The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพป.น่าน เขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2021-01-19 11:15:25

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระคณิตศาสตร์

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพป.น่าน เขต 1

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

สานกั งานเขตพื้ นที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

เอกสาร ศน. เลขที่ 1 /2564

กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
สานกั งานเขตพ้ื นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1



คำนำ

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สำนักงำนเขตพ้นื ท่กี ำรศึกษำประถมศกึ ษำน่ำน เขต 1 จดั ทำข้ึนเพื่อใช้เป็นแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนสาหรับครูผู้สอน ศึกษานิเทศก์ และผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง เพ่ือให้กำรดำเนินกำรยกระดับ
ผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรยี นมที ศิ ทำงกำรดำเนนิ กำรท่ีชัดเจน เป็นรปู ธรรม สำมำรถขับเคล่ือนกำรยกระดับ
ผลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรียนไดอ้ ย่ำงมีประสิทธิภำพ ซ่ึงคณะผู้จัดทำได้รวบรวมข้อค้นพบจำกผลกำรทดสอบ
ทำงกำรศกึ ษำระดับชำติข้ันพื้นฐำน (O-NET) รวมทั้งจัดทำแนวทำงกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ในเน้ือหำ
ท่ีนกั เรยี นในสังกัดมีรอ้ ยละกำรตอบถูกน้อย สำหรับครูใช้เป็นแนวทำงกำรดำเนินกำรยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทำงกำรเรยี นกลุ่มสำระกำรเรยี นรคู้ ณติ ศำสตร์ของสถำนศกึ ษำ

สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำน่ำน เขต 1 หวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำเอกสำร
แนวทำงกำรยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนกลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตสำสตร์เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์
ต่อโรงเรียนในสังกัดและผู้มีส่วนเก่ียวข้องในกำรดำเนินกำรยกระดับผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนทุกฝ่ำย
ขอขอบคุณคณะศกึ ษำนเิ ทศก์และผู้ทม่ี สี ่วนเก่ียวข้องในกำรจัดทำเอกสำรเล่มนี้ทกุ ท่ำน

สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำนำ่ น เขต 1

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1



คำชีแ้ จง

การนาแนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำน่ำน เขต 1 ไปใชม้ ีแนวดำเนนิ กำร ดงั น้ี

1. ศึกษำเอกสำรแนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนกล่มุ สาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ สำนักงำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำนำ่ น เขต 1

2. วเิ ครำะหผ์ ลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำตขิ ้นั พืน้ ฐำน (O-NET) ปกี ำรศกึ ษำ 2562
ของสถำนศกึ ษำ เพอื่ ใหท้ รำบวำ่ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัดใด และเนื้อหำตำมขอ้ ทดสอบข้อใดทีเ่ ป็นจุด
พฒั นำของสถำนศึกษำ

3. จดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ให้ผเู้ รยี นบรรลุมำตรฐำน/ตวั ช้วี ดั ดว้ ยเทคนิควิธีทห่ี ลำกหลำย
4.. ทดสอบองค์ควำมร้ขู องผเู้ รยี นตำมมำตรฐำนกำรเรียนร/ู้ ตัวช้วี ดั และเนอ้ื หำตำมข้อทดสอบ
ข้อทีเ่ ปน็ จุดพฒั นำของสถำนศึกษำ ดว้ ยวิธกี ำรวัดและประเมนิ ผลทีห่ ลำกหลำย และใช้ข้อทดสอบ O-NET
หลำยปที ่ผี ำ่ นเป็นเครือ่ งมอื ในกำรตรวจสอบองค์ควำมรขู้ องผู้เรยี น
5. ตดิ ตำมให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรยี นท่ยี ังไมบ่ รรลุตำมมำตรฐำน/ตัวชีว้ ดั ทเ่ี ปน็ ปญั หำ
อย่ำงใกล้

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1



สำรบญั

บทท่ี หน้ำ

บทที่ 1 บทนำ 1

ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญ..................................................................................... 1

วตั ถปุ ระสงค์............................................................................................................... 2

เป้ำหมำย.................................................................................................................... 2

ระยะเวลำดำเนนิ กำร.................................................................................................. 2

ผลทคี่ ำดวำ่ จะได้รบั .................................................................................................. 2

บทที่ 2 หลักกำร แนวคิดกำรยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน............................................ 3

นโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้นื ฐำน พ.ศ. 2561.......................... 3

กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติขนั้ พ้นื ฐำน (O-NET)........................................... 4

กำรทดสอบควำมสำมำรถพ้นื ฐำนของผเู้ รยี นระดับชำติ (NT)..................................... 5

กำรยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรียน.......................................................................... 7

ควำมสำคญั ของคณติ ศำสตร์ ...................................................................................... 10

ข้อค้นพบจำกผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติขน้ั พื้นฐำน (O-NET)

ปีกำรศึกษำ 2562..................................................................................................... 12

บทท่ี 3 แนวทำงกำรยกระดับผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี นกล่มุ สำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์....... 13

บรรณำนกุ รม............................................................................................................................. 22

ภำคผนวก ................................................................................................................................. 23

แนวทำงกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ในเนื้อหำข้อทดสอบท่นี ักเรยี นตอบถูกน้อย 24

ตวั อยำ่ งตำรำงกำรวิเครำะห์ผลกำรทดสอบ ....................................................…………… 37

ตวั อยำ่ งใบงำน ............................................................................................................. ๓๙

แบบนิเทศ ตดิ ตำม ระยะท่ี 1 …………………………………………….………………………….…… 4๓

แบบนเิ ทศ ติดตำม ระยะท่ี 2 …………………………………………….………………………….…… 4๖

คณะทำงำน...................................................................................................................... 4๘

แนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

บทท่ี 1

บทนำ

ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของปญั หำ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้กาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 โดยยึดหลักการพัฒนาท่ีย่ังยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต
เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 แผนแม่บท
ภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ
ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2565) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 และมุ่งสู่ Thailand 4.0 นโยบาย ที่ 3
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือมุ่งเน้นในการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ เริ่มต้ังแต่ประชากรวัยเรียนทุกช่วงวัย ให้มีความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สงั คมและสตปิ ญั ญา มศี ักยภาพ มที กั ษะ มีความรู้ เป็นคนดี มีวินัย เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ตลอดจนพัฒนา
ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นผู้มีบทบาทสาคัญ ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้คนไทยเป็นคนดี
คนเก่ง มีคุณภาพพร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 ตระหนักถึงความสาคัญในอาชีพและหน้าที่ของตน
โดยครตู อ้ งมจี ติ วิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง เปล่ียนโฉมบทบาท “ครู”
ให้เป็นครูยุคใหม่ โดยปรับบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” หรือผู้อานวยการการเรียนรู้ ทาหน้าท่ี
กระตุน้ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ปรบั วิธสี อนโดยให้เด็กสามารถแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทา
กิจกรรมในชนั้ เรียน แนะนาวิธีการเรียนรู้และวิธีการสร้างองค์ความรู้ ออกแบบกิจกรรมและสร้างนวัตกรรม
การเรียนรู้พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือเป็น
การส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้าน สนองตัวช้ีวัดความสาเร็จ
ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ตัวช้ีวัด (25) ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3
มีคะแนนผลการประเมินความสามารถผ้เู รียน (NT) ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดมีจานวนเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา
ที่ผ่านมารอ้ ยละ 3 ตวั ชีว้ ัด (26) ผ้เู รียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
มากกวา่ รอ้ ยละ 50 ในแต่ละวชิ าเพิม่ ข้นึ จากปกี ารศกึ ษาทผี่ า่ นมาร้อยละ 3

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ตระหนักในความสาคัญของการพัฒนา
ผเู้ รียนใหม้ สี มรรถนะสาคญั ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ กอปรกับปีการศึกษาท่ีผ่านมา
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มาตรฐาน
การเรียนรู้ ค3.1, ค1.1, ค2.1, ค2.2 ผลการประเมินอยู่ในระดับท่ีปรับปรุง จึงเป็นปัญหาด้านคุณภาพ
ผู้เรียนท่ีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ต้องเร่งพัฒนาเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ให้บรรลุตามเป้าหมาย และตามนโยบายหลักของสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

จากการนเิ ทศ ตดิ ตามของศกึ ษานิเทศก์ประจากลุ่มโรงเรียน และคณะกรรมการกลุ่มโรงเรียน
พจิ ารณาเหน็ ว่าการดาเนินการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีผ่านมา ไม่มีแนวทางในการดาเนินการ
ที่ชัดเจน ขาดการติดตาม ตรวจสอบอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ไม่สามารถยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน กลุม่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์
สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

2

ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงจัดทาแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนให้เพิม่ ขึ้นจากปกี ารศึกษา 2562

รอ้ ยละ 3 และร้อยละ 60 โรงเรยี นในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต
1 มผี ลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์เพิ่มข้ึนรอ้ ยละ 3

วตั ถุประสงค์

เพื่อจัดทาแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สาหรับกลุ่มโรงเรียนนาไปใช้เป็นแนวทางในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์

เป้ำหมำย

เชงิ ปริมำณ
กลุ่มโรงเรยี น จานวน 17 กลุ่ม นาแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระ

การเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ไปใช้ในการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
เชิงคุณภำพ
กลุ่มโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ดาเนินการ

ขับเคลือ่ นใหส้ ถานศกึ ษาในสงั กดั กลมุ่ นาแนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่หลักสูตรกาหนด
นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 และนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์สูงขึ้น นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 มีผลการประเมิน
คุณภาพผู้เรยี น (NT) ดา้ นคณิตศาสตร์สงู ขน้ึ

กลุ่มเป้ำหมำย

กลมุ่ โรงเรียนในสงั กดั จานวน 17 กลมุ่

ระยะเวลำในกำรดำเนนิ งำน

1 ตลุ าคม 2563 ถึง 30 กนั ยายน 2564

ผลทคี่ ำดว่ำจะได้รบั

โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กลุ่มโรงเรียนเป็นฐาน ส่งผลให้นักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน
(O-NET) มีค่าเฉล่ียเพ่ิมขึ้นจากปีการศึกษา 2562 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ภายใต้การบริหารจัดการของ
กลุ่มโรงเรียน และส่งผลให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ค่าเฉล่ีย
เพิ่มข้นึ จากปกี ารศกึ ษา 2562 ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 3

แนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

3

บทท่ี 2

หลกั การ แนวคิด การยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 บริหารจัดการโครงการยกระดับ
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชก้ ลมุ่ โรงเรยี นเป็นฐาน จึงได้จัดทาแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ซึ่งได้ศึกษา หลักการ แนวคิด นโยบาย เพ่ือใช้เป็นแนวในการบริหาร
จดั การ ดงั นี้

1. นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
2. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (Ordinary National Education
Testing: O-NET)
3. การประเมินความสามารถผู้เรียน (NT)
4. การยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
5. ความสาคัญของคณิตศาสตร์

1. นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
วิสัยทศั น์
การศึกษาขั้นพืน้ ฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐานระดบั สากล บนพ้ืนฐาน

ของความเปน็ ไทย
พันธกิจ
1. ส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ประชากรวยั เรียนทุกคนได้รบั การศกึ ษาอย่างท่ัวถึงและมคี ุณภาพ
2. ส่งเสริมให้ผ้เู รียนมคี ุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลักสตู ร

และค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ
3. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการที่เนน้ การมสี ว่ นร่วม การบูรณาการการจดั การศึกษา

และเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อคุณภาพการศกึ ษา
เปา้ หมาย
1. ผู้เรียนระดบั ก่อนประถมศึกษา และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคน

มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย มีคณุ ภาพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. ประชากรวยั เรยี นทกุ คนได้รบั โอกาสในการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานอย่างทว่ั ถงึ มีคุณภาพ

และเสมอภาค
3. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตรงตามสายงาน และมีวัฒนธรรมในการทางาน

ทม่ี งุ่ เน้นผลสัมฤทธ์ิ
4. สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ และสถานศกึ ษา

มปี ระสิทธภิ าพ เปน็ กลไกขบั เคลือ่ นการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
สคู่ ณุ ภาพระดบั มาตรฐานสากล

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์
สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

4

5. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเน้นการทางานแบบบูรณาการ มีเครือข่าย
การบริหารจัดการ บริหารแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา มีการกระจายอานาจ
และความรับผดิ ชอบส่สู านกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา และสถานศึกษา

6. พน้ื ทีพ่ ิเศษ ไดร้ บั การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา
ท่ีเหมาะสมตามบรบิ ทของพ้นื ที่

7. หน่วยงานทุกระดบั พัฒนาส่อื เทคโนโลยี และระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพื่อการบรหิ ารจดั
การศึกษาอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

8. หน่วยงานทุกระดับ มีงานวิจยั ทส่ี ามารถนาผลไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา
ยุทธศาสตร์

1. จัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคง
2. พัฒนาคุณภาพผู้เรยี นและส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. ส่งเสริม สนับสนนุ การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
4. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนร้อู ย่างมีคณุ ภาพ
5. จดั การศกึ ษาเพื่อเสรมิ สร้างคุณภาพชีวิตทเี่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม
6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและสง่ เสริมการมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา
2. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET)
การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET) เปน็ การทดสอบเพื่อวัดความรู้ ความคิด
รวบยอด ตามมาตรฐานการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ของนักเรียน
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 เพ่อื นาผลการทดสอบไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ และใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการสาเร็จการศึกษาของนักเรียน ตลอดจนนาไปใช้ในการคัดเลือก
เข้าศึกษาต่อในช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 (สาหรับโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง) รวมทั้งใช้ในการประกัน
คุณภาพการศึกษา ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติและระดับนานาชาติ และใช้
ในการวจิ ัยพฒั นาองคค์ วามรู้ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้
กาหนดการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

5

3. การประเมนิ คุณภาพผ้เู รียน (NT)
การประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ตัง้ แต่ปีการศึกษา 2562 สานักงานคณะกรรมการการศึกษา

ขัน้ พืน้ ฐาน ร่วมกับสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง ดาเนนิ การประเมินคุณภาพ
ผ้เู รียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ทกุ คนจากโรงเรียนในสังกัด โดยประเมนิ ความสามารถของ
ผู้เรียน 2 ด้าน คือ ความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ดังนี้

1. ความสามารถด้านภาษาไทย คือ ความสามารถด้านการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในยุค
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใช้ทักษะการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ ในการใช้ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือสื่อสารเพ่ือสรุปความ สืบค้น แสวงหาความรู้อย่างต่อเน่ือง
นาเสนออย่างสร้างสรรค์ ประเมินและตัดสินข้อมูลสารสนเทศ เพื่อนาไปแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันและรู้
เทา่ ทันสอื่ ตลอดจนสามารถใชภ้ าษาแสดงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาตเิ พ่ือสร้างความเข้าใจดีในสังคม

2. ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ คือ ความสามารถของบุคคลในการตีความและแปลงจาก
สถานการณป์ ัญหา หรือสถานการณต์ า่ ง ๆ ในบริบทของชีวิตจริง (Problem in context) ให้เป็นปัญหาเชิง
คณิตศาสตร์ (Mathematical problem) การใชท้ กั ษะการคดิ คานวณ การแก้ปัญหา การเช่ือมโยง การส่ือสาร
และส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ การคิดสร้างสรรค์และการให้เหตุผล โดยอาศัยข้อเท็จจริง ความคิด
รวบยอด หลกั การหรอื ทฤษฏีทางคณิตศาสตร์ มกี ารพจิ ารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ประเมินและตัดสินใจ
อยา่ งสมเหตสุ มผลและสร้างสรรค์ โดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นพลเมืองดีของประชาคมโลก
เพอ่ื นาไปส่กู ารหาผลลัพธ์และการอธบิ าย คาดการณ์ พยากรณ์สถานการณป์ ัญหาหรอื ปรากฏการณ์ต่าง ๆ

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

6

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

7

4. การยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง วิธีการพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนสูงข้ึนกว่าเดิม การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนน้ี ดาเนินการได้ท้ังในกลุ่มผู้เรียนท่ีมี
ความสามารถสูง ปานกลาง และต่า ในกรณีที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงอยู่แล้ว เป็นการยกระดับ
คุณภาพนักเรียนให้สู่ความเป็นเลิศในกลุ่มสาระการเรียนรู้เฉพาะ หรือความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ
ในกล่มุ ที่มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นระดับปานกลางหรอื ตา่ กวา่ เกณฑ์ที่คาดหวัง ก็จะพัฒนาความสามารถ
ให้สูงข้ึนกว่าเดิม หรือให้ได้ตามเกณฑ์การประเมินท่ีโรงเรียนกาหนด สาหรับนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนต่า หรืออยู่ในกลุ่มเส่ียงที่จะไม่จบการศึกษาตามหลักสูตรเน่ืองจากมีผลการประเมิน
ในรายวิชาในระดับ 0, ร หรือ มส. สามารถจบการศึกษาตามหลักสูตรได้ภายในเวลาที่กาหนด (มูลนิธิ
สถาบนั วิจัยและพัฒนาการเรียนรู้, 2551, หนา้ 15)

การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เป็นภารกิจที่สาคัญของสถานศึกษา ซึ่งสานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษา มีบทบาทหลักในการสนับสนุน ส่งเสริม ให้โรงเรียนได้ดาเนินการเพื่อพัฒนานักเรียน
ทุกคนที่ได้เข้าเรียนและจบการศึกษาอย่างมีคุณภาพ และมีคุณภาพตามเกณฑ์เป้าหมาย และมาตรฐาน
ของหลกั สูตร ให้นักเรยี นได้พัฒนาเต็มศกั ยภาพเปน็ รายบุคคลและทุกคน

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
รศ.ดร.สุพกั ตร์ พิบลู ย์ (2551, หน้า 27) จากมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช ไดเ้ สนอ

แนวคิดในการพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผเู้ รียน โดยใช้แนวคดิ “Empowerment Approach
และ Theory- Driven Approach รายละเอียดสรปุ ได้ ดังนี้

ขั้นที่ 1 Taking Stock คอื การตรวจสภาพปจั จบุ นั เกี่ยวกบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
หรือผลการประเมินคุณภาพ เพ่ือวิเคราะห์ว่าโรงเรียนมีคุณภาพเพียงใด เป็นการวิเคราะห์และจัดทา
ฐานข้อมูล (Baseline) เช่นพิจารณาจากผลการทดสอบ O-NET, NT หรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ประจาปขี องสถานศึกษา

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

8

ขั้นท่ี 2 Setting Goal เปน็ การกาหนดเป้าหมายความสาเร็จเป็นต้นว่า
ภายในปี 2559 ต้องมผี ลตอ่ ไปนี้

1. ผลการประเมินคุณภาพภายในระดบั ดีมาก
2. กลุ่มสาระการเรียนรหู้ ลกั อย่างนอ้ ยร้อยละ 90 อยใู่ นระดับดีมาก
3. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน โดยเฉพาะการประเมิน O-NET จะตอ้ งเพิ่มขน้ึ
อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 3 ของฐานเดมิ
ข้ันที่ 3 Developing Strategies and implementing มุ่งพัฒนากลยุทธ์แลว้ นา
กลยทุ ธ์สกู่ ารปฏิบัติ ตัวอยา่ งของกลยทุ ธ์ เชน่
1. ขบั เคลอื่ นห้องเรียนคุณภาพ หรือประกันคุณภาพแต่ละรายวชิ าแตล่ ะ
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ครูทุกคนตอ้ งตั้งเป้าหมายในการพัฒนาคณุ ภาพและดาเนนิ การยกระดบั คุณภาพ
ใหไ้ ด้ตามเป้าหมาย ดังนั้นการนิยามวา่ “ผูน้ าการเปลีย่ นแปลง กค็ อื ผ้ทู ี่ทางานสาเรจ็ ใครสามารถ
ทาผลงานปีน้ีได้ดีกวา่ ปีท่แี ล้ว เรียกว่า ผู้นาการเปล่ียนแปลง”
2. ปฏิรปู การบริหารจัดการห้องเรยี นประจาช้ันกาหนดเกณฑ์ “หอ้ งประจาชน้ั
ที่ปรึกษาคณุ ภาพ”
3. บรหิ ารจัดการสถานศึกษาท่ีเน้นการขบั เคลอ่ื นเชงิ ทฤษฎีอย่างเปน็ ระบบ
ตามกรอบหลักวชิ า
ขั้นท่ี 4 Documenting Progress เป็นขั้นตอนการรวบรวมเอกสารหลักฐานท่ีแสดง
ถึงความก้าวหน้าของงานตามเป้าหมาย ซ่ึงการดาเนินงานแต่ละข้ันเน้น “การมีส่วนร่วม” ของผู้เก่ียวข้อง
ฝา่ ยตา่ ง ๆ เช่น ครูอาจารย์ กรรมการสถานศึกษา เครอื ขา่ ยผูป้ กครอง สมาคมศษิ ยเ์ กา่ เป็นต้น
ดร.จันทมา นนทิกร (2551, หน้า 53) โครงการพัฒนาโรงเรียนเข้มแข็งด้วยการจัดการความรู้
(Healthy School by Knowledge Management) มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ (มสวร.)
ได้สังเคราะห์วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) เร่ือง การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาก
16 โรงเรียนดีเดน่ แลว้ จาแนกเป็นประเด็นหลักเพอ่ื อธบิ ายวิธีปฏิบตั ิ ดังน้ี
1. การบริหารจัดการเพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น มีวธิ กี ารดาเนนิ การ ดงั น้ี
1.1 การจดั การความรู้เพื่อกาหนดนโยบาย และจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรยี น
1.2 การวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน
1.3 การกาหนดยุทธศาสตรใ์ นการพฒั นากระบวนการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น
1.4 การนเิ ทศภายในแบบกลั ยาณมติ ร
1.5 การประสานงานกบั ผปู้ กครองเพอ่ื เฝ้าระวังและตดิ ตามแก้ไขปัญหา
2. วิธีการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดาเนินการได้ 3 รูปแบบ คือ
รปู แบบที่ 1 การยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรยี นให้สูงข้นึ ตามเกณฑท์ ่ี
คาดหวัง มวี ิธีการดาเนนิ การ ดงั นี้
1. การปรับเปล่ยี นท่าทขี องครใู นการจัดการเรยี นรู้
2. การกาหนดเกณฑ์ท่ีคาดหวังและเกณฑ์การประเมนิ ผล

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

9

3. การจดั กลุ่มผู้เรียนทีเ่ หมาะสม
4. การกาหนดรปู แบบการพัฒนาการเรียนรแู้ ละการจัดกจิ กรรม
รูปแบบที่ 2 การยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนรู้เพ่ือมุ่งสูค่ วามเปน็ เลิศ
1. การจดั การเรยี นรูแ้ บบห้องเรียนพิเศษ
2. การจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พื่อส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ
รูปแบบท่ี 3 การช่วยเหลือนกั เรยี นทไ่ี ม่ผ่านเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร
1. การดแู ลใกลช้ ิดเพื่อปรับพฤติกรรมและใหโ้ อกาสนกั เรียน
2. การเพ่มิ พนู ผลสัมฤทธ์เิ พอ่ื ให้ได้ตามเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร
3. การจดั หลักสูตรนอกระบบ เปน็ การจดั หลกั สตู รพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิ
โดยไมต่ ดิ ระบบปกตซิ ่ึงอาจใชน้ วตั กรรมในการบรหิ ารและดาเนนิ การ
ปนัดดา หัสปราบ (2557, หน้า 11) ได้กล่าวถึง การเพ่ิมผลสมั ฤทธ์ิของการทดสอบระดับ
ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) โดยกลา่ วว่าการเพม่ิ ผลสัมฤทธิข์ องการสอบ O-NET เปน็ งานทตี่ ้องร่วมมือกัน
หลายฝา่ ย เกย่ี วขอ้ งกับสภาพการณ์ความพร้อมดา้ นต่าง ๆ ของโรงเรยี น ครู ผู้ปกครองและผเู้ รียน โดยมี
แนวทาง คอื
1. ผอู้ านวยการ รองผูอ้ านวยการ ฝา่ ยวิชาการ หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรูแ้ ละครู
ศกึ ษาค่าสถิติของโรงเรยี นวา่ โรงเรยี นไดค้ ะแนนตา่ ในวิชาใด สาระอะไร มาตรฐานการเรียนรู้อะไร
ศึกษาสงิ่ ท่ีสานักทดสอบทางการศกึ ษาได้วิเคราะห์ไวใ้ ห้ ซึ่งมที ุกระดับและมรี ายละเอียดต้ังแตค่ ะแนน
รายบุคคลในทุกรายวิชา คา่ เฉล่ียของนกั เรยี นในโรงเรียนเดียวกัน คา่ เฉลีย่ ระดบั จังหวดั ระดบั สงั กัด
และระดบั ชาติ ไปจนถงึ การวเิ คราะห์ข้อสอบรายข้อว่านกั เรียนทาถูกก่ีเปอรเ์ ซ็นต์ หรอื นักเรียนสว่ นใหญ่
ตอบผดิ ข้อไหน ซ่งึ จะเห็นชัดเจนวา่ เน้อื หาส่วนใดท่ีนกั เรยี นทาไดด้ ี หรือทาได้ไมด่ จี นนา่ เปน็ หว่ ง แล้วจงึ
แก้ไขโดยดูแลใหค้ รจู ดั ทาแผนการสอนทง้ั ปแี ละแผนการสอนรายชั่วโมง
2. โรงเรยี น ควรให้การสนับสนุนดา้ นต่าง ๆ เชน่ งบประมาณ ครภุ ณั ฑ์ พสั ดุ เอกสาร
แกป้ ัญหาในด้านสอื่ อุปกรณก์ ารเรียนการสอน กระตุ้นและสนบั สนุนให้ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และครู
ทาโครงการตา่ ง ๆ เพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ขิ องการสอบ O-NET
3. ครู นอกจากต้องจัดทาแผนการสอนทงั้ ปแี ละแผนการสอนรายคาบเพ่ือแก้ไขสงิ่ ที่
สานักทดสอบทางการศกึ ษาได้วิเคราะหไ์ ว้ ครยู ังตอ้ งมีบทบาทในเรอื่ งต่าง ๆ ดังนี้
1. สอนโดยยดึ ตามหลักสูตร และสอนให้ครอบคลมุ หลกั สตู ร
2. เนื่องจากข้อสอบของสานักทดสอบทางการศึกษา เน้นทักษะการคิด
วิเคราะห์ ครูจึงควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) ให้
ผู้เรียนรู้และเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ จาแนกระหว่างการให้เหตุผลที่ดี หรือให้เหตุผลท่ี
เหมาะสม และเหตุผลที่ไม่ดีหรือให้เหตุผลที่ไม่เหมาะสม (Good and Poor Reasoning) สอนรูปแบบ
กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของ โพลยา (Polya) ซ่ึงประกอบด้วย ข้ันทาความเข้าใจปัญหา
ข้นั วางแผนแก้ปญั หา ข้นั ดาเนินการตามแผน และขน้ั ตรวจสอบผล สอนยุทธวิธีการแก้ปัญหาแบบต่าง ๆ
เช่น การค้นหาแบบรูป การสร้างตาราง การเขียนภาพหรือแผนภาพ การแจกแจงกรณีที่เป็นไปได้
ท้ังหมด การคาดเดาและตรวจสอบ การทางานแบบย้อนกลับ การเขียนสมการ การเปลี่ยนมุมมอง
การแบ่งเป็นปัญหาย่อย พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของผู้เรียน การสร้างองค์ความรู้ใหม่

แนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

10

ในการแก้ปัญหา การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ การประยุกต์ใช้ยุทธวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
และสะท้อนใหเ้ หน็ กระบวนการแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์

3. ศกึ ษาแนวข้อสอบ O-NET ยอ้ นหลงั ควรศึกษา Test Blueprint หรือ
โครงสร้างของข้อสอบอยา่ งละเอยี ดว่า เนื้อหานี้อยสู่ ่วนใดในข้อสอบบ้าง เช่น ถ้ามีข้อสอบ100 ข้อ ข้อ 1-5
เปน็ สาระตามมาตรฐานการเรียนรูใ้ นหมวดไหน มีระดบั ความยากง่ายอย่างไร โดยควรทาเช่นนจี้ นครบ
ทัง้ 100 ข้อ จะทาให้ทราบระดบั ความยากง่ายในข้อสอบว่าถกู แบ่งด้วยสดั ส่วนอย่างไร เช่น งา่ ยมาก 10 %
คอ่ นข้างงา่ ย 15 % ปานกลาง 60 % ยาก 10 % และยากมาก 5 % สาระใด เร่ืองใดท่อี อกข้อสอบบ่อย
แลว้ จัดใหน้ กั เรยี นไดฝ้ กึ ทาข้อสอบทเี่ หมาะสมและหลากหลายทกุ รปู แบบ

4. จดั ให้ผเู้ รยี นได้ฝกึ ทาแบบทดสอบเสมือนจริง โดยการจาลองบรรยากาศ
การสอบ O-NET เพ่ือทาใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความคุ้นเคย

5. ทาการวัดผลและประเมนิ ผลโดยใชข้ ้อสอบให้สอดคล้องหรอื คล้ายคลึง
กบั ข้อสอบ O -NET โดยเฉพาะข้อสอบแบบปรนยั ที่มีรูปแบบขอ้ สอบที่แตกต่างจากทีใ่ ชใ้ นโรงเรียน

6. ทาโครงการต่าง ๆ เพ่ือเพิ่มผลสัมฤทธขิ์ องการสอบ O-NET เช่น โครงการ
เตรียมความพรอ้ มในการสอบ O-NET

7. สร้างความตระหนกั ให้ผูเ้ รยี นเหน็ ความสาคัญของการสอบ O-NET
แสดงความชน่ื ชม ยนิ ดตี ่อผ้เู รียนท่ีไดค้ ะแนนผลการสอบสูงสุดในแตล่ ะรายวิชา และเปน็ ขวัญกาลังใจ
ให้กับผ้เู รียนท่ียงั ไดค้ ะแนนในระดับต่า

4. ผู้เรยี น กอ่ นการสอบผูเ้ รยี นตอ้ งเตรยี มตัวสอบอยตู่ ลอดเวลา โดยตอ้ งเตรยี มตวั
2 ส่วน ดงั น้ี

1. ภาคทฤษฏี คือจะต้องทาความเข้าใจเนื้อหาในตาราเรียน ซ่ึงการอ่าน
หนังสือนน้ั ผเู้ รยี นต้องพยายามทาความเข้าใจเนื้อหาสว่ นนนั้ ๆ ไม่เพียงแต่การท่องจา เพราะถ้าไม่เข้าใจ
นักเรียนจะใช้ความรู้ไปวิเคราะห์ในการทาข้อสอบไม่ได้ หากมีเวลาไม่เพียงพอในการอ่านหนังสือ
นักเรียนจะอ่านเฉพาะเน้ือหาที่สาคัญ แต่หากมีเวลามาก ควรอ่านเน้ือหาเพิ่มเติมอื่น ๆ ด้วย ท้ังน้ีเมื่อ
อ่านแล้วให้ลองพูดหรืออธิบายความรู้ที่ได้อ่านมาเท่าที่จาได้ให้เพ่ือนฟัง เพ่ือเป็นการทบทวนความรู้
ความจากอ่ นการสอบ รวมทั้งสรปุ เน้ือหาที่สาคญั เปน็ ขอ้ ๆ สาหรบั อ่านตอนใกล้สอบ

2. ภาคปฏิบัติ คือ ทาข้อสอบเก่า โดยใช้วธิ ีการจาลองการทดสอบเสมือนจริง
อย่างเคร่งครัด แลว้ ประเมนิ ผลทีไ่ ดภ้ าคปฏิบตั นิ ้ีจะใช้เวลานานกว่าภาคทฤษฏี

ดงั นน้ั แนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น คือการดาเนินงานเพื่อปรบั ปรุง
คณุ ภาพของผู้เรียน ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการทดสอบ วางแผนพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
การนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลเป็นระยะ ๆ แนวปฏบิ ตั ใิ นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีดงั น้ี

1. วเิ คราะหข์ ้อมูลสารสนเทศจากการประเมนิ ดา้ นคุณภาพการศึกษา เชน่ ผลการ
ประเมิน NT, O-NET เป็นรายโรงเรียน กล่มุ โรงเรียน เพ่ือเปน็ ขอ้ มลู พ้ืนฐานในการจดั ทาแผนการนเิ ทศ
ตดิ ตาม เพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของโรงเรียนใหส้ ูงข้ึน

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

11

2. กาหนดเป้าหมายตัวช้ีวัดความสาเร็จ โดยกาหนดขั้นต่าตามนโยบายพ้ืนฐาน
ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และอาจกาหนดเพ่ิมขึ้นตามเป้าหมายของสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา ทั้งนี้ต้องช้ีแจงเป้าหมายท่ีกาหนดให้กลุ่มโรงเรียน โรงเรียนรับทราบตามที่กาหนด
โดยใหถ้ ือวา่ เปน็ ขอ้ ตกลงรว่ มกัน

3. นิเทศ ติดตามการดาเนินงานในระดับกลุ่มโรงเรียน ระดับโรงเรียน ระดับช้ันเรียน
ระดับห้องเรียน เป็นระยะ ๆ อย่างสม่าเสมอ ขับเคล่ือนการดาเนินการอย่างต่อเน่ือง รวมถึงการหนุนเสริม
และใหร้ างวลั จากผลการดาเนนิ งานทป่ี ระสบผลสาเร็จให้กบั โรงเรียน เพ่ือเป็นตัวอยา่ ง

4. การสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มโรงเรียนและโรงเรียนเครือข่ายการยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้มีความยั่งยืน แลกเปล่ียนเรียนรู้ผลการดาเนินงานของโรงเรียนเพื่อสร้างความ
เขม้ แขง็ ของเครือขา่ ยทัง้ ระบบ

5. การพัฒนาครูผู้สอนให้มีความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ให้สามารถ
พฒั นาผู้เรยี นให้มคี วามสามารถในการเรียนรู้

5. ความสาคญั ของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตรม์ บี ทบาทสาคญั ตอ่ ชวี ิตของมนษุ ยเ์ ปน็ อันมาก มนษุ ย์เร่ิมเรียนรู้แนวคิดทางคณิตศาสตร์

จากสภาพแวดล้อมหรือธรรมชาติแล้วนาไปสู่การสรุปเป็นกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ในชีวติ ประจาวันได้ คนส่วนใหญ่ท่ีไม่ได้เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์โดยตรงมักจะเข้าใจว่าคณิตศาสตร์เป็นเรื่อง
ของตวั เลข และการคดิ คานวณเท่านั้น ซึ่งแท้ที่จริงแล้วคณิตศาสตร์เป็นเรื่องท่ีหมายรวมไปถึงการแก้ปัญหา
และการใช้เหตุผล คณิตศาสตร์นับเป็นเครื่องมือท่ีสาคัญในการศึกษาค้นคว้า สร้างองค์ความรู้ในศาสตร์
อื่น ๆ และคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ดังน้ันในการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์จึงจาเป็นจะต้องรู้และเข้าใจ
เกี่ยวกับธรรมชาติของคณิตศาสตร์ เพ่ือประโยชน์ในการเลือกวิธีท่ีจะศึกษาให้เหมาะสมกับธรรมชาติ
ของคณติ ศาสตร์

โครงสร้างของคณิตศาสตร์
ในการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ ไม่ว่าจะสาขาใดหรือในระดับการศึกษาใดก็ตาม ต้องเรียนรู้ถึงคาใหม่ ๆ

ในสาขานั้น ๆ คาใหม่เหล่าน้ีบางคาก็จาเป็นต้องให้ความหมายที่ชัดเจน โดยกาหนดคานิยาม (Define
Term) ของคานั้น ๆ แตบ่ างคากไ็ ม่จาเปน็ ตอ้ งใหน้ ิยาม เพราะใหน้ ยิ ามไปก็ไมม่ ปี ระโยชน์ ซึ่งเราพูดถึงคา
ท่ไี มใ่ หน้ ิยามเหล่านีว้ า่ คาอนิยาม (Undefined Term) นอกจากนย้ี ังมขี ้อความที่ยอมรับ หรือมีข้อตกลง
ว่าเป็นความจริงโดยไม่ต้องมีการพิสูจน์ ซึ่งเรียกว่า สัจพจน์ (Postulate หรือ Axiom) ซึ่งมีความสาคัญ
กับคณิตศาสตร์มาก เพราะนักคณิตศาสตร์เช่ือว่าก่อนที่จะพิสูจน์ข้อความใดข้อความหนึ่งว่าถูกต้องนั้น
เราตอ้ งยอมรบั ส่ิงใดสิ่งหน่งึ วา่ ถูกต้องกอ่ น ไม่เช่นน้ันเราก็ไมส่ ามารถพิสจู นข์ อ้ ความนัน้ ได้

จากนิยาม อนิยาม และสัจพจน์ เราสามารถพิสูจน์ข้อความใหม่ ๆ ได้อีกมากมาย ข้อความท่ีพิสูจน์ได้
เหล่าน้ีเรียกว่าทฤษฎีบท (Theorem) โดยอาศัยตรรกศาสตร์เป็นเคร่ืองมือพิสูจน์ทฤษฎีบท ทางคณิตศาสตร์
เราเรียกระบบท่ีประกอบด้วยบทนิยาม คาอนิยาม สัจพจน์ และทฤษฎีบท ว่าเป็นโครงสร้างของระบบ
คณิตศาสตร์ (Mathematical System Structure
ทาไมต้องเรยี นคณติ ศาสตร์

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

12

คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อความสาเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์
ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหา
หรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถ่ีถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ีคณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือ
ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อ่ืน ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียมกับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์
จงึ จาเปน็ ตอ้ งมกี ารพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที เ่ี จริญกา้ วหน้าอย่างรวดเรว็ ในยคุ โลกาภวิ ฒั น์

ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับน้ี จัดทาขึ้นโดยคานึงถึงการส่งเสริม
ให้ผู้เรียนมที กั ษะที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นสาคัญ น่ันคือ การเตรียมผู้เรียนให้มีทักษะ
ด้านการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร
และการร่วมมือ ซ่ึงจะส่งผลให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และสภาพแวดลอ้ ม สามารถแข่งขันและอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้ ทั้งน้ี การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ท่ีประสบความสาเร็จน้ัน จะต้องเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบ
อาชีพเม่ือจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน ดังนั้นสถานศึกษาควรจัดการเรียนรู้ให้
เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน
เรยี นรู้อะไรในคณติ ศาสตร์

กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตรจ์ ัดเป็น 3 สาระ ได้แก่ จานวนและพีชคณติ การวัดและเรขาคณิต
และสถิตแิ ละความนา่ จะเปน็

จานวนและพีชคณิต เรียนรู้เก่ียวกับระบบจานวนจริง สมบัติเก่ียวกับจานวนจริง อัตราส่วน
ร้อยละ การประมาณค่า การแก้ปัญหาเก่ียวกับจานวน การใช้จานวนในชีวิตจริง แบบรูป ความสัมพันธ์
ฟงั กช์ นั เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบ้ียและมูลค่า
ของเงนิ ลาดับและอนกุ รม การนาความรู้เกยี่ วกับจานวนและพีชคณิตไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

การวัดและเรขาคณิต เรียนรู้เก่ียวกับความยาว ระยะทาง น้าหนัก พ้ืนท่ี ปริมาตรและความจุ
เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเก่ียวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณิต
และสมบัติของรูปเรขาคณิต การนึกภาพ แบบจาลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลง
ทางเรขาคณติ ในเร่ืองการเล่อื นขนาน การสะท้อน การหมุน การนาความรู้เก่ียวกับการวัดและเรขาคณิต
ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

สถิติและความน่าจะเป็น เรียนรู้เก่ียวกับ การตั้งคาถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การคานวณค่าสถิติ การนาเสนอและแปลผลสาหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลักการนับเบื้องต้น
ความน่าจะเป็น การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ และช่วย
ในการตัดสนิ ใจ
ขอ้ ค้นพบจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2562

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

13
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ของสานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ท่ีมี
ผลการทดสอบอยู่ระดบั ทตี่ อ้ งปรับปรุง ดงั นี้

1. มาตรฐานการเรียนรู้ ค1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน
การดาเนินการของจานวน ผลที่เกดิ ข้ึนจากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนนิ การและนาไปใช้

2. มาตรฐานการเรียนรู้ ค2.1 เขา้ ใจพืน้ ฐานเก่ียวกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่
ท่ีตอ้ งการวดั และนาไปใช้

3. มาตรฐานการเรียนรู้ ค2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต
ความสัมพันธ์ระหว่างรูเรขาคณติ และทฤษฎีทางเรขาคณิตและนาไปใช้

4. มาตรฐานการเรียนรู้ ค3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิและใชค้ วามร้ทู างสถติ ิ
ในการแก้ปญั หา

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

บทที่ 3

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์

การดาเนินการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของสานักงาน
เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 มีขัน้ ตอนในการดาเนนิ งาน 4 ขัน้ ตอน ดงั นี้

ข้นั ตอนที่ 1 พาดู เป็นข้นั ตอนการศึกษาสภาพปัญหา สร้างความตระหนัก รับรู้ร่วมกัน
โดยการวิเคราะห์ปัญหาด้านการจัดการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ผลการประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รยี น (NT)

ข้นั ตอนที่ 2 พาคิด เปน็ ข้ันตอนการวางแผนขับเคลื่อนการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์สูก่ ารพัฒนา

ขน้ั ตอนท่ี 3 พาทา เปน็ ข้นั ตอนการนาแผนการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างเรยี นกลุ่มสาระ
การเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์สู่การพัฒนาในช้ันเรยี น โดยดาเนินการตามขนั้ ตอน “ไตรยางค์การศึกษา : OLE”
ดงั น้ี

ขน้ั ท่ี 1 O: Objective การกาหนดจุดม่งุ หมายในการพฒั นานักเรียนจาก
สภาพความต้องการจาเป็นตามมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชี้วดั ทเ่ี ปน็ ปัญหา

ข้ันท่ี 2 L: Learning Process กระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ
สภาพความต้องการจาเปน็ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัดที่เป็นปัญหา เน้นการออกแบบกิจกรรม
การเรียนรใู้ หผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรจู้ ากการฝึกปฏิบตั ิ และสร้างองค์ความรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง

ข้นั ที่ 3 E: Evaluation การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยให้สอดคล้อง
กบั จุดประสงคแ์ ละกจิ กรรมการเรียนรู้เนน้ การประเมนิ ตามสภาพจริง ตรวจสอบองค์ความรู้และความพร้อม
ของผู้เรียนด้วยการทดสอบ Pre O-NET และ Pre NT วัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยการทดสอบ
O-NET และ NT

ขั้นตอนท่ี 4 พาภาคภูมิใจ เป็นขั้นตอนการสรุปผลการดาเนินการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน
(O-NET) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ให้ได้สารสนเทศจากการทดสอบนาไปสู่การปรับปรุงพัฒนา
และได้สารสนเทศให้ทุกภาคส่วนร่วมชื่นชมยินดีในความสาเร็จ ให้ขวัญกาลังใจและยกย่องเชิดชูเกียรติ
สาหรบั ครูทป่ี ระสบผลสาเรจ็ ในการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

14

การดาเนนิ การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ของสานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 มีขัน้ ตอนในการดาเนินงาน 4 ข้นั ตอน ดงั น้ี
ข้ันตอนท่ี 1 พาดู เป็นข้ันตอนการศกึ ษาสภาพปญั หา มีรายละเอียดดังนี้

ระดบั เขตพน้ื ที่การศกึ ษา
1. ประชุมคณะทางานระดับเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

ประกอบดว้ ย ผูอ้ านวยการและรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1
ผูอ้ านวยกลุ่ม ผู้อานวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน และศกึ ษานิเทศก์

2. สะทอ้ นผลการวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน
(O-NET) และผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ให้ไดส้ ารสนเทศท่ีเปน็ จุดเด่น จดุ พัฒนาของกลุ่มสาระ
การเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ระดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

3. สรา้ งความตระหนักรับรู้ร่วมกนั โดยการวเิ คราะห์ปัญหาด้านการจัดการเรยี นรู้
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ทส่ี ง่ ผลใหม้ ีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตา่

ระดบั กล่มุ โรงเรียน
1. ศกึ ษานเิ ทศก์ประจากล่มุ โรงเรียนประชมุ คณะทางานระดับกลมุ่ โรงเรียน

ประกอบดว้ ย ประธานกลมุ่ โรงเรยี น ผู้อานวยการโรงเรียนภายในกลมุ่ และครวู ิชาการโรงเรยี น
2. สะท้อนผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน

(O-NET) และผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ให้ได้สารสนเทศที่เป็นจุดเด่น จุดพัฒนาของกลุ่มสาระ
การเรียนรูค้ ณติ ศาสตรร์ ะดับของกลมุ่ โรงเรยี น และของโรงเรยี นภายในกลมุ่

3. สรา้ งความตระหนักรับรู้รว่ มกันโดยการวเิ คราะห์ปัญหาด้านการจัดการเรยี นรู้
กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ทสี่ ่งผลให้ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตา่ ทั้งระดับกลมุ่ โรงเรียน และระดับ
โรงเรยี นภายในกลมุ่
ขน้ั ตอนท่ี 2 พาคิด เปน็ ขน้ั ตอนการวางแผนขับเคล่ือนการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ส่กู ารพัฒนา มรี ายละเอียดดงั นี้

ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
1. กาหนดเป้าหมายการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้

คณิตสาสตร์ ดาเนนิ การขบั เคลือ่ นใหส้ ถานศกึ ษานาแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีหลักสูตร
กาหนด นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สูงข้ึนจากปีการศึกษา 2562 ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ด้านคานวณสูงข้ึนจากปี
การศึกษา 2562 ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 3

2. กาหนดแผนการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
กาหนดวิธกี ารนาแผนการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูก่ ารปฏิบัติในสถานศกึ ษาของกลุ่มโรงเรียน

3. พัฒนาองค์ความรู้ให้กับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถม
ศกึ ษาปีที่ 6 และชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในเน้อื หาท่ีนกั เรียนมีผลการทดสอบต่าและตอ้ งปรับปรุงพฒั นา

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

15

4. กาหนดวิธกี ารนิเทศ ตดิ ตามการขับเคล่ือนการยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
สูช่ ้นั เรยี น จัดทาปฏทิ นิ การนเิ ทศ ติดตามการดาเนินโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น

ระดบั กลุ่มโรงเรียน/โรงเรยี น
1. ศึกษานเิ ทศก์ประจากล่มุ โรงเรียนจัดประชมุ คณะกรรมการกลุ่มโรงเรียน

ครูผสู้ อนกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ เพื่อสรา้ งความเขา้ ใจการนาแนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ไปใช้ในระดับกลุม่ โรงเรยี น

2. จัดทาปฏทิ ินการดาเนนิ การยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ กาหนดระยะเวลา และผู้รบั ผิดชอบในแตล่ ะกจิ กรรม

3. กาหนดวธิ กี ารวดั และประเมินผลความรู้ของนักเรียน ดว้ ยการทดสอบวัด
ความรู้ การสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี น
ข้ันตอนท่ี 3 พาทา เป็นข้ันตอนการนาแผนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตรส์ ู่การพัฒนาในชั้นเรียน โดยดาเนินการตามข้ันตอน “ไตรยางค์การศึกษา: OLE” ดงั นี้

ขั้นท่ี 1 จุดมุ่งหมายการศึกษา O: Objective เป็นการกาหนดจุดมุ่งหมายในการพัฒนานักเรียน
ตามสภาพความต้องการจาเป็น ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดท่ีเป็นปัญหาหลังจากการดาเนินการ
กิจกรรมในชั้นตอนที่ 1 พาดู จะทาให้ครูผู้สอน และผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัด การศึกษาได้รับทราบถึง
สภาพปัญหา เกดิ ความตระหนัก และรับรรู้ ว่ มกันว่านักเรียนในสถานศึกษามีข้อด้อย ในมาตรฐานการเรียนรู้
ตวั ชวี้ ัดใดในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) และผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) เพ่ือนาข้อมูลไปวางแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เพ่ือแก้ไขปัญหาเหล่านั้นให้ลุล่วง ป้องกันไม่ให้เกิดข้ึนอีกในปีการศึกษาต่อไป ก่อนการวางแผน
จัดการเรียนการสอน ครูต้องทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสอน โดยครูสามารถพิจารณาได้จากจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีปรากฏในส่วนของคุณภาพการเรียน
ข้ันเร่ิมต้น ครูต้องรู้และวางแผนว่าจะสอนเพื่อวัตถุประสงค์ใด ซ่ึงคาตอบคือ สอนเพ่ือให้นักเรียนบรรลุ
คณุ ภาพผเู้ รียนท่ีกาหนดไวใ้ นวตั ถปุ ระสงคก์ ลมุ่ สาระการเรยี นรูน้ ั้น ๆ

จดุ มงุ่ หมายทางการศกึ ษาเป็นเป้าหมายสาคัญ เพ่ือใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดการศึกษา
วา่ ต้องการผลลัพธ์อย่างไร ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ด้านพุทธพิ สิ ัย (Cognitive Domain) ทักษะพสิ ยั
(Psychomotor Domain) และจิตพสิ ัย (Affective Domain) (Benjamin S. Bloom และคณะ 1956)

ระดับพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) สถาบันทดสอบทางการศึกษา
แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้จาแนกระดับการคิด/พฤติกรรมออกเป็น 2 ระดับ คือ การคิดระดับต้น
(Lower-order Thinking: LOT) ได้แก่ ความจา ความเข้าใจ และการคิดระดับสูง (Higher-order
Thinking: HOT) ไดแ้ ก่ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ ประเมนิ คา่ คิดสรา้ งสรรค์

การคิดระดบั ต้น (Lower-order Thinking : LOT) เป็นการคดิ ขน้ั ตอนเดยี วทีไ่ ม่
ซบั ซ้อน ได้แก่ 1) การรจู้ า สามารถจดจา หรือเข้าใจสงิ่ ท่ีเรียนรู้จากหนังสือ ตารา เอกสารหรือแหลง่ ความรู้
2) เข้าใจ อธิบาย แปลความ ตีความ ขยายความ ยกตวั อย่าง อ้างอิง ทานาย เปรียบเทียบ ช้ีความแตกต่าง
จบั คแู่ นวคิดที่เหมือนกนั ทาแบบจาลอง

การคิดระดับสูง (Higher-order Thinking: HOT) ใช้ทักษะหลายด้านพร้อมกัน
ในการแก้ปัญหา มีการคิดต้ังแต่ 2 ขั้นตอนข้ึนไป ได้แก่ 1) การนาไปใช้ การคิดแก้ปัญหา (Problem

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

16

Solving) เป็นความสามารถที่เน้นถึงการมองเห็นปัญหา การใช้ความรู้ และการเลือกวิธีการท่ีเป็นไปได้
ในการแก้ปัญหา 2) การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ (Critical Thinking) เป็นความสามารถท่ีเกี่ยวข้องกับการทา
ความเข้าใจจากสถานการณ์ บทความหรือข้อความ วิเคราะห์เพื่อลงข้อสรุป การคิดลักษณะนี้จะมีการลง
ข้อสรุปการยอมรับบางเหตุการณ์ การตัดสินคุณค่า การแปลความหมายและการประเมินค่าจากการสังเกต
3) การประเมิน/การตัดสินใจ (Decision Making) เป็นการคิดเพ่ือพิจารณา และตัดสินใจ เลือกทางเลือก
อย่างมีเหตผุ ลดว้ ยการพิจารณาข้อเท็จจริง และทางเลือกต่าง ๆ ท่ีเป็นไปได้ พร้อมทั้งแสดงข้อสนับสนุน
หรือข้อโต้แย้งท่ีเป็นเหตุผลของการตัดสินใจ การกาหนดรูปแบบในการตัดสินใจจะต้องมีการรวบรวม
สารสนเทศ ประเมินค่าทางเลือกต่าง ๆ และเลือกใช้เกณฑ์สาหรับการตัดสินใจให้สอดคล้องกับสถานการณ์
4) การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นความสามารถในการคิดที่มีการสร้างหรือขยายแนวคิด
ที่มีอยู่เดิม หรือสร้างแนวคิดใหม่ท่ีแตกต่างจากเดิม เพื่อพัฒนาหรือคิดค้นองค์ความรู้หรือส่ิงประดิษฐ์
ใหม่ ๆ ทมี่ คี ุณคา่ และเป็นประโยชนต์ อ่ ตนเองและสงั คม

ระดับพฤตกิ รรมดา้ นทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) พฤตกิ รรมทีบ่ ง่ ถงึ ความสามารถ
ในการปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ ชานชิ านาญ แสดงออกโดยตรง มีเวลาและคณุ ภาพของงานเป็นตัวชี้
ระดับของทักษะ พฤตกิ รรมด้านทักษะพสิ ัยมี 5 ขัน้ ดังน้ี

1. การรับรู้ เปน็ การใหผ้ ูเ้ รียนไดร้ ับรู้หลักการปฏบิ ัติทีถ่ ูกต้อง หรอื เป็นการเลือกหา
ตวั แบบทีส่ นใจ

2. กระทาตามแบบ เป็นพฤติกรรมท่ีผู้เรยี นพยายามฝกึ ตามแบบที่ตนสนใจ
และพยายามทาซา้ เพื่อที่จะให้เกิดทักษะตามแบบที่ตนสนใจใหไ้ ด้ หรือสามารถปฏิบตั ิงานได้ตามข้อแนะนา

3. การหาความถูกต้องพฤตกิ รรมสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ดว้ ยตนเอง โดยไมต่ ้องอาศัย
เครอื่ งชแ้ี นะเม่ือได้กระทาซา้ แล้วกพ็ ยายามหาความถูกตอ้ งในการปฏบิ ัติ

4. การกระทาอย่างตอ่ เน่ือง หลงั จากการตัดสนิ ใจเลือกรูปแบบทเี่ ป็นของตัวเอง
จะกระทาตามรปู แบบน้นั อยา่ งต่อเน่ือง จนปฏิบตั ิงานท่ีย่งุ ยากซบั ซ้อนได้อยา่ งรวดเรว็ ถูกต้อง
คลอ่ งแคลว่ การที่ผู้เรยี นเกดิ ทกั ษะได้ ต้องอาศัยการฝึกฝนและกระทาอย่างสมา่ เสมอ

5. การกระทาได้อย่างเป็นธรรมชาติ พฤติกรรมที่ไดจ้ ากการฝกึ อย่างต่อเนื่องจน
สามารถปฏบิ ัตไิ ด้คลอ่ งแคล่วว่องไวโดยอัตโนมตั ิ เป็นไปอย่างธรรมชาติ ซงึ่ ถือเป็นความสามารถของการ
ปฏิบตั ิในระดบั สงู

ระดับพฤตกิ รรมดา้ นจิตพิสยั (Affective Domain) พฤติกรรมดา้ นจิตพสิ ยั เป็นพฤติกรรม
ด้านค่านยิ ม ความรสู้ กึ ความซาบซ้ึง คุณลักษณะ ทัศนคติ ความเชอ่ื ความสนใจและคุณธรรม จรยิ ธรรม
พฤติกรรมด้านนอี้ าจไม่เกดิ ขนึ้ ทนั ที ดงั นั้นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยจดั สภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสม
และสอดแทรกสงิ่ ทด่ี งี ามอยู่ตลอดเวลา จะทาให้พฤติกรรมของผู้เรียนเปล่ยี นไปในแนวที่พงึ ประสงคไ์ ด้
ซึง่ มพี ฤตกิ รรมระดับต่าสุดไปสงู สดุ ดงั น้ี

1. ขั้นรบั รู้ เปน็ ความรู้สกึ ทเ่ี กิดข้ึนต่อปรากฏการณ์ หรือสงิ่ เรา้ อย่างใดอยา่ งหนึ่ง
ซึ่งเป็นในลักษณะของการแปลความหมายของส่ิงเรา้ นนั้ วา่ คืออะไร แลว้ จะแสดงออกมาในรูปของความรสู้ ึก
ที่เกิดข้ึน

2. ข้ันตอบสนอง เปน็ การกระทาทีแ่ สดงออกมาในรปู ของความเต็มใจ ยินยอม
และพอใจต่อสิ่งเรา้ นั้น ซึ่งเป็นการตอบสนองท่ีเกิดจากการเลอื กสรรแล้ว

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

17

3. ขั้นเห็นคุณค่า เป็นการเลือกปฏิบัติในส่ิงที่เป็นท่ียอมรับกันในสังคมการยอมรับ
นับถือในคุณค่านั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่งจนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิดทัศนคติที่ดี
ในสง่ิ น้ัน

4. ข้ันจัดระบบคณุ ค่า เปน็ การจัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์
ถ้าเขา้ กันไดก้ ็จะยดึ ถือต่อไป แตถ่ ้าขดั กันอาจไม่ยอมรบั อาจจะยอมรับค่านิยมใหมโ่ ดยยกเลกิ คา่ นิยมเก่า

5. ขั้นสร้างคุณลักษณะ การนาค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัย
ประจาตัวให้ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งท่ีถูกต้องดีงาม ซึ่งจะเร่ิมจากการได้รับรู้จากส่ิงแวดล้อม แล้วจึงเกิด
ปฏิกิริยาโต้ตอบ ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่าง ๆ จนกลายเป็นค่านิยม และพัฒนาต่อไปเป็นความคิด
อดุ มคติ

ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ L: Learning Process การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หรือการสอน
เป็นส่วนสาคัญท่ีส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา ทาให้ผู้เรียนมีประสบการณ์เพ่ิมขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม ครูต้องเช่ือมโยงคุณภาพผู้เรียนตามที่หลักสูตรกาหนด เพ่ือให้ผู้เรียนมีพฤติกรรม บรรลุคุณภาพ
ผู้เรียนในแต่ละสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด พัฒนาผู้เรียนให้ไปถึงเป้าหมายที่วางไว้ด้วยวิธีการ
และกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและเหมาะสม แนวทางเชื่อมโยงคุณภาพผู้เรียนกับการจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ ครคู วรตอ้ งวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างวตั ถุประสงค์ของการสอน (O) กับการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ (L) โดยใช้ขอ้ มูลจากเอกสารท่ีเกี่ยวข้องดังต่อไปน้ี

1. ศกึ ษาตัวช้ีวดั และสาระการเรียนร้แู กนกลางตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ข้นั พื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

2. ศึกษาเอกสาร “แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้เู พื่อพัฒนาทกั ษะการคิด
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551” เพือ่ วิเคราะห์แนวทางการจัดกจิ กรรม
การเรียนรู้

3. วเิ คราะห์คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ดั ท่ีสอดคล้องกบั ระดบั
การคิด/พฤติกรรมดา้ นพุทธิพิสยั ของผ้เู รียน (รู้ จา เขา้ ใจ นาไปใช้ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า)

4. วิเคราะห์ความเชือ่ มโยงระหว่างคณุ ภาพผู้เรยี นกับการจัดกระบวนการเรยี นรู้
แนวทางปฏิบัตใิ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (L) เพ่อื ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์สูงขน้ึ
แนวทางสาหรบั นกั เรียน

1. สร้างความตระหนัก (Awareness) และความพยายาม (Attempt) ให้นักเรียน
รว่ มกนั พิจารณารายงานผลการสอบ O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยแบ่งนักเรียนออกเป็น
กลุ่ม ๆ กลุ่มละ 3-5 คน พิจารณาว่าการสอบวิชาคณิตศาสตร์ด้วยข้อสอบระดับชาติ ซ่ึงเป็นข้อสอบกลาง
ที่นกั เรยี นรนุ่ พ่ชี นั้ ป. 6 ปีที่ผา่ นมาได้ทาการสอบ ผลคะแนนสอบเป็นอย่างไร พิจารณาจากคะแนนเฉล่ีย
ของโรงเรียน และของโรงเรียนขนาดเดยี วกนั จังหวัดเดียวกัน สังกัดเดียวกัน ภาคเดียวกัน และระดับประเทศ
ใหน้ ักเรียนอภิปรายกล่มุ และสรปุ ผลการสอบในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีมาตรฐานและสาระ
การเรียนร้ใู ดบา้ งท่ีมีผลการทดสอบดี พอใช้ ปรบั ปรุง (เทยี บตวั เอง) เทียบกับคะแนนเฉล่ียของโรงเรียน

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

18

และเทียบกบั ระดบั ประเทศ แล้วอภิปรายในกลุ่มถึงประโยชน์ต่อการวางแผนใน
การสอบ การวางแผน การเรียนในระดับที่สูงขึ้น หากตนเองมีคะแนน O-NET ต่า จะวางแผนการเรียน
ให้ดีข้นึ อย่างไร

2. พฤติกรรม/วิธกี ารเรยี น (Process) ของนักเรยี น ทาอย่างไรใหน้ ักเรยี น คิดเป็น
ทาเป็น คดิ วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ เรยี นรู้อยา่ งมีความสุข ควรมีข้ันตอน ดังนี้

ทบทวนก่อนเรียน โดยใหน้ กั เรยี นดโู นต้ ย่อ หรอื Mind map ทบทวน
กอ่ นเรยี น ตง้ั ใจระหว่างเรยี น คอื ครูควรส่งเสริมให้นกั เรยี นเรยี นรู้ด้วยหลัก

- การฟงั แลว้ คิด
- ถ้าไม่เข้าใจให้ถาม
- เม่ือเขา้ ใจแล้วกจ็ ดและเขยี น
นอกจากนีค้ วรส่งเสรมิ ให้นกั เรียนได้เรียนร้แู บบรว่ มมือกัน เพ่ือนช่วยเพ่ือน
มีการทบทวนบทเรยี นด้วยการสรปุ ความรู้ท่ีได้รับในแตล่ ะวัน
แนวทางสาหรับครู
1. สร้างความตระหนัก (Awareness) และความพยายาม (Attempt) ครูควร
เห็นคุณค่าของการให้นักเรียนสอบ O-NET เอกสารรายงานผลการสอบ O-NET ฉบับท่ี 2 ค่าสถิติแยก
ตามมาตรฐานการเรียนรู้สาหรับโรงเรียน ฉบับที่ 5 ค่าสถิติแยกตามสาระสาหรับโรงเรียน มีประโยชน์
ต่อครูท่ีจะได้รับรู้ผลการสอนของตนเอง ทั้งจะได้ใช้ในการเทียบผลเพ่ือแข่งกับตัวเองและแข่งกับเพ่ือน
เพ่อื นาผลไปพฒั นาการสอนให้มปี ระสทิ ธิภาพที่ดยี ง่ิ ขึน้
2. ครูผู้สอนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แนะนาให้นักเรียนดูแบบรายงานผล
คะแนนการทดสอบระดับชาติ (E-Score) และ ปพ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพ่ือให้นักเรียน
เห็นคณุ ค่าการสอบ O-NET
3. ควรดาเนนิ การตรวจสอบองค์ความรู้ของผู้เรียนเป็นระยะ ๆ ตามสาระ มาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวช้ีวัด โดยข้อสอบอัตนัยแล้วบันทึกคะแนนใน ปพ.5 นาผลการสอนปรับปรุงกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ ทั้งนี้ให้นารูปแบบข้อสอบ ครูออกข้อสอบตามบัตรข้อสอบ (Item card) ใช้ตัวอย่างกระดาษ
คาตอบ O-NET ในการสอบเกบ็ คะแนนปลายภาค
พฤติกรรม/วิธีสอนของครูแบบครูมืออาชีพ ครูต้องปรับแนวคิดเก่ียวกับการท่ีจะทา
ให้คะแนน O-NET สูงข้ึน ว่าเป็นการทาให้ตนเองรู้ว่าผลการสอนของครูเป็นอย่างไร โดยอาจใช้วิธีการ
แก้ปัญหา (Problem-based solving) วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (Collaborative Learning) วิธีให้
นักเรียนทางาน (Work or Project-based Learning) แบบกรณีศึกษา (Case-based Learning) มี
การบูรณาการการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน รวมท้ังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการเรียนการสอน
ทกุ ช่ัวโมง
การสอนแบบครูมอื อาชพี
ก่อนสอน ครตู อ้ งศึกษาเอกสารของสานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ทีส่ าคญั ดงั น้ี

แนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

19

1. ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาหรับใช้
กาหนดวตั ถุประสงคข์ องการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้: สอนทาไม สอนอะไร

2. แนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เพอื่ พฒั นาทักษะการคิด ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ใชว้ างแผนการสอน สอนให้นักเรียนคดิ เป็น ทาเปน็ )

3. แนวทางการวดั ประเมินผลการเรียนรตู้ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ใช้ในการวัดและประเมนิ ผลทต่ี อ้ งกรอกใน ปพ.5)

4. การพัฒนาการวัดและประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ใช้ในการวดั และประเมนิ ผลที่ตอ้ งกรอกใน ปพ.5)

5. การพัฒนาและประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ใชใ้ นการวัดและประเมินผลทีต่ ้องกรอกใน ปพ.5)

ระหว่างสอน ควรเนน้ พฤติกรรมการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั เพื่อนชว่ ยเพื่อน
แบ่งเป็น 3 ขน้ั ตอน คือ

1. ทบทวนก่อนเรียน โดยใช้คาถามในบทเรียนที่ผ่านมา ควรถามทั้งเด็ก
เก่ง–ปานกลาง-อ่อน เน้นให้เด็กตอบได้ ถ้าถามแล้วตอบไม่ได้ ก็ถามคาถามท่ี 2 และ 3 ตามลาดับจนกว่า
เด็กจะตอบได้เพ่อื จูงใจใหเ้ ดก็ มกี าลงั ใจและกระตือรือร้นท่ีจะเรียนต่อ ทบทวนด้วยการสรุปเน้ือหาในชั่วโมง
ทผี่ า่ นมา โดยการให้นกั เรยี นทาโน้ตย่อ หรือ Mind map หรือสรปุ แล้วครชู ืน่ ชม ซง่ึ การโนต้ ยอ่ จะช่วยให้
นักเรยี นมีทกั ษะการวเิ คราะห์ คิดเป็น ทาเปน็ เกดิ องคค์ วามรู้

2. การสอนเนอื้ หาใหม่ ควรแบ่งเปน็ 3 ส่วน ดงั นี้
1) ให้นักเรียนทาใบงาน แบบฝกึ หดั หรือกจิ กรรม ซง่ึ เม่ือนักเรียน

ทาแลว้ เกิดปญั หา เกดิ ความสงสยั เรยี กว่า Problem-based solving คือ กระตุ้นความอยากรู้อยากเหน็
2) ตอ่ จากขัน้ ที่ 1 ครูอธิบายเนอ้ื หา เมื่อครสู รุปความรเู้ รียบร้อย

แล้ว ให้นักเรียนทาใบงาน หรือแบบฝกึ หัดอีกครั้ง
3) ใหน้ กั เรยี นนาเสนอผลงาน/กิจกรรม ให้ทุกคนมสี ว่ นรว่ มแล้วให้

ครสู รุปผลการเรียนรู้ ไม่ควรให้นกั เรียนทากจิ กรรมคนเดยี ว โดยเฉพาะนักเรียนกลุ่มอ่อน ควรแบ่งนักเรยี น
เปน็ กลุ่มคละความสามารถ (เก่ง ปานกลาง อ่อน) ใช้หลกั Collaborative Learning และแบบ Share
and Learn โดยให้นักเรยี นชว่ ยเหลือกัน ใหน้ ักเรียนคิด วเิ คราะห์ อภปิ ราย และสรุป หลังจากนัน้ ให้
ตัวแทนนกั เรียนนาเสนอและครสู รปุ

หลงั สอน ครูควรมอบการบา้ นและใหน้ กั เรียนทาโน้ตย่อสรปุ องค์ความรู้ เพื่อให้
นักเรียนไดท้ บทวนความร้หู ลังเรียน ให้ทาแบบฝกึ หัด หรือทางานท่ีได้รับมอบหมาย เป็นการสง่ เสริม ให้มี
ทกั ษะการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ชว่ ยใหค้ ดิ เป็น

จากการวิเคราะห์รายงานผลการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ในภาพรวมของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 โดยพิจารณาจาก
คะแนนเฉล่ียระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นท่ี ระดับจังหวัด ระดับ สพฐ. ระดับภาค และระดับประเทศ
ผลปรากฏว่า คะแนนเฉล่ยี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีที่ผ่านมา
มีมาตรฐานและสาระการเรียนรู้ท่ีเป็นปัญหาที่จาเป็นต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน ดังนั้น ศึกษานิเทศก์ประจา

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

20

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จึงกาหนดแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เพ่ือพัฒนา
การเรยี นรู้ ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ดงั น้ี

แนวทางสาหรับผู้บริหาร
1. ความตระหนัก (Awareness) และความพยายาม (Attempt) ผู้บริหารต้อง

เห็นคุณค่าของการสอบ O-NET เนื่องจากรายงานผล O-NET โดยเฉพาะ ฉบับท่ี 6 ค่าสถิติแยกตาม
รายวชิ าสาหรับโรงเรยี น มปี ระโยชนต์ ่อผู้บริหารทจ่ี ะไดร้ บั รู้ผลการสอนของครใู นโรงเรยี น

2. พฤติกรรม/วิธีการบริหารจัดการของผู้บริหาร ผู้บริหารต้องนิเทศการสอน
และการวดั และประเมินผลระดบั ชนั้ เรียน เพ่ือให้การส่งเสริมสนับสนุนโดยเฉพาะการพัฒนาครูผู้สอนให้
เป็นครูมืออาชีพ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ลดภาระงานครู ส่งเสริมให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ
แนะนาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นให้นักเรียนทบทวนก่อนการเรียน ตั้งใจระหว่างเรียน
และทบทวนหลังเรยี น

แนวทางสาหรับศกึ ษานิเทศก์
1. ความตระหนัก (Awareness) และความพยายาม (Attempt) ศึกษานิเทศก์
ต้องเห็นคุณค่าของการสอบ O-NET ใช้รายงานผล O-NET ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ของครใู นเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา
2. พฤติกรรม/วิธีการบริหารจัดการของศึกษานิเทศก์ กากับ ติดตาม และนิเทศ
การศึกษา เพ่อื ให้การสง่ เสรมิ สนบั สนุนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะการพัฒนาครูผู้สอนให้
เป็นครมู ืออาชีพ และแนะนาแหล่งเรียนรทู้ ม่ี ปี ระสิทธิภาพ
3. การตรวจสอบพฤติกรรม/วิธีเรียนของนักเรียน ศึกษานิเทศก์ ทบทวนว่า
ท่ีผ่านมาครูได้สอนแบบครูมืออาชีพหรือไม่ จากใบงานการตรวจสอบพฤติกรรม/วิธีเรียนของนักเรียน
พฤติกรรมการสอนของครูที่มีการทบทวนบทเรียนก่อนเรียนในแต่ละช่ัวโมง สอนให้นักเรียนคิดเป็น
ทาเป็น เน้นให้นักเรียนทาโน้ตย่อ เพราะการทาโน้ตย่อนักเรียนต้องฟังอย่างตั้งใจ หรือทาความเข้าใจ
คิดกอ่ นแล้วจึงจะจดโน้ตยอ่ ได้ และในข้ันสุดท้ายครูต้องสอดแทรกการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียนสือ่ ความ แลว้ บนั ทกึ ผลพฒั นาการแต่ละด้านของนกั เรยี นลงใน ปพ. 5
ขัน้ ที่ 3 การวัดและประเมนิ ผล E: Evaluation
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นการตรวจสอบว่าผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
บรรลุตามวัตถุประสงค์หรือไม่ ควรตรวจสอบองค์ความรู้ของผู้เรียน เพื่อประเมินผู้เรียนว่ามีคุณภาพตาม
ท่ีกาหนดไวห้ รือไมเ่ พียงใด โดยเน้นการประเมินตามสภาพจริง การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ต้องใช้
วิธีการท่ีหลากหลาย จากแหล่งข้อมูลหลายแหล่ง เพื่อให้ได้ผลการประเมินที่สะท้อนความรู้ ความสามารถ
ท่ีแท้จริง ของผู้เรียน โดยวัดและประเมินการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน
และตอ้ งให้ความสาคญั กบั การประเมินระหว่างเรียนมากกวา่ การประเมนิ ปลายปี/ปลายภาค และใช้เป็น
ข้อมูลเพ่ือประเมินการเล่ือนช้ันเรียนและการจบการศึกษา หากต้องการเชื่อมโยงการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กับการทดสอบในชั้นเรียน ครูสามารถออกข้อทดสอบตามผังโครงสร้าง
แบบทดสอบ (Test Blueprint) ของ O-NET เขียนข้อสอบตาม Test Blueprint ด้วยบัตรข้อสอบ

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

21

(Item Card) ของ สทศ. ให้สอดคล้องกับรูปแบบของข้อสอบ O-NET และใช้กระดาษคาตอบรูปแบบ
เดียวกนั กับการสอบ O-NET เพ่อื เป็นการเตรยี ม ความพร้อมในการสอบ O-NET ให้กบั ผ้เู รยี น

ขนั้ ตอนท่ี 4 พาภาคภูมใิ จ
เป็นข้ันตอนการสรุปผลการดาเนินการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้

คณิตศาสตร์ จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน
(NT) ให้ได้สารสนเทศจากการทดสอบนาไปสู่การปรับปรุงพัฒนา และให้ทุกภาคส่วนร่วมชื่นชม ยินดี ใน
ความสาเร็จ ให้ขวัญกาลังใจและยกย่องเชิดชูเกียรติสาหรับครูที่ประสบผลสาเร็จ ในการยกระดับ
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น มรี ายละเอยี ดการดาเนินการ ดังนี้

1. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประกาศยกย่อง เชิดชูเกียรติกลุ่มโรงเรียนที่ประสบผลสาเร็จ
ในการยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ส่งผลให้มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์สูงขึ้น ยกย่องเชิดชูเกียรติกลุ่มโรงเรียนที่มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)
ด้านคณติ ศาสตร์สูงขึ้น ดาเนินการโดย

1.1 ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติ ให้กลุ่มโรงเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนบรรลุตาม
เปา้ หมายของเขตพื้นที่ ยกย่องเชิดชูเกียรติและให้ขวัญกาลังใจผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนท่ีนักเรียน
มีผลการทดสอบกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์สงู โดดเด่น ในการประชมุ ผู้บรหิ ารโรงเรียนระดับเขตพ้นื ท่ี

1.2 เสริมสร้างขวญั และกาลงั ใจครผู ้สู อนท่ปี ระสบผลสาเร็จในการดาเนินการพฒั นานกั เรยี น
บรรลุตามเปา้ หมาย โดยให้กลมุ่ โรงเรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณาคัดเลือกผู้ท่ีสมควรได้รับการพิจารณา
ผลการปฏบิ ัติงานประกอบการเล่ือนข้นั เงนิ เดือนเปน็ กรณีพเิ ศษ

1.3 มอบเกียรติบัตรยกย่อง เชิดชูเกียรติ แก่โรงเรียนท่ีมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) สูงสุดในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 และมอบเกียรติบัตรยกย่อง
เชดิ ชูเกยี รติแก่โรงเรยี นทีม่ ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น (ผล O-NET และผล NT) ท่มี กี ารพัฒนาสูงสุด

2. คณะกรรมการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับเขตพ้ืนที่ให้การหนุนเสริม
เติมพลังกลุ่มโรงเรียนท่ีมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) และผลการประเมิน
คณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ทีต่ ้องพัฒนา ดังนี้

2.1 ร่วมวเิ คราะหป์ ัญหา คดิ หาวิธกี ารแก้ไขปรับปรุง
2.2 ปรบั วิธีการดาเนินการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิในระดบั กลุ่มโรงเรยี นและระดบั โรงเรยี น
2.3 นิเทศ ติดตาม โดยคณะกรรมการตดิ ตามตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
(ก.ต.ป.น.)

แนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

บรรณานุกรม

จันทนา นนทกิ ร. (2551). การยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน. กรงุ เทพฯ: ส.ส.ส.
(สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ).

ปนดั ดา หัสปราบ. (2557). แนวทางการนาผลการทดสอบทางการศึกษาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพ
ผู้เรียน. กรงุ เทพฯ: สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน).

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน). (2562). คมู่ ือการจัดสอบทางการศกึ ษา
ระดับชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 และช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3.
กรุงเทพฯ: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน).

สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน). (2562). รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6. เข้าถึงได้จาก
http//www.niets.or.th.

สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน). (2562). รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3. เข้าถงึ ได้จาก
http//www.niets.or.th.

สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1. (2562). รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดับชาติขนั้ พ้ืนฐาน. (เอกสารอัดสาเนา).

สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน. (2562) คู่มือการจัดสอบ
วดั ความสามารถพ้ืนฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (National Test: NT) ชั้นประถมศกึ ษา
ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562. กรงุ เทพฯ.

สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน. (2561).
รายงานผลการวัดความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT)
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2561.
เขา้ ได้ถึงจาก http://180.180.244.56/NT/ExamWeb/MainEsa/MainEsa.aspx.

สพุ กั ตร์ พบิ ลู ย.์ (2551). ชุดเสริมทักษาการประเมินโครงการ. นนทบรุ :ี จตุพรดไี ซน์.

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

ภาคผนวก

แนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

24

จากการวิเคราะหต์ ามมาตรฐานและตัวชี้วดั คาถามข้อน้ีอยใู่ นสาระท่ี 1 เร่อื ง จานวนและพีชคณติ มาตรฐาน
ตัวชวี้ ดั ค 1.1 ป.4/7 เร่อื งการประมาณค่าจานวนเต็มพนั และ ค 1.1 ป.5/1 การประมาณคา่ ทศนยิ มไม่เกิน
สามตาแหนง่ ที่เปน็ ทศนิยม 2 ตาแหน่ง ซง่ึ เป็นข้อที่มีค่าร้อยละนกั เรยี นในสังกัด สพป. น่าน เขต 1 ตอบถูกน้อย
ดงั น้นั เพ่ือใหน้ ักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจและสามารถทาข้อสอบในเรื่องน้ี จึงให้แนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ให้กับนกั เรยี น ดงั นี้
แนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันนา

1. ครทู บทวนความรู้เดิมเร่ืองของการประมาณค่าจานวนเต็มพนั การประมาณค่าทศนิยมไม่เกิน 3
ตาแหนง่ ที่เปน็ จานวนเต็มทศนยิ ม 2 ตาแหน่ง และการวางแผนแกป้ ัญหาโดยใชเ้ ทคนคิ การแกป้ ญั หา 4
ขนั้ ตอน ดังนี้

- ข้ันท่ี 1 ทาความเขา้ ใจโจทย์ สิ่งที่โจทย์กาหนดมาให้ และส่งิ ที่โจทย์ถาม
- ขนั้ ท่ี 2 วางแผนแกป้ ัญหา
- ขน้ั ท่ี 3 ดาเนินการตามแผน
- ขน้ั ที่ 4 ตรวจสอบผล
ขัน้ สอน
1. ครูยกตวั อยา่ งโจทยป์ ัญหาเก่ยี วกับการประมาณค่าจานวน ดังนี้
ถา้ m เปน็ จานวนนับท่ีมากที่สดุ ทมี่ ี 2000 เป็นคา่ ประมาณเป็นจานวนเตม็ พัน และ n เปน็ ทศนิยมสาม
ตาแหน่งท่ีน้อยที่สุดท่ีมี 20.19 เปน็ คา่ ประมาณเปน็ ทศนิยมสองตาแหน่ง แล้ว m + n มีคา่ เทา่ กบั เทา่ ใด

2. นักเรยี นช่วยกนั แสดงวิธกี ารหาคาตอบตามขนั้ ตอนการแกป้ ัญหา 4 ขั้นตอนของโพลยา ดังนี้
ข้นั ท่ี 1 ทาความเข้าใจโจทย์
สิง่ ทโี่ จทยก์ าหนดให้
แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

25

1) m เป็นจานวนนบั ทีม่ ากทีส่ ุดท่มี ี 2000 เปน็ คา่ ประมาณเปน็ จานวนเตม็ พัน
2) n เป็นทศนิยมสามตาแหนง่ ทน่ี ้อยทสี่ ดุ ทม่ี ี 20.19 เป็นคา่ ประมาณเป็นทศนยิ มสองตาแหน่ง

ส่งิ ที่โจทยถ์ าม 1) m + n มคี า่ เท่ากับเท่าใด

ขน้ั ที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา

1) หาจานวนนับท่ีน้อยทีส่ ดุ และมากทสี่ ุดทม่ี ี 2,000 เป็นคา่ ประมาณเปน็ จานวนเต็มพนั ท้ังหมด

2) หาทศนิยมสามตาแหน่งท่ีนอ้ ยทีส่ ุดและมากที่สดุ ที่มี 20.19 เปน็ คา่ ประมาณเป็นทศนิยม

สองตาแหนง่

3) หาผลรวม m + n

ขัน้ ท่ี 3 ดาเนนิ การตามแผน

1) 2,000 … 2,497 2,498 2,499

1,500 1,501 1,502 …

-จานวนนับทน่ี ้อยทสี่ ุดที่มี 2,000 มีค่าประมาณเปน็ จานวนเตม็ พัน ได้แก่ 1,500

-จานวนนบั ทีม่ ากท่ีสดุ ทม่ี ี 2,000 มคี า่ ประมาณเป็นจานวนเตม็ พัน ได้แก่ 2,499

2)

20.185 20.186 20.187 ... 20.19 … 20.192 20.193 20.194

- ทศนิยมสามตาแหน่งทีน่ ้อยท่สี ุดท่มี ี 20.19มีค่าประมาณเปน็ ทศนยิ มสองตาแหน่ง ได้แก่ 20.185

- ทศนยิ มสามตาแหนง่ ที่มากทีส่ ดุ ที่มี 20.19 มีคา่ ประมาณเปน็ ทศนยิ มสองตาแหน่ง ไดแ้ ก่ 20.194

3) - จานวนนบั ทมี่ ากที่สดุ ท่ีมี 2,000 มีคา่ ประมาณเป็นจานวนเตม็ พัน ได้แก่ 2,499
- ทศนิยมสามตาแหน่งทนี่ อ้ ยทีส่ ุดที่มี 20.19 มีคา่ ประมาณเปน็ ทศนิยมสองตาแหน่ง ได้แก่ 20.185
ดงั น้ัน m + n = 2,499 + 20.185 = 2,519.185

ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผล
เนื่องจาก ผลบวก - ตวั บวก = ตวั ตงั้
แทนคา่ 2,519.185 - 20.185 = 2,499
ดังนนั้ 2,519.185 เป็นคาตอบของ m + n มคี วามสมเหตุสมผลจริง

ขั้นสรปุ
นักเรยี นและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้เกี่ยวกบั การแกโ้ จทย์ปญั หาเรอ่ื งการประมาณค่าได้ว่านักเรียนควรมีความรู้

เร่ืองการประมาณค่าจานวนเตม็ พันและการประมาณค่าทศนิยมสองตาแหน่ง และใช้วิธีการแก้ปัญหา 4 ข้ันตอน ได้แก่
1. ข้ันทาความเข้าใจโจทย์ 2. วางแผนแกป้ ัญหา 3. ดาเนินการแก้ปญั หา 4. ตรวจสอบผลลัพธ์ เป็นตน้

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

26

จากการวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ช้ีวัด โจทยใ์ นขอ้ นอี้ ยู่ในสาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้ืนฐานเกี่ยวกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ตี ้องการวัดและนาไปใช้
ตัวช้ีวดั ป.4/1 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเก่ียวกบั เวลา ดงั นน้ั เพ่ือใหน้ ักเรยี นเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ
และสามารถทาข้อสอบในเรื่องน้ี จงึ ให้แนวการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ให้กับนักเรยี น ดังนี้

1. ความรเู้ รือ่ งการบวกและการลบตวั เลขในรูปของเวลา
2. การบวกและลบทศนยิ ม
3. การเปรยี บเทียบและเปลี่ยนหน่วยเวลา
4. การวเิ คราะหโ์ จทย์ปญั หา
แนวการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ครแู ละนกั เรยี นสนทนาเก่ียวกับเร่อื งเวลาและการเปลย่ี นหนว่ ยเวลา เช่น 1 ชั่วโมง เปน็ 60 นาที
และเปลย่ี นตวั เลขเวลาชั่วโมง และนาที (ยกตัวอยา่ งทีห่ ลากหลาย) เพื่อทบทวนความรู้ในเรอื่ งหน่วยของเวลา
ใหก้ ับนกั เรยี น
2. ครสู นทนาเกี่ยวกับโจทยป์ ัญหาในข้อ 7. โดยใช้การวิเคราะหโ์ จทย์ปัญหา 4 ขนั้ ตอนของโพลยา่

2.1 โจทยถ์ ามอะไร (แขใช้เวลาหยุดพกั เพื่อซอ้ื ของและเติมน้ามนั กน่ี าที)
2.2 โจทย์บอกอะไรบ้าง

- แขเร่ิมเดนิ ทาง เวลา 08.30 น. และถงึ บา้ นขวญั เวลา 13.15 น. ของวันเดียวกัน
- แขใช้เวลาเดนิ ทาง 122 นาที และ 128 นาที
2.3 วางแผนการคิด และแสดงแนวคิด
นักเรียนร่วมกันแสดงแนวคดิ โดยครูใช้คาถามกระตนุ้ ความคิด จนได้แนวคดิ วา่
(เนอ่ื งจากโจทย์ถามเวลาท่หี ยุดพัก ดงั นั้น จะตอ้ งนาเวลาท่ีแขเดนิ ทางในระยะที่ 1 รวมกับเวลาในการเดินทาง
ระยะท่ี 2 ลบออกจากเวลาทแี่ ขเดนิ ทางท้ังหมด จงึ จะได้เวลาทแี่ ขหยุดพกั )

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

27

หาเวลาทัง้ หมดทใี่ ชใ้ นการเดินทางในครั้งน้ี ดงั นี้

เวลาที่เดินทางถึงบ้านขวัญ การลบเวลา กระจายจาก 1ช่ัวโมงเป็น 60 นาที
เวลาทเ่ี รม่ิ ออกเดนิ ทาง
รวมเวลาทใ่ี ชเ้ ดินทางท้งั หมด

จากโจทย์ แขใชเ้ วลาในการเดินทางระยะท่ี 1
เวลาในการเดนิ ทางระยะท่ี 2
รวมเวลาท่ีใช้เดนิ ทางในระยะท่ี 1 + 2

ดังนั้น เวลาหยดุ พัก คือ เวลาทงั้ หมด – เวลาทีเ่ ดนิ ทาง

เวลาเดนิ ทางทงั้ หมด
เวลาทใี่ ช้เดินทางในระยะที่ 1 + 2
เวลาที่หยดุ พัก

2.4 ตรวจสอบคาตอบ ชว่ั โมง นาที
เวลาในการเดินทาง 4 10 +

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

28

เวลาในการหยดุ พัก 35
เวลาในการเดนิ ทางท้ังหมด 4 45

3. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปคาตอบ คอื ข้อ 1 35 นาที

จากการวิเคราะห์มาตรฐานและตวั ชี้วดั โจทย์ในขอ้ นีอ้ ยู่ในสาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ิของรปู เรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหวา่ งรปู เรขาคณิต

และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และการนาไปใช้
ตวั ชว้ี ดั ป.5/2 จาแนกรปู ส่เี หลย่ี มโดยพิจารณาจากสมบตั ิของรูป
ความรูพ้ ้นื ฐานท่ีครตู อ้ งทบทวนเพ่ือใหน้ กั เรียนเกดิ ความเขา้ ใจและสามารถทาขอ้ สอบข้อนไ้ี ด้ คือ

1. ความหมายของเสน้ ทแยงมุม
2. ชนิดและสมบัติของเสน้ ทแยงมุมของรปู สเี่ หล่ียม
แนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

29
1. ครูและนกั เรยี นสนทนาเก่ียวกบั เรื่อง รปู ส่เี หล่ยี มชนิดต่างๆ ความหมายของเส้นทแยงมมุ
(เสน้ ทแยงมุม คือ ส่วนของเส้นตรงท่มี ีจดุ ปลายทั้งสองขา้ งอยู่ทจ่ี ดุ ยอดมุมของมมุ ตรงขา้ ม) เพ่ือทบทวนความรู้
ในเรอ่ื ง ความหมายของเสน้ ทแยงมุม
2. ครูและนักเรียนสนทนาเกย่ี วกับสมบัตขิ องเสน้ ทแยงมุมของรปู สีเ่ หลี่ยมต่างๆ โดยใช้สอ่ื ประกอบ
ในระหว่างการสนทนา เพ่ือให้เป็นรปู ธรรม และเข้าใจมากย่ิงข้นึ (เนน้ ย้าสมบตั ิของรปู ส่เี หลยี่ มทป่ี รากฏในข้อ
คาถาม คอื ส่ีเหลี่ยมรูปว่าว สี่เหลีย่ มผืนผา้ สเี่ หล่ยี มคางหมู และสีเ่ หลีย่ มด้านขนาน)
3. ครูถามเพ่ือกระตุ้นนักเรียนวา่ รูปส่เี หล่ยี มตามโจทย์ทง้ั 4 ตัวเลือก เป็นรปู ส่เี หล่ียมอะไรบ้าง
โจทยถ์ ามอะไร
4. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั พิจารณาตัวเลอื กของโจทย์ข้อนี้ และร่วมกันสรุปว่าตอบข้อ 1. สี่เหลี่ยมรปู
วา่ วมเี ส้นทแยงมุมตดั กันเปน็ มุมฉาก (ตามสมบัติของเส้นทแยงมุมของรปู สเี่ หล่ยี ม)
ตวั อย่างส่อื

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

30

จากการวเิ คราะห์ตามมาตรฐานและตัวชี้วดั โจทยใ์ นขอ้ นี้อยู่ในสาระท่ี 3 เรอื่ ง สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น
มฐ.ตชว. ค 3.1 ป.4/1 เป็นเรื่องของการอ่านแผนภูมแิ ท่งและการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา ซง่ึ เปน็ ข้อที่มีคา่
ร้อยละนักเรียนในสงั กดั สพป. นา่ น เขต 1 ตอบถูกน้อย ดังนั้นเพ่ือให้นักเรยี นเกิดความรู้ ความเข้าใจและสามารถ
ทาข้อสอบในเร่ืองนี้ จงึ ให้แนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ให้กบั นกั เรียน ดงั นี้
แนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นนา

1. ครทู บทวนความรู้เดิมเรอ่ื งการสรา้ งแผนภมู ิแท่งเปรยี บเทยี บและการวางแผนแก้ปญั หาโดยใช้
เทคนิคการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน ดังนี้

- ขน้ั ท่ี 1 ทาความเขา้ ใจโจทย์ สิ่งทโ่ี จทยก์ าหนดมาให้ และสง่ิ ทีโ่ จทย์ถาม
- ข้นั ท่ี 2 วางแผนแก้ปัญหา
- ขน้ั ที่ 3 ดาเนินการตามแผน
- ข้นั ท่ี 4 ตรวจสอบผล

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

31

ข้นั สอน
1. ครยู กตวั อย่างโจทย์ปญั หาการใชข้ ้อมูลจากแผนภูมิแท่งในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา ดังน้ี

2. ใหน้ กั เรียนชว่ ยกันแสดงวธิ ีการหาคาตอบตามขั้นตอนการแกป้ ญั หา 4 ขนั้ ตอนของโพลยา ดังน้ี

ขน้ั ท่ี 1 ทาความเข้าใจโจทย์

ส่งิ ทีโ่ จทยก์ าหนดให้

1) แผนภมู ิแสดงจานวนผเู้ ขา้ ชมรายการโทรทัศน์ในช่วงเวลาต่างๆ ของวันหนึ่งในชมุ ชนแห่งหนึง่

2) ชว่ งเวลาและจานวนผู้เขา้ ชม

3) จาแนกผู้ชมตามช่วงอายุ

สง่ิ ท่โี จทยถ์ าม

1) ช่วงเวลาที่ผชู้ มอายุ 15 ปขี นึ้ ไปชมรายการมากทีส่ ุด

ขน้ั ท่ี 2 วางแผนแกป้ ัญหา

1) สร้างตารางจาแนกชว่ งเวลา

2) รวมจานวนผูช้ มรายการที่มีอายุ 15 ปี ถงึ 30 ปี และอายุมากกวา่ 30 ปี ในแต่ละช่วงเวลา

3) เปรยี บเทยี บและหาช่วงเวลาทม่ี ีจานวนผูช้ มรายการที่มีอายุ 15 ปีขึน้ ไปที่มากทส่ี ุด

ข้นั ที่ 3 ดาเนินการตามแผน

ชว่ งเวลา อายตุ ้ังแต่ 15 ปี ถงึ 30 ปี อายุมากกวา่ 30 ปี รวม

6.01-10.00 25 20 45

10.01-14.00 30 10 40

14.01-18.00 15 20 35

18.01-22.00 15 25 40

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

32

ดังน้นั จากการเปรยี บเทียบจานวนผ้เู ข้าชมรายการโทรทัศน์ ชว่ งเวลาท่มี ีผ้ชู มรายการทม่ี อี ายุ 15ปีขน้ึ ไปมากทสี่ ุดคอื
6.01 - 10.00

ขน้ั ท่ี 4 ตรวจสอบผล
ช่วงเวลา 6.01-10.00 อายุตั้งแต่ 15 ปี ถึง 30 ปี + อายมุ ากกว่า 30 ปี เท่ากับ 25 + 25 = 45
ชว่ งเวลา 10.01-14.00 อายุตง้ั แต่ 15 ปี ถึง 30 ปี + อายุมากกว่า 30 ปี เท่ากบั 30 + 10 = 40
ชว่ งเวลา 14.01-18.00 อายุตัง้ แต่ 15 ปี ถึง 30 ปี + อายมุ ากกว่า 30 ปี เทา่ กบั 15 + 20 = 35
ชว่ งเวลา 18.01-22.00 อายุต้ังแต่ 15 ปี ถึง 30 ปี + อายมุ ากกวา่ 30 ปี เทา่ กบั 15 + 25 = 40
ดงั นน้ั จานวนผู้เขา้ ชมรายการท่มี ากทสี่ ุด คือ 45 คน ซง่ึ อยู่ในในชว่ งเวลา 6.01 – 10.00 จรงิ
ข้ันสรปุ
นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เก่ียวกับการแก้โจทย์ปัญหาในรูปแบบของการอ่านแผนภูมิแท่ง ซึ่ง
สรุปได้ว่าการแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับแผนภูมิแท่ง การเปรียบเทียบแผนภูมิแท่ง นั้น ให้นักเรียนวิเคราะห์สิ่งท่ี
โจทย์ต้องการทราบว่ามีอะไรบ้างอย่างคลอบคลุมซึ่งในโจทย์ข้อนี้ สิ่งท่ีโจทย์ต้องการทราบ คือ ช่วงเวลาท่ีผู้ชม
อายุ 15 ปีข้ึนไปชมรายการมากที่สุด ดังน้ัน คือ จานวนผู้เข้าชมรายการโทรทัศน์ที่มีอายุต้ังแต่ 15 ปี ถึง 30 ปี
และ อายุมากกวา่ 30 ปี ข้นึ ไป เปน็ ตน้

จากการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชีว้ ดั โจทยใ์ นขอ้ น้ีอยู่ในสาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวนการดาเนินการของจานวน

ผลทเ่ี กดิ ขึน้ จากการดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้
ตวั ชว้ี ัด ป.6/7 หาผลลพั ธข์ องการบวก ลบ คณู หารระคนของเศษส่วนและจานวนคละ
ตัวชี้วัด ป.6/8 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาเศษสว่ นและจานวนคละ 2 – 3 ข้นั ตอน
ความรู้พ้ืนฐานที่ครตู ้องทบทวนเพ่ือให้นกั เรยี นเกดิ ความเข้าใจและสามารถทาขอ้ สอบข้อนี้ได้ คอื

1. อัตราส่วนและสัดสว่ น
2. การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจานวนคละ
3. การเทยี บบัญญัติไตรยางศ์

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

แนวทางการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

33

1. ครูและนักเรียนสนทนาเพ่ือทบทวนความรู้ในเรอื่ ง การบวก ลบ คณู หารระคนของเศษส่วนและ

จานวนคละ พร้อมยกตวั อย่างท่ีหลากหลาย

2. ครแู ละนกั เรียนสนทนาเกยี่ วกับการเทียบบัญญัตไิ ตรยางศ์เบ้อื งต้น และเทคนิคการเทียบ

บัญญัติไตรยางค์ (เขยี นส่ิงทีต่ ้องการทราบไวท้ างดา้ นขวามือเสมอ) พร้อมยกตัวอยา่ ง

3. นกั เรยี นวเิ คราะหโ์ จทยป์ ญั หา

3.1 โจทยถ์ ามอะไร (ถงั มีความจกุ ี่ลติ ร)

3.2 โจทย์กาหนดอะไรบา้ ง 3
5
- มีนา้ มนั อยูใ่ นถงั ของความจุของถงั

- ตวงนา้ มนั ออกจากถงั ไป 40 ลติ ร
11
- เหลือนา้ มนั อยู่ 25 ของความจุของถัง

3.3 วางแผนการคิด และแสดงแนวการคดิ

วธิ ีการหาคาตอบ คอื นาน้ามันที่ตกั ออก รวมกับน้ามนั ทีเ่ หลืออยู่ รวมกับปริมาตร

ทีว่ ่าง เป็นความจทุ ัง้ หมดของถงั

ตกั ออก 40 ลติ ร

แนวคดิ 3 11
5 25

เดิม ใหม่

ตกั ออก 40 ลิตร เหลอื

3 × 5 = 15 11
5 5 25 25

ทาส่วนให้เท่ากนั กอ่ น (ตามหลกั การบวก ลบ เศษสว่ นที่มตี ัวสว่ นไม่เทา่ กนั ) เพอื่ หาส่วนทลี่ ดลงจาก
15 11 4
การตักนา้ มันออก จะได้ว่าส่วนลดลง คือ 25 − 25 = 25 ลดลงไป 4 ส่วน หรือ 40 ลติ ร

เทียบบัญญตั ิไตรยางค์ เพือ่ หาความจุของถงั

น้ามนั 4 สว่ น คดิ เป็น 40 ลิตร (ตามโจทย)์
40
ถ้านา้ มนั 1 สว่ น คิดเปน็ 4 = 10 ลติ ร
น้ามันทงั้ หมด 25 สว่ น
คดิ เป็น 10 x 25 = 250 ลิตร

4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปคาตอบของข้อน้ี คอื ถังใบน้ีมคี วามจุ 250 ลิตร

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

34

จากการวิเคราะหต์ ามมาตรฐานและตัวชี้วดั โจทย์ในขอ้ นี้อยู่ในสาระที่ 3 เรื่อง สถิติและความนา่ จะเปน็
มฐ. ตชว. ค 3.1 ป.6/1 เป็นเร่ืองของการใชข้ อ้ มูลจากแผนภูมริ ูปวงกลมในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา
ซง่ึ เป็นข้อทม่ี ีคา่ ร้อยละนักเรียนในสังกัด สพป. น่าน เขต 1 ตอบถูกน้อย ดงั น้ันเพ่ือใหน้ ักเรียนเกดิ ความรู้
ความเขา้ ใจและสามารถ ทาข้อสอบในเร่ืองน้ี จึงให้แนวการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ให้กบั นักเรยี น ดังน้ี
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นนา

1. ครทู บทวนความรู้เดมิ เรื่องการสรา้ งแผนภูมิวงกลม การอ่านแผนภมู วิ งกลม การคูณเศษสว่ น และ
การวางแผนแกป้ ัญหาโดยใช้เทคนคิ การแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน ดังนี้

- ขน้ั ท่ี 1 ทาความเขา้ ใจโจทย์ สิง่ ท่โี จทยก์ าหนดมาให้ และสิง่ ท่โี จทย์ถาม
- ขั้นที่ 2 วางแผนแกป้ ัญหา
- ขน้ั ที่ 3 ดาเนินการตามแผน
- ข้นั ท่ี 4 ตรวจสอบผล

แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

35

ข้ันสอน
1. ครูยกตัวอย่างโจทยป์ ัญหาการใช้ขอ้ มูลจากแผนภมู วิ งกลมในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ดังน้ี

แผนภูมิรปู วงกลมแสดงรายได้จากการขายข้าวของบริษัทแห่งหนึง่ ตั้งแตเ่ ดือนมกราคมถึงเดือนมถิ นุ ายน

พ.ศ.2562 กุมภาพันธ์

มกราคม 40%

มิถุนายน มีนาคม
6% พฤษภาคม
เมษายน
18% 20%

ถ้าบรษิ ทั แหง่ นี้มรี ายได้จากการขายข้าวตั้งแตเ่ ดือนมกราคมถึงเดือนมถิ ุนายนรวมกนั 1500 ล้านบาท
โดยในเดือนมกราคมและเดือนมีนาคมมีรายได้จากการขายขา้ วเทา่ กันแล้วบรษิ ัทแห่งนมี้ ีรายได้จากการ
ขายข้าวในเดือนมกราคมอยู่ก่ีลา้ นบาท

2. นกั เรียนช่วยกนั แสดงวิธีการหาคาตอบตามขัน้ ตอนการแกป้ ญั หา 4 ข้นั ตอนของโพลยา ดงั นี้
ขน้ั ท่ี 1 ทาความเข้าใจโจทย์
สงิ่ ทโ่ี จทยก์ าหนดให้
1) แผนภูมิวงกลมแสดงรายไดจ้ ากการขายข้าวของบริษทั แหง่ หนงึ่ ต้ังแต่เดือนมกราคมถงึ เดือน

มถิ นุ ายน พ.ศ.2562
2) รายไดจ้ ากการขายข้าวต้งั แตเ่ ดือนมกราคมถึงเดอื นมิถนุ ายนรวมกนั 1,500 ลา้ นบาท
3) รอ้ ยละของรายได้จากการขายข้าวเดือนกุมภาพนั ธ์ เมษายน พฤษภาคม และมิถนุ ายน
4) เดอื นมกราคมและเดอื นมนี าคม มีรายไดจ้ ากการขายขา้ วเทา่ กนั
ส่ิงทีโ่ จทย์ถาม
1) บริษทั แหง่ นี้มรี ายไดจ้ ากการขายข้าวในเดือนมกราคมอยู่กลี่ า้ นบาท

ขนั้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา
1) ตรวจสอบวา่ เดือนใดบ้างท่ีมีร้อยละของรายได้จากการขายข้าวบา้ ง
2) หาผลบวกของเดือนท่ีมีรอ้ ยละของรายไดจ้ ากการขายขา้ ว
3) นารอ้ ยละของรายได้จากการขายข้าวทั้งหมด ลบด้วยผลบวกของเดือนที่มรี ้อยละของรายได้

จากการขายข้าว เพ่ือหาร้อยละของรายไดเ้ ดือนมกราคมและเดือนมีนาคม

แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

36

4) หารายได้คิดเปน็ รอ้ ยละของเดอื นมกราคมโดยการหาผลหาร

5) เทียบบัญญตั ไิ ตรยางศ์ระหวา่ ง รายได้จากการขายขา้ วตงั้ แต่เดือนมกราคมถงึ เดือนมถิ ุนายน

รวมกนั 1,500 ล้านบาท กับรายได้เดือนมกราคมท่ีคดิ เป็นร้อยละ

ข้ันที่ 3 ดาเนนิ การตามแผน

- ตรวจสอบวา่ เดือนใดท่มี ีร้อยละจากรายได้ของการขายข้าว และหาผลบวกของเดือน

ทมี่ ีร้อยละจากรายได้ของการขายขา้ ว ดังนี้

ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. รายไดจ้ ากการขายข้าว

x √ x√√ √

- 40% - 20% 18% 6% 84%

- รายได้ทั้งหมดของการขายข้าวคดิ เปน็ ร้อยละ 100 ดงั นน้ั รายไดข้ องการขายข้าวของเดือน

มกราคมและเดือนมนี าคม เท่ากบั 100% - 84% = 16 %

- เนอื่ งจาก รายได้ของการขายข้าวของเดือนมกราคมและเดือนมนี าคมเทา่ กนั ดงั น้ันรายได้ของ

เดือนมกราคม เทา่ กับ 16  2 = 8 % หรือ 8
100
- ถ้าบริษัทแหง่ น้ีมรี ายไดจ้ ากการขายขา้ วตงั้ แต่ เดือนมกราคม – มิถุนายน รวมกัน 1,500 ลา้ นบาท

ดังนน้ั รายไดจ้ ากการขายขา้ ว เดอื นมกราคม มีคา่ เท่ากับ 8 x 1,500 = 120 ล้านบาท
100
ขนั้ ที่ 4 ตรวจสอบผล

เดอื น ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. รายได้จากการ

ขายขา้ วทง้ั หมด

รายได้จาก × , × , × , × , × , × , × ,
การขาย
ข้าวแต่ละ 120 600 120 300 270 90 1,500
เดอื น

จากตาราง ผลรวมของรายได้จากการขายขา้ วทั้งหมดของบริษัทแห่งหนึ่งตั้งแต่ เดือนมกราคม –
มถิ นุ ายน เท่ากบั 120 + 600 + 120 + 300 + 270 + 90 = 1,500 ล้านบาท ดงั น้นั 120 ล้านบาท
เปน็ รายได้ของเดือนมกราคม จรงิ
ขั้นสรุป

นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการใช้ข้อมูลแผนภูมิวงกลมในการหาคาตอบของโจทย์
ปัญหาน้ันนักเรียนต้องมีความรู้เรื่องการสร้างแผนภูมิวงกลม การอ่านแผนภูมิวงกลม การคูณเศษส่วน
และการวเิ คราะหโ์ จทยป์ ัญหา 4 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ ข้ันท่ี 1 ทาความเข้าใจโจทย์ ส่ิงท่ีโจทย์กาหนดมาให้ และส่ิงท่ี
โจทยถ์ าม ขั้นท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ขน้ั ที่ 3 ดาเนินการตามแผน ข้ันที่ 4 ตรวจสอบผล เปน็ ต้น

แนวทางการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

ใบงานท่ี 1 แบบวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบ O-

คาช้ีแจง : วิเคราะห์รายงานผลการทดสอบ O-NET ฉบับท่ี 5 (ค่าสถิตสิ าหรบั โรงเรียนแยกตามส

จงั หวัด สังกดั เพือ่ สะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนของครู

ชอ่ื สถานศกึ ษา ...............................................................................................................................

ขนาดโรงเรียน  เล็ก  กลาง  ใหญ่  ใหญ่พิเศษ ทาเลทต่ี ั้ง  ในเมือง  นอกเม

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์  วิทยาศาสตร์  ภาษาไทย  ภาษาตา่ งประเทศ  ส

โรงเรยี น (1) คะแนนเฉลยี่ (Mean) จาแนกตามระดบั

ให้ปดั ทศนยิ มเป็นเลขจานวนเตม็

สาระ คะแนน อันดบั ขนาด ทตี่ ั้ง จังหวัด สังกัด ภา
(2) (3) (4) (5) (6

สาระท่ี 1 ..............................................

สาระที่ 2 ..............................................

สาระท่ี 3 ..............................................

สาระที่ 4 ..............................................

สาระที่ 5 ..............................................

สาระท่ี 6 ..............................................

สาระที่ 7 ..............................................

สาระท่ี 8 ..............................................

รวมทงั้ วชิ า

หมายเหตุ

ระดับดีมาก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรยี นสงู กว่ารอ้ ยละ 50 และสูงกวา่ ระดับประเทศ ระดบั พ

ระดับดี หมายถึง คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนสงู กวา่ ร้อยละ 50 แต่ต่ากว่าระดับประเทศ ระดับป

(1) แขง่ กบั ตัวเอง (โดยเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลยี่ (Mean) ของแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นร้ใู นโรงเรยี น แ

(2) แข่งกับเพอ่ื น (โดยเปรยี บเทียบคะแนนเฉลยี่ (Mean) ของโรงเรยี นกบั ขนาดโรงเรียนเดยี วกนั ทตี่ ัง้ เ

สาหรบั ครูผสู้ อน
-NET ระดบั สาระ ในวิชาท่สี อน ระดบั ชน้ั ป.6 ม.3
สาระ) แล้วนาคะแนนเฉล่ียของโรงเรยี นมาเปรยี บเทียบกบั คะแนนเฉล่ยี ระดบั ขนาด

....................................กลมุ่ โรงเรียน................................................................................................

มอื ง

สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ผลต่างคะแนนเฉล่ยี เมื่อเปรียบเทยี บกบั ระดับผลคะแนน

คะแนนเฉลย่ี ระดับ (+,-) O-NET

าค ประเทศ ขนาด ท่ีตั้ง จังหวัด สงั กดั ภาค ประเทศ

6) (7) (1)–(2) (1)–(3) (1)–(4) (1)–(5) (1)–(6) (1)–(7) ีดมาก
ีด
พอใช้
ป ัรบป ุรง

พอใช้ หมายถงึ คะแนนเฉลีย่ ระดบั โรงเรียนตา่ กวา่ รอ้ ยละ 50 แต่สูงกว่าระดบั ประเทศ 37
ปรบั ปรงุ หมายถึง คะแนนเฉล่ยี ระดับโรงเรยี นต่ากว่าร้อยละ 50 และต่ากว่าระดบั ประเทศ
แลว้ เรียงอนั ดับคะแนนเฉลย่ี ของวชิ าทไี่ ด้มากทส่ี ดุ ลงไปถึงนอ้ ยที่สดุ ตามลาดบั
เดยี วกนั เขตพ้นื ทเี่ ดียวกนั สังกดั เดียวกนั ภาคเดยี วกัน และระดับประเทศ

ใบงานท่ี 2 แบบวเิ คราะห์ผลการทดสอบ O-NET ระดับมา

คาชี้แจง : วิเคราะหร์ ายงานผลการทดสอบ O-NET ฉบบั ที่ 2 (ค่าสถติ สิ าหรับโรงเรยี นแยกตามม

ระดับ ขนาด จงั หวดั สังกดั เพอ่ื สะท้อนผลการจัดการเรยี นการสอนของครู

ชื่อสถานศกึ ษา ...............................................................................................................................

ขนาดโรงเรยี น  เลก็  กลาง  ใหญ่  ใหญ่พิเศษ ทาเลที่ต้ัง  ในเมือง  นอกเม

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์  วทิ ยาศาสตร์  ภาษาไทย  ภาษาต่างประเทศ  ส

โรงเรียน (1) คะแนนเฉลีย่ (Mean) จาแนกตามระดบั

ใหป้ ดั ทศนิยมเป็นเลขจานวนเต็ม

มาตรฐาน คะแนน อันดับ ขนาด ท่ตี ั้ง จังหวัด สงั กดั ภา
(2) (3) (4) (5) (6

มาตรฐาน..............................................

มาตรฐาน..............................................

มาตรฐาน..............................................

มาตรฐาน..............................................

มาตรฐาน..............................................

มาตรฐาน..............................................

มาตรฐาน..............................................

มาตรฐาน..............................................

มาตรฐาน..............................................

รวมทั้งวชิ า

หมายเหตุ

ระดบั ดมี าก หมายถงึ คะแนนเฉลีย่ ระดบั โรงเรียนสงู กว่ารอ้ ยละ 50 และสงู กว่าระดับประเทศ ระดับพ

ระดบั ดี หมายถงึ คะแนนเฉล่ียระดับโรงเรียนสูงกว่าร้อยละ 50 แตต่ า่ กว่าระดับประเทศ ระดบั ป

(1) แข่งกบั ตัวเอง (โดยเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลีย่ (Mean) ของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรใู้ นโ

(2) แขง่ กบั เพือ่ น (โดยเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี (Mean) ของโรงเรยี นกบั ขนาดโรงเรยี นเดยี

สาหรับครผู สู้ อน

าตรฐานการเรียนรใู้ นแต่ละสาระ ในวชิ าทีส่ อน ระดบั ช้นั ป.6 ม.3
มาตรฐานการเรยี นรู้) แลว้ นาคะแนนเฉล่ยี ของโรงเรยี นมาเปรยี บเทียบกบั คะแนนเฉลย่ี

....................................กลุม่ โรงเรียน................................................................................................

มือง

สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ผลตา่ งคะแนนเฉลี่ย เมอื่ เปรยี บเทียบกบั ระดับผลคะแนน

คะแนนเฉลี่ยระดับ (+,-) O-NET

าค ประเทศ ขนาด ทีต่ งั้ จงั หวดั สังกัด ภาค ประเทศ

6) (7) (1)–(2) (1)–(3) (1)–(4) (1)–(5) (1)–(6) (1)–(7) ีดมาก
ีด
พอใช้
ปรับป ุรง

พอใช้ หมายถงึ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรยี นตา่ กวา่ รอ้ ยละ 50 แต่สงู กว่าระดับประเทศ
ปรบั ปรุง หมายถึง คะแนนเฉล่ียระดบั โรงเรียนต่ากวา่ ร้อยละ 50 และต่ากว่าระดับประเทศ
โรงเรียน แลว้ เรยี งอันดบั คะแนนเฉลยี่ ของวชิ าท่ีได้มากทสี่ ดุ ลงไปถึงน้อยที่สดุ ตามลาดับ

ยวกนั ท่ตี ้ังเดยี วกัน เขตพืน้ ทเ่ี ดยี วกนั สงั กัดเดียวกนั ภาคเดียวกัน และระดับประเทศ

38

39

ใบงานท่ี 3 การวเิ คราะห์ปัจจัยดา้ นผูเ้ รยี น สาหรบั โรงเรียน

แบบวเิ คราะหเ์ งื่อนไข / ปจั จัยด้านนักเรยี น ทสี่ ่งผลตอ่ การจัดการเรียนรู้

ชอ่ื สถานศกึ ษา ........................................................................................กลุ่มโรงเรยี น........................................................

ขนาดโรงเรียน  เล็ก  กลาง  ใหญ่  ใหญพ่ เิ ศษ

คาชีแ้ จง : ใหว้ ิเคราะห์สาเหตุ / ปจั จยั ดา้ นนกั เรยี น ทสี่ ง่ ผลใหผ้ ลการทดสอบ O-NET ตา่ และสูง

พฤตกิ รรม เงือ่ นไขท่ีทาให้ O-NET ตา่ เงื่อนไขท่ีทาให้ O-NET สงู

 ไม่สนใจเรียนและเบือ่  ตงั้ ใจเรยี น

 ไม่มีสมาธิในการเรียน  มีเจตคตทิ ่ีดีต่อรายวิชา

 มอี คติต่อรายวิชา  เห็นความสาคญั ของการสอบ O-NET

 ไมเ่ หน็ ความสาคัญของการสอบ O-NET อื่นๆ ...............................................................

อ่นื ๆ ............................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

Input/จติ ใจ ....................................................................... .......................................................................

Awareness ....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .....................................................................

....................................................................... ......................................................................

....................................................................... ........................................................................

นกั เรียน ....................................................................... .......................................................................

 ขาดเรยี นบ่อย  สรา้ งสมาธิก่อนเรยี น

 ไม่มีทักษะการคดิ วเิ คราะห์  ไม่ขาดเรียน

 ขาดความรับผดิ ชอบ  มีความรับผิดชอบในการเรยี น

 ขาดการทบทวนบทเรยี น  ทบทวนบทเรียน

อื่นๆ ............................................................... อน่ื ๆ ...............................................................

Process/วิธีการ ....................................................................... .......................................................................

พฤติกรรมการเรยี น ....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

40

สาหรบั โรงเรียน
ใบงานท่ี 4 แบบตรวจสอบพฤตกิ รรมของนกั เรียน และพฤติกรรมการสอนของครู
คาช้ีแจง : ให้ทาเคร่ืองหมาย  ทตี่ รงกับพฤติกรรมการเรยี นทเ่ี กิดข้นึ ในชน้ั เรียน

ท่ี รายการ พฤตกิ รรม ข้อเสนอแนะ
ทา ไมท่ า
1 ใหน้ ักเรยี นทบทวนบทเรยี นก่อนเรยี นจากการอ่านโน้ตย่อ/ทาการบ้าน/
มกี ารสอบPretest/ถามเนอ้ื หาทีเ่ รียนคาบที่แล้ว/เฉลยการบา้ นให้นกั เรยี น
เขา้ ใจมากข้นึ

2 มกี ารกระตนุ้ ให้นักเรยี นสนใจจะเรยี นเนอื้ หาใหม่
3 มกี ารกระตุ้นใหน้ ักเรียนกระตือรือรน้ ในการปฏบิ ตั ิ
4 ใหน้ ักเรยี นมีสมาธิในการฟัง ฟังอย่างตง้ั ใจ (สุ)
5 ใหน้ ักเรียนฟังแลว้ คิด (จิ)
6 ใหน้ กั เรียนถามเม่ือไม่รู้ ไม่เข้าใจ (ป)ุ
7 ให้นักเรยี นจดเม่ือเกิดการเรียนรูแ้ ละเข้าใจแล้ว (ล)ิ
8 ให้นักเรียนแลกเปลย่ี น (Share) เรียนรู้ (Learn) ชว่ ยเหลอื กนั

ในการทากจิ กรรมกล่มุ
9 ให้นักเรียนนาเสนอผลงาน ครูผ้สู อนสะท้อนผล อภิปราย และสรปุ

รว่ มกับนกั เรยี น
10 มกี ารสอบเก็บคะแนนเป็นระยะๆตามตัวชว้ี ัด ใน ปพ.5
11 ใช้กระดาษคาตอบ O-NET ในการสอบในห้องเรียน (กลางภาค/ปลายภาค)
12 ใหน้ ักเรยี นไดฝ้ ึกการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น สง่ิ ที่นักเรียนไดเ้ รยี นรู้

ในวิชาตา่ งๆ ครบ 5 ตัวช้วี ัด ทีก่ าหนดในหลักสูตร
(ตัวชี้วัดการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขยี น)
13 มกี ารพฒั นาและประเมินใหผ้ ู้เรียนมีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ครบ 8
คณุ ลักษณะ ที่กาหนดในหลักสูตร

ท่ี แบบสารวจพฤตกิ รรมของครู การเตรยี มความพร้อมในการสอบ O-NET พฤติกรรม ข้อเสนอแนะ
ทา ไมท่ า
กอ่ นสอบ O-NET
1 ศึกษาผงั การออกข้อสอบ (Test Blueprint) และนาไปใช้ในการสอน
2 ศึกษาตัวอย่างข้อสอบ รปู แบบขอ้ สอบ และนาไปใช้ในชนั้ เรียน
3 ศกึ ษาตัวอยา่ งกระดาษคาตอบ และนาไปใช้
4 ศึกษาวิธี รปู แบบการตอบขอ้ สอบ และนาไปสอนนักเรยี น
หลังสอบ O-NET และประกาศผลคะแนน
5 ศกึ ษาข้อสอบ เฉลยข้อสอบ เพ่อื ทบทวนหรอื หาสาเหตุทท่ี าให้คะแนนสงู

หรือต่าในแต่ละมาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชีว้ ัด
6 ใช้ผลคะแนน O-NET เป็นแนวทางในการวางแผนเพื่อปรับปรงุ การสอน

41

สาหรบั โรงเรียน

ใบงานท่ี 5 การวเิ คราะหป์ ัจจัยดา้ นครู
แบบวเิ คราะห์เงื่อนไข / ปัจจัยดา้ นครู ท่สี ่งผลตอ่ การจดั การเรยี นรู้
ชื่อสถานศึกษา ...........................................................................กลมุ่ โรงเรยี น....................................................
ขนาดโรงเรยี น  เล็ก  กลาง  ใหญ่  ใหญพ่ เิ ศษ
คาช้แี จง : ให้วิเคราะห์สาเหตุ / ปจั จยั ด้านครู ทสี่ ง่ ผลให้ผลการทดสอบ O-NET ตา่ และสูง

พฤติกรรม เงอื่ นไขทท่ี าให้ O-NET ตา่ เง่ือนไขท่ีทาให้ O-NET สงู

 ขาดขวัญกาลังใจ  มีใจรักในหน้าที่

 ท้อแท้ในการสอน  สรา้ งกาลงั ใจใหแ้ ก่ตนเอง

 เบอื่ หนา่ ยกบั งานและการประเมิน  ปรบั ทัศนคติในแง่ดี คิดบวก

อน่ื ๆ ...............................................................  มงุ่ มน่ั พัฒนา เอาใจใส่นักเรยี น

....................................................................... อน่ื ๆ ...............................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

Input/จติ ใจ ....................................................................... .......................................................................
Awareness
....................................................................... .......................................................................
ครู
....................................................................... .......................................................................
Process/วธิ ีการ
พฤติกรรมการสอน ....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .....................................................................

....................................................................... .....................................................................

...................................................................... ......................................................................

 ไมเ่ ตรียมการสอน ไม่ทุ่มเทใหก้ บั งานสอน  ครใู ห้การเสริมแรงทางบวกแกน่ ักเรยี น

 เนน้ ผลงาน เอกสาร  ปรบั ปรงุ การสอนใหน้ ่าสนใจ ใชส้ อื่

 ไมใ่ ชส้ ื่อ นวตั กรรมประกอบการสอน  แนะนาวิธกี ารทาข้อสอบให้นกั เรยี น

 ขาดทักษะการสอนทีด่ ี  วิเคราะห์ข้อสอบ/นักเรียนรายบคุ คล

 ไมว่ เิ คราะหผ์ ู้เรียน อ่ืนๆ ...............................................................

อนื่ ๆ ............................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... ......................................................................

....................................................................... ......................................................................

42

สาหรับโรงเรยี น

ใบงานท่ี 6 การวิเคราะห์ปัจจัยด้านผบู้ รหิ าร
แบบวเิ คราะห์เงื่อนไข / ปจั จัยดา้ นผบู้ รหิ าร ที่สง่ ผลต่อการจัดการเรียนรู้
ชอื่ สถานศึกษา ........................................................................................กลมุ่ โรงเรยี น.....................................................
ขนาดโรงเรยี น  เล็ก  กลาง  ใหญ่  ใหญพ่ ิเศษ
คาชแ้ี จง : ให้วิเคราะห์สาเหตุ / ปัจจยั ด้านผู้บรหิ าร ท่ีสง่ ผลใหผ้ ลการทดสอบ O-NET ตา่ และสูง

พฤติกรรม เงื่อนไขท่ีทาให้ O-NET ตา่ เงอ่ื นไขท่ีทาให้ O-NET สูง

 ไมเ่ อาใจใส่ ไมใ่ หก้ าลังใจครู  ให้กาลังใจครู ให้ความสาคัญกับครู

 จติ ใจไมเ่ ขม้ แขง็ สภาพอารมณแ์ ปรปรวน  มีคณุ ธรรม จิตใจเปน็ กลาง เปดิ กวา้ ง

 ไมย่ อมรบั ฟังผู้อ่นื  ยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของครู

 ขาดความกระตือรอื รน้ ในการบริหาร  เอาใจใส่นักเรียน

 ไมเ่ ห็นความสาคัญของการสอบ O-NET อนื่ ๆ ...............................................................

อนื่ ๆ ............................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

Input/จติ ใจ ....................................................................... .......................................................................

Awareness ....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .....................................................................

....................................................................... ......................................................................

ผ้บู รหิ าร ...................................................................... ......................................................................

 ขาดการนิเทศ ตดิ ตามการสอน  สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมการสอน

 ขาดทกั ษะในการบรหิ ารงานในโรงเรียน  นิเทศ ตดิ ตามการสอน

 มีนโยบายไมช่ ัดเจน  มเี ป้าหมาย แผนการบริหารทช่ี ัดเจน

อนื่ ๆ ............................................................... อน่ื ๆ ...............................................................

........................................................................ .......................................................................

Process/วธิ กี าร ........................................................................ .......................................................................

พฤติกรรมการบริหาร ........................................................................ .......................................................................

........................................................................ .......................................................................

........................................................................ .......................................................................

........................................................................ .......................................................................

........................................................................ .......................................................................

........................................................................ ......................................................................

........................................................................ .........................................................................

........................................................................ ..................................................................

43

แบบนเิ ทศ ตดิ ตามเพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ระยะท่ี ๑
ครงั้ ท่.ี .........วันท.ี่ ..........เดอื น..........................พ.ศ.....................ปกี ารศึกษา ๒๕6๓

โรงเรยี น..............................................กลุ่มโรงเรยี น.................................อาเภอ..............................
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต ๑

ผูน้ ิเทศ ........................................................................................................................... ............................
ผรู้ ับการนเิ ทศ ช่อื ......................................................................สอนช้ัน.........................................................

คาชแ้ี จง
แบบนิเทศ ติดตามการยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จดั ทาเพื่อใช้ประกอบการนเิ ทศ ตดิ ตาม

การยกระดับการผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น (O-NET/NT) กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ของโรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๑

ท่ี รายการ บันทกึ ผลการดำเนินการ

๑. ดา้ นการวเิ คราะห์ผลการทดสอบ O-NET …………………………………………………………………………..
1.1 มกี ารวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบ O-NET รายสาระ …………………………………………………………………………..
รายมาตรฐาน รอ้ ยละของผู้เรียนท่ตี อบถูกรายข้อ และ …………………………………………………………………………..
สรุปสิ่งทจี่ ะตอ้ งดาเนนิ การส่งเสริม/แก้ไขปรบั ปรุง …………………………………………………………………………..
เร่งดว่ นและไดน้ าไปใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………
1.2 มกี ารวเิ คราะห์หาสาเหต/ุ ปัจจัยท่สี ง่ ผลใหผ้ ลการ …………………………………………………………………………..
สอบ O-NET สงู ขน้ึ และได้นาสารสนเทศไปใช้วางแผน ………………………………………………………………………….
ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน …………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..

๒. การนาผลการวเิ คราะหก์ ารทดสอบ O-NET ไปใชใ้ นการ …………………………………………………………………………
จัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………..
2.1 มกี ารสร้างความตระหนกั ให้แกน่ ักเรยี น(เช่นครู …………………………………………………………………………..
แนะนานักเรียนดผู ลการสอบของตนเองเป็นรายบุคคล …………………………………………………………………………..
หรอื ครแู บง่ กลมุ่ นักเรียนพิจารณาคะแนนรายบุคคล …………………………………………………………………………..
แนะนาการวางแผนการเรียนหรือวธิ กี ารอนื่ ๆในการ …………………………………………………………………………..
สร้างความตระหนักใหแ้ ก่นกั เรียน)


Click to View FlipBook Version