มลู นธิ ิ
สถาบันวิจยั และพฒั นาการเรียนร.ู้

ใจทิพย์ เชือ้ รตั นพงษ.์ (2539).การพฒั นากลกั สตู ร : หลักแนวการปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์อสนิ เพรส.

นิพล พลกลาง. (2549). ปจั จัยที่สง่ ผลต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
โรงเรยี นสงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ปีการศึกษา 2549.
วทิ ยานพิ นธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัยนเรศวรพิษณโุ ลก.

สุพกั ตร พบิ ลู ย. (2552). การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศึกษา : Empowerment
Approch. (Online) https://www.gotoknow.org/posts/29859. เขา้ ถึงเมื่อ 15
พฤศจิกายน 2563

สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.(2552ข). รายงานการวิจัย เรือ่ ง สภาพปัญหาและ
แนวทางแก้ปญั หาการจัดการเรยี นการสอนทส่ี งผลตอการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นในระดับ
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจำกดั ว.ี ที.ซ.ี คอมมวิ นิเคชั่น.

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน. (2560). ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุม่ สาระ
การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั
พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย
จำกดั

สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1. (2563). รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดับชาติประจำปีการศกึ ษา 2562. น่าน : กล่มุ นิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสมี า เขต 3 . (2556). แผนปฏบิ ตั กิ าร ปีงบประมาณ
2556.นครราชศรีมา : สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 3.

24

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

ภาคผนวก

เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการนเิ ทศไดแ้ ก่
1. กิจกรรมคน้ หามาตรฐานและตัวช้วี ดั ท่ตี อ้ งแก้ไข
2. กจิ กรรมค้นหาเนือ้ หาสาระการเรยี นรู้ท่ตี อ้ งแกไ้ ข
3. กรรมวเิ คราะห์หาสาเหตขุ องปญั หาและกำหนดแนวทางการแกไ้ ขปญั หาของแต่ละสถานศึกษา
(พจิ ารณาจากสภาพบริบทต่างๆของสถานศึกษา)
4. กจิ กรรมวเิ คราะหข์ ้อสอบรายข้อ
5. กจิ กรรมศึกษาแผนผงั โครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ไปยังสถานศึกษา เพ่ือใหว้ ิเคราะห์
ตัวชวี้ ดั ท่ใี ช้ออกข้อสอบ และวางแผนการเรยี นการสอนเตรียมความพร้อมในการสอบ
6. แบบนิเทศการขบั เคลือ่ นการดำเนนิ งานยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์
7. สภาพปจั จบุ ันของแตล่ ะโรงเรียนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์วเิ คราะห์จากผลการทดสอบ
ระดบั ชาติ ONET ปีการศึกษา 2562
8. ตวั อย่างการเชื่อมโยงตวั ช้วี ัดท่ีเปน็ ปญั หาสูก่ ารออกแบบ วางแผน และเขียนแผนการจดั การ
เรียนรู้ในช้นั เรียนส่กู ารออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นห้องเรยี น
9. ตวั อย่างแบบทดสอบวทิ ยาการคำนวณ

10. Test Blueprint ปกี ารศกึ ษา 2563 การทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน
https://www.niets.or.th/th/catalog/view/212

25

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

กจิ กรรม : คน้ หามาตรฐานและตัวชี้วดั ทต่ี ้องแก้ไข
การวเิ คราะหม์ าตรฐานท่ีตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น

มาตรฐานการเรียนรทู้ โี่ รงเรียนควรเรง่ พัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลยี่ ของโรงเรียนตำ่ กว่าคะแนนเฉล่ีย

ระดับประเทศไดแ้ ก่

1.) มาตรฐาน ว 1.2 อิงเกณฑ์ (คะแนนเฉลีย่ น้อยกวา่ ร้อยละ 50)
2.) มาตรฐาน ว 2.2

3.) มาตรฐาน ว 3.1

4.) มาตรฐาน ว 6.1

5.) มาตรฐาน ว 7.1

อิงกลุ่ม
สรปุ
มาตรฐานการเรียนรูท้ ่โี รงเรียนควรเรง่ พัฒนา ได้แก่

1. ……………………………………………………………………
2. ……………………………………………………………………
3. ……………………………………………………………………

26

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

กิจกรรม :ค้นหาเน้อื หาสาระการเรยี นรูท้ ีต่ อ้ งแกไ้ ข
การวเิ คราะหส์ าระท่ีตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น

สาระที่โรงเรียนควรเรง่ พัฒนาเน่ืองจากคะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี นต่ำกวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศได้แก่

1. ดาราศาสตร์และอวกาศ อิงเกณฑ์ (คะแนนเฉล่ยี นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50)
2. กระบวนการเปลีย่ นแปลงของโลก

3. สารและสมบัตขิ องสาร องิ กล่มุ

สรปุ
สาระการเรยี นรูท้ ี่โรงเรยี นควรเร่งพฒั นา ได้แก่

1. ……………………………………………………………………
2. ……………………………………………………………………
3. ……………………………………………………………………
4. ……………………………………………………………………

27

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

กิจกรรม: วเิ คราะห์ข้อสอบรายข้อ
ตวั อย่าง

การวเิ คราะห์ข้อสอบรายข้อที่ตอ้ งปรับปรุงเรง่ ด่วน

1. จับคขู่ อ้ สอบระหวา่ งชดุ ท่ี 1 และชดุ ที่ 2 (ข้อมูลการจบั คู่ตามรายละเอียด)
ขอ้ ข้อ ขอ้ ข้อ ข้อ ขอ้
คี่ คู่ ค่ี คู่ ค่ี คู่
1 18 11 14 21 12
2 19 12 15 22 1
3 20 13 16 23 2
4 21 14 17 24 3
5 22 15 6 25 4
6 23 16 7 26 5
7 24 17 8 27 28
8 25 18 9 28 27
9 26 19 10
10 13 20 11

28

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

2. เรยี งลำดบั ค่าคะแนนเฉลี่ยจากน้อยไปมาก ขอ้ ท่ี คะแนนเฉล่ยี
ฉบบั คู่
ข้อท่ี
ลำดับ ฉบบั คี่

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ข้อสอบข้อใดต้องปรับปรุงเรง่ ด่วนเปน็ อันดบั แรก ระดับช้นั เรยี น

ขอ้ สอบท่ตี ้องปรับปรุงเรง่ ด่วน ตวั ชี้วดั ท่ีนำมาออกข้อสอบ และรายละเอียดตวั ชี้วดั
1.

2.
3.

4.

** หมายเหตุ ข้อสอบชุด 100,300,500 เป็นข้อสอบชดุ เดียวกัน
ข้อสอบชดุ 200,400,600 เปน็ ข้อสอบชดุ เดียวกนั

29

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

กจิ กรรม : ศกึ ษาแผนผังโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ไปยังสถานศึกษา เพื่อให้
วเิ คราะหต์ วั ช้ีวดั ทีใ่ ช้ออกข้อสอบ และวางแผนการเรยี นการสอนเตรยี มความพร้อมในการสอบ

มาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั ระดับช้นั รูปแบบข้อสอบ นำ้ หนักคะแนน

มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั ทเ่ี ปน็ ปัญหาของโรงเรยี น คะแนน
แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนเพือ่ พัฒนาตาม

มาตรฐานและตัวช้ีวัด

30

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

แผนการขับเคลือ่ นการนเิ ทศติดตาม ประเมินผลการจดั การศึกษา

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั ที่ Test Blueprint แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียน ผู้รบั ผิดชอบ/สอน
ระดับชัน้
เปน็ ปญั หาของ เพื่อพฒั นาตามมาตรฐานและตัวชว้ี ัด

โรงเรียน ในห้องเรียน

31

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

แบบนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการขบั เคลือ่ นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

โรงเรยี น........................................................อำเภอ.............................................
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

ผนู้ ิเทศ .......................................................................................................................................................
ผู้รบั การนเิ ทศ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครผู สู้ อนรายวชิ า  บคุ คลอื่นๆ

ช่ือ......................................................................................................................... ........................
ชื่อ...................................................................................................... ...........................................
ชือ่ ......................................................................................................................... ........................
คำชแี้ จง
1. แบบนิเทศ ติดตามการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนนี้ เป็นการนิเทศ ติดตามเพื่อยกระดับ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของโรงเรียน
ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา น่าน เขต 1 แบ่งเป็น 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 การ
ดำเนินการเกี่ยวกับข้อมูลสารสนเทศและการนิเทศติดตามการปฏิบัติงาน / การปฏิบัติงานเพื่อพัฒนา
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ตอนท่ี 2 ข้อมูลเพม่ิ เติม
2. เกณฑ์การประเมินตามรายการทกี่ ำหนดในตาราง และบนั ทกึ การนิเทศ ตดิ ตาม โดยพิจารณา
แหลง่ ขอ้ มลู หลกั ฐาน รอ่ ยรอย / เกณฑก์ ารประเมิน สรปุ ระดบั คณุ ภาพการประเมินมี 5 ระดบั ดงั น้ี

ระดับ 5 หมายถงึ กระบวนการปฏิบัตดิ ำเนินการได้มากทีส่ ุด
ระดับ 4 หมายถงึ กระบวนการปฏบิ ตั ิดำเนินการไดม้ าก
ระดับ 3 หมายถึง กระบวนการปฏบิ ตั ดิ ำเนนิ การไดร้ ะดบั ปานกลาง
ระดับ 2 หมายถงึ กระบวนการปฏบิ ตั ดิ ำเนนิ การได้พอใช้
ระดบั 1 หมายถงึ กระบวนการปฏิบัตดิ ำเนินการได้นอ้ ยทสี่ ุด
3. ขอบขา่ ยของการนเิ ทศตดิ ตาม ดำเนนิ การนิเทศติดตามกล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ผู้นิเทศติดตาม ได้แก่ คณะกรรมการนิเทศติดตามแต่ละกลุ่มโรงเรียน ประกอบด้วยรอง
ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก์ประจำกลุ่มโรงเรียน/โรงเรียน ประธานกลุ่มโรงเรียน และ
หรือหัวหน้าวิชาการกลุ่มโรงเรียน วิธีการดำเนินการนิเทศตดิ ตาม สามารถดำเนินการนิเทศตดิ ตามได้โดย
ใช้เทคนคิ วธิ ีการต่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม

32

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

ตอนท่ี 1 การนเิ ทศตดิ ตามการปฏิบตั งิ าน / การปฏิบตั ิงานเพื่อพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ท่ี ประเด็นการติดตาม ตรวจสอบ นเิ ทศ ไม่ปฏิบตั ิ (การปฏบิ ัติ) ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ/ร่องรอย
12345 หลกั ฐาน

1 มีการขับเคลื่อนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เพื่อการดำเนินการเกี่ยวกับการ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้
กระบวนการ PLC เพื่อนำผลจากการ
แลกเปลี่ยนเรียนรูม้ าใช้ในการปรับปรุง
กิจกรรมการเรยี นการสอน

2 มกี ารวเิ คราะห์ข้อมลู หาปญั หา สาเหตุ
และวิธีการพัฒนาจากผลการสอบ
ทดสอบระดับชาติ(O-NET) กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แล้วนำมา
กำหนดแนวทางพัฒนาการเรียนการ
สอนในระดับห้องเรยี น

3 มีการวิเคราะห์ข้อมลู หาปญั หา สาเหตุ
และวิธีการพัฒนานักเรียนรายบุคคล
และคดั กรองนกั เรยี น

4 มีรายงานผลความก้าวหน้าในการ
พฒั นาผ้เู รียนรายคน /กลุ่ม /หอ้ งเรยี น

5 มีแนวทางการดำเนินงานอย่างชัดเจน
เช่นมีการวางแผนการยก ร ะดับ
ผลสัมฤทธิ์ /โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน O-NET กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์

33

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

ที่ ประเด็นการติดตาม ตรวจสอบ นเิ ทศ ไม่ (การปฏบิ ตั )ิ ระดบั คุณภาพ ขอ้ เสนอแนะ/ร่องรอย
ปฏบิ ัติ 1 2 3 4 5 หลักฐาน

6 มีการวิเคราะห์หลักสูตร แผนการจัดการ
เรียนรู้ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์

7 มีการผลิตสื่อ และใช้สื่อ/นวัตกรรม วิธี
สอนเพื่อซ่อมจุดอ่อน และเสริมจุดเด่นใน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่ม
สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

8 มีการดำเนินการวางแผนการแก้ปัญหาอย่าง
เป็นระบบ ค้นหาปัญหา หาแนวทางในการ
แก้ไข ดำเนินการทดลองแก้ไข และพัฒนา
จนประสบผลสำเร็จเพื่อแก้ปัญหาการเรียน
การสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี น (การดำเนนิ การวจิ ยั ในชน้ั เรยี น)

9 มีการวัด/ประเมินผลตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ ตัวชี้วัดตามแนวขอ้ สอบของ สทศ.
เครื่องมือวัดและประเมินผลระหว่างเรียน
เพื่อพัฒนาผู้เรียน และเครื่องมือที่ใช้วัดมี
มาตรฐาน

10 มีการสอนซ่อมเสริม ติวเตอร์(Tutor)
ให้แก่นักเรียนอย่างทั่วถึงและเต็มตาม
ศักยภาพนอกเหนือจากเวลาเรียน
ตามปกติ เช่น การสอนเสริมนอกเวลา /
การจัดค่ายวิชาการ

34

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

ท่ี ประเดน็ การติดตาม ตรวจสอบ นเิ ทศ ไม่ (การปฏบิ ัต)ิ ระดบั คุณภาพ ข้อเสนอแนะ/ร่องรอย
ปฏบิ ัติ 12345 หลกั ฐาน

11 สถานศึกษามกี ารจัดทำคลังข้อสอบหรือมี
ข้อสอบที่ได้มาตรฐานสำหรับให้นักเรียน
ได้ฝึกทำข้อสอบอย่างเพียงพอ/
หลากหลาย และมีการดำเนินการจัดเก็บ
หลากหลายช่องทางทั้งเอกสาร และ
ระบบออนไลน์

12 มีกระบวนการสร้างความตระหนักให้กับ
นักเรียน เพื่อให้เห็นความสำคัญของการ
สอบวดั ผลระดับชาติกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์

13 มีการกำหนดค่าเป้าหมาย(คะแนนเฉลี่ย)
ความสำเร็จ และสื่อสารสร้างความเข้าใจ
ให้กับครูผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผู้
ท่ีมสี ว่ นเก่ียวข้องทราบ

14 การสร้างเครือข่ายประสานความร่วมมือ
เช่นครูผู้สอนสาระอื่นๆ ผู้ปกครอง หรือ
ชมุ ชน ในการแก้ไขปญั หาการจดั การเรียนรู้

15 มีกระบวนการนิเทศ กำกับ ติดตาม และ
ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ด ำ เ น ิ น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ
ผ ล ส ั ม ฤ ท ธ ิ ์ ท า ง ก า ร เ ร ี ย น อ ย ่ า ง เ ป็ น
รูปธรรม โดยกำหนดเป็นปฏิทิน หรือ
แผนงานการนเิ ทศตลอดปกี ารศึกษา

16 ดำเนินการจัดทำข้อมูลสารสนเทศการ
ข ั บ เ ค ล ื ่ อ น ก า ร ย ก ร ะ ด ั บ ผ ล ส ั ม ฤ ท ธิ์
ท า ง ก า ร เ ร ี ย น ก ล ุ ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ ร ี ย น รู้
วทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งเป็นระบบ

35

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

ตอนท่ี 3 ขอ้ มูลเพ่ิมเติมอนื่ ๆ
1.สภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการอื่นๆเพ่ิมเตมิ
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
........................................................................................................................................ ..............................
2. ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
........................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................................... ..................................................................

ลงชื่อ....................................................ผู้นเิ ทศ
ตำแหน่ง....................................................

36

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

ตวั อยา่ งการเชอื่ มโยงตัวชี้วัดทเี่ ป็นปัญหาสู่การออกแบบ วางแผน และเขยี นแผนการจัดการเรียนร้ใู น
ชั้นเรยี นสู่การออกแบบกิจกรรมการเรียนร้ใู นห้องเรียน
ตวั ชีว้ ัดทเ่ี ป็นปัญหา

ป 6/4 สร้างแบบจำลองระบบย่อยอาหาร และบรรยายหนา้ ที่ของอวยั วะในระบบย่อยอาหาร
รวมทง้ั อธบิ ายการยอ่ ยอาหารและการดดู ซมึ สารอาหาร

วิเคราะห์ตัวชี้วดั

K P A
1. ระบบย่อยอาหารระบบย่อย สร้างแบบจำลอง -Creativity and Innovation
อาหาร บรรยายหนา้ ที่ -Collaboration, Teamwork and
2. การยอ่ ยอาหาร อธิบายการย่อยอาหาร Leadership
3. การดูดซมึ สารอาหาร -Communications, Information, and
Media Literacy
-Compassion

สาระสำคญั
ระบบยอ่ ยอาหาร ทำหน้าทีย่ ่อยอาหารให้เป็นสารอาหารขนาดเล็กแลว้ จะถูกดูดซึมเขา้ สู่ระบบ

หมนุ เวยี นเลอื ด แก๊สออกซิเจนทไี่ ดจ้ ากระบบหายใจจำใหส้ ารอาหารเกดิ การเปลี่ยนแปลงจนกลายเปน็
พลังงานท่รี ่างกายนำไปใช้ได้
จุดประสงค์

1. สรา้ งแบบจำลองระบบยอ่ ยอาหาร และบรรยายหน้าท่ีของอวยั วะในระบบย่อยอาหาร
อธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหารได้

2. มที ักษะการคดิ สร้างสรรค์ การทำงานเป็นทีม มที ักษะในการสอ่ื สาร และมวี ินัยใฝ่เรยี นรู้ มี
คุณธรรมจริยธรรม

ขั้นตอนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
1. ขนั้ กระตุน้ ความสนใจ (Engagement)
กระตนุ้ ดว้ ยแผนภาพหรือรปู ภาพอาหาร หรือสอบถาม
- นักเรยี นรบั ประทานอาหารอะไรในมื้อเชา้
- อาหารที่รับประทานประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง และมปี ระโยชนต์ ่อรา่ งกายอยา่ งไร
- เรามแี รงในการเดิน การออกกำลงั กาย เราได้พลังงานหรือกำลังงานมาจากไหน

37

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

- แล้วอาหารท่ีเรารบั ประทานกลายเปน็ กำลงั งานให้เราได้อย่างไร
2. ขั้นขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration Phase)

- นกั เรียนรวมกลุม่ กันออกแบบศกึ ษาคน้ ควา้ เกยี่ วกบั “อาหารทเี่ รารับประทานหายไป
ไหน”
- กระบวนการท่ที ำให้อาหารกลายเป็นสารอาหารทีร่ ่างกายนำไปใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ อยา่ งไร
3. ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation Phase)
- นกั เรยี นดูวดี ีทัศน์เกย่ี วกบั ระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์ จาก Youtube หรือแหล่งเรยี นรอู้ ืน่

https://www.youtube.com/watch?v=rSs_qe5TVWY

ครูตง้ั คำถามกระตุ้นความคิดเพอื่ ให้นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายระบบยอ่ ยอาหารมีความสำคญั
อยา่ งไรต่อการดำรงชวี ติ
- ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภปิ รายเพม่ิ เตมิ เสนอแนะเพื่อใหไ้ ด้ข้อสรปุ ที่ถูกต้อง เช่น

- ลกั ษณะการยอ่ ยเชิงกลเปน็ อย่างไร อวยั วะใดมีการย่อยเชิงกล การยอ่ ยเชิงเคมี
เปน็ อย่างไร และอวัยวะใดมีการยอ่ ยเชิงเคมี

- อาหารแตล่ ะประเภทมาจากไหน (ทวนความรเู้ ดิม เชอ่ื มสู่ความรใู้ หม่)
คารโ์ บไฮเดรตมาจากไหน ถูกยอ่ ยทใี่ ด ดว้ ยเอนไซมใ์ ดและเกิดสารโมเลกุลเล็กใดบ้าง

- โปรตนี มาจากไหน ถูกย่อยที่ใด ด้วยเอนไซมใ์ ดและเกิดสารโมเลกลุ เล็กใดบา้ ง
- ไขมนั ถูกยอ่ ยทีใ่ ด ดว้ ยเอนไซม์ใดและเกิดสารโมเลกลุ เล็กใดบา้ ง
- เหตุใดกระเพาะอาหารจึงมีการสรา้ งกรดเกลือ - นำ้ ดมี หี นา้ ท่อี ะไร
- เม่อื อวัยวะตา่ งๆ ยอ่ ยสารอาหารจากโมเลกลุ ใหญ่ให้กลายเป็นสารอาหารโมเลกลุ
เล็กรา่ งกายจะสามารถดดู ซมึ ไดอ้ ย่างไร
- ระบบย่อยอาหารมีความสำคญั อยา่ งไร
4. ขั้นขยายความคดิ (Elaboration Phase)
- นักเรียนดภู าพโครงสร้างของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร โดยครตู งั้ คำถามกระตนุ้ ให้
นกั เรียนร่วมกัน อภปิ ราย เช่นอาหารท่ีกินเข้าไปจะผา่ นไปตามอวยั วะใดบ้าง (ปาก คอหอย หลอดอาหาร
กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ) - อาหารท่สี ่งต่อไปยังอวยั วะส่วนตา่ งๆ นนั้ มกี ารเปล่ียนแปลง
อยา่ งไร (จากขนาดใหญ่เปล่ียนเปน็ ขนาดเล็ก)
- นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกแบบนำเสนอระบบการย่อยอาหารใหเ้ ป็นรปู ธรรม เช่น สรา้ ง
แบบจำลองการย่อยอาหาร
- นำเสนอแบบจำลองการยอ่ ยอาหาร

38

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

5. ข้ันประเมินผล (Evaluation Phase)
- ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจจากการตอบคำถาม และการนำเสนอแบบจำลองระบบย่อย

อาหาร
- ตรวจสอบความรู้ความเขา้ ใจเพ่ิมเตมิ โดยการนำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธร์ิ ะดับชาตมิ า

เป็นเครือ่ งมือ
6. ขนั้ นำความรู้ไปใช้ (Extension Phase)
- นกั เรียนเลือกรบั ประทานอาหารให้มีคุณคา่ ต่อรา่ งกาย และอธิบายการเปลีย่ นรูปอาหาร
จากทร่ี บั ประทานเป็นสารอาหารที่รา่ งกายนำไปใช้

สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้
1. วดิ โี อระบบยอ่ ยอาหาร https://www.youtube.com/watch?v=rSs_qe5TVWY
2. สรุประบบย่อยอาหาร http://anyflip.com/qwvqf/wsrl

การวัดและประเมินผล
1. การตอบคำถาม การทำแบบฝึกหดั
2. การนำเสนอผลผลติ ชิ้นงาน

เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล
1. แบบฝึกหดั
2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธร์ิ ะดบั ชาติ

ตวั อย่างแบบฝึกหัด
(ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าท่แี ละการทำงานของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร)

จงนำตวั อักษร ทแี่ สดงอวัยวะตา่ งๆ ของระบบย่อยอาหารของมนุษย์ เตมิ ลงในช่องว่าง
หนา้ ขอ้ ความท่ีมีความสัมพนั ธ์กัน อาจตอบได้มากกว่าหนึง่ คำตอบ

……….. 1. มีเซลลส์ ร้างเมอื ก กรดไฮโดรคลอรกิ และเพปซโิ นเจน
……….. 2. เปน็ สว่ นของทางเดินอาหาร ท่ีมที ่อเปดิ จากตบั ออ่ นและทอ่ นำ้ ดี
……...... 3. เปน็ บริเวณทสี่ ว่ นใหญ่ทำหนา้ ท่ีดดู ซึมนำ้ วติ ามนิ และธาตอุ าหาร
……….. 4. สร้างสารทีท่ ำใหล้ พิ ิดแตกตัว เปน็ หยดเลก็ ๆ
…….….. 5. สรา้ งเอนไซม์ยอ่ ยอาหารทุกประเภทและสรน้างสารที่มฤี ทธ์เิ ป็นเบส

39

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

ตวั อย่างแบบทดสอบจากระดบั ชาติ

แนวขอ้ สอบท่ีเก่ียวกับการเลือกรับประทานอาหาร หรือการทานอาหารให้ได้สัดส่วนที่เหมาะสม

40

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

41

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

เมื่อวางแผนและออกแบบการจดั การเรียนรเู้ รยี บร้อยแล้ว นำข้อมูลมาเขยี นแผนการจดั การ
เรียนรสู้ ำหรบั นำไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในระดบั ชั้นเรยี นต่อไป

42

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

ตัวอยา่ งแนวข้อสอบวิทยาการคำนวณ
ตัวชวี้ ัด
ป.4 ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหาการอธบิ าย การทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธจ์ ากปญั หา
อย่างงา่ ย
ป.5 ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปญั หาการอธิบาย การทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหา
อย่างง่าย
ป. 6 ใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหาที่พบในชีวิตประจำวนั
พิจารณารูปภาพตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคำถาม

บอยอาศัยอยู่ทจ่ี งั หวัดเพชรบรณู ต์ อ้ งการเดินทางไปจังหวัดเชียงราย บอยควรเลือกเส้นทางใดจึงจะใช้
เวลานอ้ ยทีส่ ุด กำหนดให้การเดินทางทุกเสน้ ทางใชร้ ถทม่ี ีความเร็วคงทเี่ ท่ากนั ทุกเส้นทาง
ก. เดินทางผ่านจงั หวัดพษิ ณโุ ลก จากนั้นเดนิ ทางต่อจนถงึ จังหวดั เชียงราย
ข. เดนิ ทางผา่ นจังหวัดพษิ ณโุ ลก จากนัน้ ไปทางจังหวดั พจิ ติ ร ผา่ นจงั หวัดลำปางและเดนิ ทางตอ่
จนถงึ จังหวัดเชียงราย
ค. เดนิ ทางผา่ นจงั หวัดพษิ ณุโลก จากนน้ั ไปทางจังหวดั นา่ นและเดินทางตอ่ ไปจนถงึ จังหวดั เชียงราย
ง. เดนิ ทางผา่ นจงั หวดั พษิ ณุโลก จากนนั้ ไปทางจังหวดั พิจติ ร เดนิ ทางผ่านจังหวัดแพร่และเดนิ ทาง
ตอ่ ไปจนถึงจังหวดั เชยี งราย

เฉลยและแนวคดิ
ก. เดนิ ทางผ่านจงั หวัดพิษณุโลกจากน้นั เดินทางต่อจนถึงเชียงราย ระยะทางรวม

43

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

450 กโิ ลเมตร
ดจู ากระยะทางตามแผนท่ีแล้วนำระยะทางในแตล่ ะจงั หวัดมารวมกนั จะได้ระยะทางรวมดังน้ี
ข. เดนิ ทางผา่ นจงั หวัดพิษณุโลกไปทางจงั หวดั พิจิตรเดนิ ทางผ่านจังหวดั ลำปางและเดินทางต่อ

จนถึงจังหวัดเชียงราย ระยะทางรวม 1,080 กโิ ลเมตร
ค. เดินทางผ่านจังหวัดพิษณโุ ลกไปทางจงั หวดั น่านและเดินทางต่อไปจนถึงจงั หวัดเชยี งราย

ระยะทางรวม 670 กโิ ลเมตร
ง. เดนิ ทางผ่านจังหวัดพษิ ณโุ ลกไปทางจงั พจิ ติ รจากนนั้ เดินทางผา่ นจังหวดั แพร่และเดินทาง

ตอ่ ไปจนถึงจังหวัดเชียงราย ระยะทางรวม 930 กิโลเมตร

พจิ ารณาขอ้ มลู รอบฉายภาพยนตร์ของโรงภาพยนตร์แหง่ หนง่ึ ต่อไปน้ี แล้วตอบคำถามข้อ 10 - 11

เวลา รายชือ่ ภาพยนตร์

9.00 – 10.00 น. ฟ้าฝากรัก

10.30 – 11.30 น. มหาสงครามลา้ งโลก

12.00 – 13.30 น. รกั ล้นๆคนเตม็ บ้าน

13.30 – 14.30 น. ขอรอรักดว้ ยหัวใจ

15.00 – 17.00 น. ลิขิตรักละลายใจ

17.30 – 18.30 น. รักลน้ ๆคนเตม็ บ้าน

19.00 - 21.00 น. มหาสงครามลา้ งโลก

ปเู ป้เลิกเรยี นเวลา 15.30 น.จงึ ไปหาคุณแม่ทท่ี ำงานและรอคุณแม่เลิกงานเวลา 16.00 น. เพือ่ ไปชม

ภาพยนตร์

ท่โี รงภาพยนตร์ซงึ่ อยู่ห่างจากที่ทำงานของคณุ แม่โดยใชเ้ วลาเดนิ ทาง 20 นาที ปูเป้และคุณแมส่ ามารถชม

ภาพยนตรเ์ ร่อื งใดโดยใช้เวลารอน้อยท่สี ดุ และไดช้ มภาพยนตร์เต็มเร่ือง

ก. ลขิ ิตรักละลายใจ

ข. ขอรอรักดว้ ยหัวใจ

ค. มหาสงครามล้างโลก

ง. รักล้น ๆ คนเตม็ บา้ น

เฉลย

ง. รกั ล้น ๆ คนเตม็ บ้าน

44

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

จากข้อมูลปูเป้และคุณแม่จะเดินทางถึงโรงงานภาพยนตร์ในเวลา 16.20 น. ดังนั้นภาพยนตร์ที่เข้า
ฉายรอบต่อไป คือเวลา 17.30 น. ซง่ึ จะฉายภาพยนตรเ์ ร่อื ง รกั ลน้ ๆ คนเตม็ บา้ น

ตัวชว้ี ัด
ป.4 ใช้อินเทอรเ์ น็ตคน้ หาความรู้และประเมินความนา่ เชื่อถือของข้อมลู
ป.5 ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตคน้ หาข้อมูล ตดิ ต่อส่อื สารและทำงานรว่ มกนั ประเมินความน่าเช่ือถือของขอ้ มลู
ป.6 ใช้อินเทอร์เน็ตในการคน้ หาขอ้ มูลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

20. นกั เรยี นจะเลือกลบ หรอื ตอบกลับอเี มลฉบับใด เพราะเหตใุ ด

[email protected] [email protected]

ถึง คณุ โบว่ี ถงึ อญั ชลี
เราพบปัญหาบญั ชเี งนิ ฝากของ พ่ปี ระจกั ษ์ฝากมาถามวา่
คณุ โปรดไปยงั ตู้ ATM ท่ใี กล้ สบายดไี หม เป็นอยา่ งไรบา้ ง
ท่สี ดุ แลว้ ติดตอ่ มาท่เี บอร์ ดว้ ยรกั
หญิงพลอย
xx-xxxxxxxxxx

ทีมงาน The Smart email

ก. เลอื กลบขอ้ ความจาก The Smart email เพราะ ขอ้ มูลเก่ียวกับบญั ชเี งนิ ฝากควรตดิ ตอ่ กบั
ธนาคารโดยตรงไม่ควรปฏบิ ัตติ ามขอ้ ความใน e-mail

ข. เลอื กตอบกลับขอ้ ความจาก The Smart email เพราะ เปน็ ข้อมลู สำคญั และรีบดำเนนิ การ
ตามขอ้ ความใน e-mail

ค. เลอื กลบข้อความจาก [email protected] เพราะ เป็นขอ้ ความคนทีไ่ มร่ ู้จกั
ง. เลือกตอบกลบั ท้ัง 2 ขอ้ ความ เพราะ เปน็ มารยาทในการติดต่อสื่อสาร
เฉลย

ก. เลือกลบข้อความจาก The Smart email เพราะ ข้อมูลเกี่ยวกับบัญชีเงินฝากควรติดต่อ
กับธนาคารโดยตรงไม่ควรปฏิบตั ิตามข้อความใน e-mail เพราะขอ้ ความท่ีสง่ จาก e-mail ที่เราไม่รู้จัก
และเป็นข้อความที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนตัวถือว่าเป็นข้อความที่ไม่ปลอดภัย ควรตรวจสอบก่อนการ
ดำเนินการตามข้อความนั้นๆ เพือ่ ความปลอดภัย

45

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

ตวั ชวี้ ัด
ป.4 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายโดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รอื สอื่ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข
ป.5 ออกแบบและเขียนโปรแกรมทม่ี ีการใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะอยา่ งง่าย ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดและแกไ้ ข
ป.6 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวนั ตรวจหาข้อผิดพลาดของ
โปรแกรมและแก้ไข

ครูวิชยั ต้องการเขยี นโปรแกรมการตัดสินผลคะแนนสอบ ถา้ นักเรยี นไดค้ ะแนนมากกวา่ 50 คะแนน
ตดั สนิ ว่าผา่ น ถา้ ได้คะแนนนอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากับ 50 ตัดสินวา่ ไมผ่ า่ น ชุดคำส่งั ในข้อใดถูกต้อง
ก. ข.

ค. ง.

เฉลย ข.
ข้อ ข. ถกู เพราะ บลอ็ กคำสง่ั if-else จะใชใ้ นการทำงานแบบมีทางเลือก เมอ่ื นักเรยี นทีไ่ ดค้ ะแนน

นอ้ ยกวา่ หรือเท่ากับ 50 จะสอบไม่ผา่ น และนกั เรียนที่ได้คะแนนมากกวา่ 50 สอบผา่ น

46

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

ตัวชวี้ ัด

ป.4 รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศโดยใช้ซอฟตแ์ วร์ทห่ี ลากหลายเพื่อแกป้ ัญหาใน
ชวี ติ ประจำวนั
ป.5 รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศตามวตั ถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รอื บรกิ ารบน
อินเทอรเ์ นต็ ทห่ี ลากหลายเพ่ือแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวนั
ป.6 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกนั อยา่ งปลอดภยั เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ทข่ี องตน เคารพในสทิ ธิ
ของผู้อนื่ แจง้ ผ้เู กยี่ วข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม

นักเรยี นคนใดเลือกใช้ซอฟต์แวร์ ได้เหมาะสมน้อยท่ีสดุ
ก. สาวิตรีใช้ Microsoft Word สร้างและตกแต่งรูปถา่ ยเพ่ือจัดทำปกรายงาน เพราะสะดวกและ

งา่ ย
ข. วิจติ รา ใช้ Page Maker เป็นในการออกแบบ เขยี นแบบวาดภาพจดั ทำส่งิ พมิ พ์ เพื่อนำเสนอ
ค. อรนลิน ใช้ Microsoft PowerPoint เตรียมนำเสนอข้อมูลจากการไปศกึ ษาคน้ ควา้
ง. สุดาพร ใช้ Microsoft Excel สรา้ งตาราง การคำนวณ และรายงานผลออกมาเปน็ กราฟข้อมูล

นำ้ หนักสว่ นสูงของนกั เรียนในห้อง
เฉลย ก.

เพราะโปรแกรม Microsoft Word คือโปรแกรมประเภท word processor ที่ใช้เหมาะสำหรับ
การพิมพร์ ายงาน พมิ พจ์ ดหมาย หรอื จะใชส้ ำหรับการจัดทำจัดพิมพง์ านอ่นื ๆ

ตัวช้วี ัด
ป.4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เขา้ ใจสิทธิและหน้าทีข่ องตน เคารพในสทิ ธขิ องผู้อ่ืนแจ้ง
ผเู้ กี่ยวขอ้ งเม่อื พบข้อมูลหรือบุคคลที่ไมเ่ หมาะสม
ป.5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั มมี ารยาท เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหน้าที่ของตน เคารพในสิทธขิ อง
ผู้อ่นื แจง้ ผูเ้ ก่ียวข้องเม่ือพบข้อมูลหรอื บุคคลท่ีไม่เหมาะสม

7. ฮอลใส่ลายนำ้ เปน็ ชอื่ ของตนเองลงในภาพวาดทด่ี าวน์โหลดมา การกระทำของฮอลเหมาะสมหรือไม่
เพราะเหตุใด
ก. เหมาะสม เพราะเป็นภาพวาดท่ีใหด้ าวน์โหลดฟรี
ข. เพราะใส่ลายนำ้ เพอ่ื ไม่ใหผ้ ูอ้ น่ื คดั ลอกงานของตนเองได้
ค. ไม่เหมาะสม เพราะควรตั้งชื่อไฟล์เป็นช่ือของตนเองก่อน
ง. ไม่เหมาะสม เพราะเป็นการคัดลอกงานผูอ้ นื่ มาเป็นของตนเอง

47

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรส์ พป.นา่ น เขต 1

เฉลย ง. ไม่เหมาะสม เพราะเปน็ การคดั ลอกงานผอู้ ื่นมาเปน็ ของตนเอง การใสล่ ายนำ้ เพื่อป้องกัน
หรอื ลดโอกาสการถกู ขโมยช้ินงาน แตเ่ ม่ือนำงานของผู้อื่นมาใส่ลายน้ำเปน็ การกระทำท่ีไมเ่ หมาะสมอยา่ ง
ยิง่ เนอ่ื งจากเปน็ การขโมยงานของบุคคลอ่นื มาเปน็ ของตนเอง

หมายเหตุ
แนวขอ้ สอบนำมาจากสำนักพิมพ์อักษรเจริญทศั น์

48

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

สภาพปจั จุบันจากการวเิ คราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ จากผลการ

ทดสอบ ONET ปกี ารศกึ ษา 2562 (แยกตามสาระการเรียนรู้)

อำเภอเมอื ง 4 กล่มุ โรงเรยี น

สาระ โรงเรยี นทผี่ ลสัมฤทธ์ิต่ำกว่าประเทศ

เมือง1 เมอื ง 2 เมอื ง 3 เมอื ง 4

สิง่ มีชวี ิตกบั บา้ นน้ำงาว บ้านนาผา บ้านน้ำโค้ง ดอนสะไมยว์ ทิ ยา

กระบวนการดำรงชีวติ บา้ นวงั หมอ บา้ นธงหลวง บ้านห้วยปุก บา้ นต้าม

บ้านไชยสถาน บ้านกาใส บา้ นนาซาว

บ้านผาตูบ บ้านวังตาว บา้ นเรือง

บ้านผาสิงห์ บ้านหว้ ยเฮือ บ้านใหม่ในฝัน

บ้านปางเปย๋

บา้ นหว้ ยละเบา้ ยา

ชวี ิตกับสงิ่ แวดล้อม บ้านนำ้ งาว บ้านดูใ่ ต้ บา้ นหว้ ยเฮอื บา้ นนวราษฎร์

สะละภเู วยี ง บ้านนาผา บา้ นนำ้ โค้ง บา้ นปา่ คา

บา้ นไชยสถาน บ้านธงหลวง บ้านกาใส บา้ นซาวหลวง

บา้ นวงั หมอ บา้ นถมื ตอง บา้ นหว้ ยมอญ

บ้านวงั ตาว

บ้านห้วยปุก

บ้านห้วยละเบ้ายา

บ้านสองแคว

บ้านปางเป๋ย

สารและสมบัตขิ องสาร สะละภเู วยี ง บ้านธงหลวง บ้านห้วยระพี บ้านม่วงเจรญิ ราษฎร์

บา้ นผาตบู บ้านดู่ใต้ บ้านถืมตอง ดอนสะไมย์วทิ ยา

บา้ นไชยสถาน บ้านน้ำครกใหม่ บ้านห้วยละเบ้ายา บ้านนวราษฎร์

บ้านน้ำงาว บ้านกาใส บา้ นเรอื ง

บา้ นสันติภาพ บา้ นห้วยปกุ บา้ นต้าม

บา้ นนาซาว

บา้ นใหม่ในฝัน

บา้ นซาวหลวง

บา้ นปา่ คา

บา้ นหว้ ยมอญ

49

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

แรงและการเคลื่อนท่ี บ้านผาตูบ บา้ นธงหลวง บา้ นวงั ตาว บ้านม่วงเจริญราษฎร์
บ้านสนั ติภาพ บ้านนาผา บา้ นกาใส บา้ นดอนเฟือง
พลังงาน บ้านไชยสถาน บา้ นนำ้ ครกใหม่ บา้ นหว้ ยปุก บ้านนาซาว
บา้ นผาขวาง บา้ นสองแคว บ้านห้วยมอญสาขา
กระบวนการ บา้ นนำ้ งาว บา้ นนำ้ ครกใหม่ บา้ นห้วยเฮือ ใหม่ในฝัน
เปล่ียนแปลงของโลก บา้ นนำ้ โค้ง บ้านหว้ ยมอญ
บ้านวังหมอ บ้านดู่ใต้ บา้ นหว้ ยละเบ้ายา บ้านตา้ ม
ดาราศาสตรแ์ ละ บ้านสะละภู บา้ นปางเปย๋ บ้านป่าคา
อวกาศ เวียง บ้านหว้ ยปุก ดอนสะไมยว์ ิทยา
บ้านนำ้ งาว บ้านห้วยเฮอื บา้ นห้วยมอญ
บา้ นผาสงิ ห์ บ้านห้วยระพี บา้ นปา่ คา บ้านต้าม
บ้านไชยสถาน บ้านสองแคว บา้ นใหมใ่ นฝนั
บา้ นหว้ ยละเบา้ ยา บา้ นเชียงยืน
บ้านผาตูบ บา้ นกาใสบ้านน้ำโค้ง บา้ นนาซาว
บา้ นน้ำงาว บา้ นถืมตอง
บา้ นสันติภาพ บ้านวงั ตาว บ้านหว้ ยมอญ/สาขา
บา้ นไชยสถาน บ้านปางเปย๋ บ้านนาซาว
บ้านผาขวาง บา้ นหว้ ยระพี บ้านป่าคา
บ้านกาใสบ้านวังตาว บ้านเรอื ง บ้านต้าม
บา้ นผาตบู บ้านสองแคว ดอนสะไมยว์ ิทยา
บา้ นสันติภาพ บ้านถมื ตอง บา้ นนวราษฎร์
บา้ นไชยสถาน บ้านปางเปย๋ บา้ นมว่ งเจริญราษฎร์
บา้ นผาขวาง บ้านหว้ ยปุก บา้ นซาวหลวง
สะละภูเวยี ง บ้านนวราษฎร์
บ้านหว้ ยระพี บา้ นนาซาว
บ้านวงั ตาว บ้านม่วงเจริญราษฎร์
บา้ นห้วยปกุ บ้านใหมใ่ นฝนั
บา้ นสองแคว บา้ นเรอื ง
บา้ นนำ้ โค้ง บ้านเชยี งยนื
บ้านห้วยละเบา้ ยา

50

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์สพป.นา่ น เขต 1

บา้ นถมื ตอง บ้านห้วยมอญ

บูรณาการ บ้านสันติภาพ บ้านนาผา บ้านวงั ตาว บ้านเรอื ง บา้ นนาซาว

บา้ นกาใส บา้ นน้ำครกใหม่ บา้ นหว้ ยปกุ บา้ นหว้ ยมอญ

บา้ นผาตบู บ้านถมื ตอง บา้ นใหมใ่ นฝัน

บา้ นไชยสถาน บา้ นสองแคว บ้านปา่ คา บา้ นต้าม

บ้านสะละภู บา้ นห้วยเฮือ บา้ นมว่ งเจรญิ ราษฎร์

เวยี ง บา้ นปางเปย๋ บ้านนวราษฎร์

บา้ นนำ้ งาว บา้ นหว้ ยละเบ้ายา บา้ นซาวหลวง

อำเภอเวียงสา 4 กลุ่มโรงเรยี น

สาระ โรงเรยี นทผ่ี ลสมั ฤทธิ์ตำ่ กวา่ ประเทศ

เวียงสา 1 เวียงสา 2 เวยี งสา 3 เวยี งสา 4

สิง่ มีชีวิตกับ บ้านวัวแดง บ้านนาไลย ริมฝงั่ น่านวทิ ยา สา้ นนาหนองใหม่

กระบวนการดำรงชวี ติ ชุมชนบา้ นใหม่ บ้านม่วงเนิ้ง บ้านนากอก วดั ท่าขา้ มฯ

บ้านสาลีก บ้านอา่ ยนาผา ไตรธารวิทยา บ้านนาสา

บา้ นไพรอุดม บ้านหลบั มืนพรวน หาดทรายทอง
บ้านชมพู บา้ นนาเหลอื งไชยราม วทิ ยาคาร

บา้ นนาก้า บา้ นนาเหลืองใน

บา้ นบ่อหอย บ้านปางสา

บา้ นทา่ มงคล จอมจันทร์วทิ ยาคาร

บา้ นฝ่ังหมน่ิ ทงุ่ ศรที อง

บา้ นหว้ ยน้ำอุ่น ชุมชนบา้ นนำ้ ปั้ว

บ้านสะเลียม บ้านนาเคยี น

บ้านแม่ขะนงิ

ภเู ค็งพฒั นา

ชีวติ กับสิ่งแวดลอ้ ม บา้ นท่าล่ี บ้านชมพู จอมจนั ทรว์ ทิ ยาคาร ส้านนาหนองใหม่

บา้ นขง่ึ งามมงคล บ้านนาไลย บ้านปา่ สัก รมิ ฝงั่ ว้าวิทยา

บ้านปงสนกุ บา้ นม่วงเน้งิ บ้านหลบั มนื พรวน บ้านน้ำมวบ

ชมุ ชนบ้านใหม่ บา้ นหัวนา บา้ นแมข่ ะนิง

บ้านสาลกี บา้ นอา่ ยนาผา ริมฝัง่ นา่ นวทิ ยา

ไทยรฐั วทิ ยา 45 บ้านจะเข้ภหู อม ภูเคง็ พัฒนา

บ้านฝ่ังหมิ่น ชมุ ชนบ้านนำ้ ปั้ว


Click to View FlipBook Version