การเขียนหนังสือ/ตารา
(Electronic; E-Book)
ศ.นพ.สมบรู ณ์ เทยี นทอง
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
คุณกมลพร อรรคฮาต
ศนู ย์นวตั กรรมการเรียนการสอน มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
04-2021
ประกาศ ม.ขอนแก่น เร่ือง หลกั เกณฑ์การให้ทนุ สนบั สนนุ การผลติ ตาราใหม่ พ.ศ. 2563
เพ่ือสง่ เสริมให้คณาจารย์ผลติ ตารา..เพ่ือใช้ในการเข้าสตู่ าแหนง่ ทางวิชาการในระดบั สงู ขนึ ้ ..
ข้อ 12.1 การเผยแพร่…อาจอยใู่ นรูปแบบสง่ิ พมิ พ์ และหรือ อิเลก็ ทรอนิกส์
ปัญหาในการเผยแพร่และการจดั เกบ็ ข้อดีของ E-book
E-Book: electronic Book คอื หนงั สือท่ีสร้างขนึ ้ ด้วยโปรแกรม ผู้ผลิตและผู้จดั จาหน่วย
คอมพิวเตอร์ มีลกั ษณะเป็นเอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ที่สามารถอา่ น -สะดวกต่อการจดั พิมพ์ /จดั เก็บ
ผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทงั้ ในระบบออฟไลน์และออนไลน์ ไ-สด้าตมลาอรดถเปวลรับาปรุงข้อมลู ให้ทนั สมยั
-ต้นทนุ ไมแ่ พง
วตั ถุประสงค์: - เผยแพร่ได้หลายช่องทาง
เพื่อส่งเสริมใหค้ ณาจารย.์ ...ผลิตตาราในรูปแบบ e-book ผู้อ่าน
(การจดั ทา, ช่องทางการเผยแพร่) -สะดวก แคม่ ีคอมพิวเตอร์แบบ
พกพาก็สามารถพกหนงั สอื ได้ทีละ
หลาย เลม่
หบ้รอิกงาสรม/กุดา:รดสแูะลดซวกอ่ กมาแรซจมดั เก็บ/
หัวข้อบรรยาย มี 3 ประเดน็
ประเดน็ ที่ 1: E-book กบั การขอตาแหน่งวชิ าการ
1. E-book ขอตาแหน่งทางวิชาการไดห้ รือไม่
2. เกณฑท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งในการใชห้ นงั สือ/ตารา เพอ่ื ขอกาหนดตาแหน่ง
ประเดน็ ท่ี 2: การเตรียมต้นฉบบั
1. จะเริ่มตน้ เขียนหนงั สือ/ตาราอยา่ งไร
2. การตรวจสอบและแกไ้ ขตน้ ฉบบั
ประเดน็ ท่ี 3: การจัดทาเป็ น E-book - คุณกมลพร
(มีคนช่วยทา หรือรับทาให)้
ประเดน็ ที่ 1: 1. E-book ขอตาแหน่งทางวชิ าการได้หรือไม่
ประกาศ ก.พ.อ .๒๕๖๐ เอกสารแนบท้ายประกาศ ๖.๔.๑-๒ ตารา/หนังสือ
หัวข้อ: การเผยแพร่ ข้อ ๓.
การเผยแพร่ e-book โดยสานักพมิ พ์ซ่ึงเป็ นที่ยอมรับและเป็ นไปอย่างกว้างขวางมากกว่า
ใช้ในการเรียนการสอน ? (กองฯ ทรัพยากรบุคคล- ยงั ไม่มี ท่านใดยน่ื ขอ)
E-book ของท่านจะขายหรือไม่? ขาย: การเผยแพร่ผ่าน Website ของ
- ศูนยห์ นงั สือ จุฬา
- ศูนยส์ ่ือการเรียนรู้มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
ไม่ขาย: การเผยแพร่ผ่าน Website ของ (UKKU SHOP) (ศูนยห์ นงั สือ มข.เดิม)
- สานักนวตั กรรม มข. ขายผา่ น Shopee (ยงั ขายไดน้ อ้ ย)
- สานักวทิ ยบริการ มข.
- ห้องสมุดคณะฯ......
กว้างขวาง? - ความเห็น กก. กพว?
- อ่ืนๆ....?
- ตามบริบท มข.?
การเตรียมเอกสารเพื่อยื่นขอกาหนดตาแหน่ง
1-เป็ นรูปเล่ม(Hard copy=20 เล่ม?) ร่วมกบั CD (Handy/Flash drive+ Link URL)
2-เป็ นรูปเล่มอย่างเดยี ว (สิ่งพมิ พ์)
3-เป็ น CD (Handy/Flash drive) หรือ Link URL อย่างเดยี ว (ไม่แนะนา-ผู้ทรง?)
2. เกณฑ์ท่เี กย่ี วข้องในการใช้หนังสือ/ตารา เพื่อขอกาหนดตาแหน่ง
2.1 ระดบั ใด(ใคร)ทต่ี ้องใช้หนังสือ/ตารา
2.2 หนงั สือ/ตารา ตา่ งกนั อยา่ งไร
2.3 จานวน 1 เลม่ แปลวา่ อะไร
2.4 เกณฑป์ ระเมิน [(เก่า: ดีเด่น–ดีมาก–ดี); (ใหม่: A+,A,B+,B)]
ระดับตาแหน่ง วจิ ัยอย่างเดยี ว วจิ ัย + ตารา/หนังสือ**
(ท่านเลือกได้) ผศ. 5.1.3(4)* 2 เร่ือง 1 เรื่อง + 1 เล่ม - (ดี)(B)
รศ. 5.2.3(วิธี1) วธิ ีที่ 2 2 เร่ือง + 1 เล่ม - (ดี)(B+)
ศ. 5.3.3(วธิ ี1) วธิ ีที่ 2 5 เรื่อง + 1 เล่ม- (ดมี าก)(A)
* ระดบั ผศ.ไม่แนะนาใหใ้ ชห้ นงั สือ/ตารา
**สงั คมศาสตร์และมนุษยศ์ าสตร์เพ่มิ จานวนเลม่ ข(อปงรหะนกงัาสศือก/.ตพา.รอา.แ2ท5น60ว)จิ ยั ได้
2.2 หนังสือ/ตารา ต่างกนั อย่างไร
ตารา ความยากง่าย? หนังสือ
คานิยาม: คานิยาม:
ผลงานทางวชิ าการที่เรียบเรียงอยา่ งเป็น
ระบบ ครอบคลมุ เนือ้ หาสาระของวิชาหรือ ผลงานทางวชิ าการทีเ่ รียบเรียงขนึ ้ โดยมี
หรือเป็นสว่ นหนง่ึ ของวิชาหรือของหลกั สตู รใน รากฐานทางวชิ าการทม่ี น่ั คง และให้ทศั นะของ
ระดบั อดุ มศกึ ษา ผ้เู ขยี นทส่ี ร้างเสริมปัญญาความคดิ และสร้าง
ความแขง็ แกร่งทางวชิ าการให้แก่สาขาวชิ า
รูปแบบ: นนั้ ๆ และ/หรือสาขาวิชาทเี่ ก่ียวเนอื่ ง มคี วาม
เป็นรูปเลม่ ที่ประกอบด้วย คํานํา สารบญั ตอ่ เน่ืองเชื่อมโยงในเชงิ เนอื ้ หา และครอบคลมุ
เนือ้ เร่ืองการอธิบายหรือการวิเคราะห์ สรุป โดยไม่จาเป็ นต้องสอดคล้องหรือเป็นไปตาม
การอ้างอิง (บรรณานกุ รม) และ Index ข้อกําหนดของหลกั สตู ร หรือของวิชาใดวิชา
หนงึ่ ในหลกั สตู ร และไมจ่ ําเป็นต้องนําไปใช้
การเผยแพร่ ebook: 1) สานักพมิ พ์ ประกอบการเรียน การสอนในวชิ าใดวิชาหนง่ึ
มาตรฐาน 2) กว้างขวาง? ทงั้ นีเ้นือ้ หาสาระของหนงั สือต้องมคี วาม
ทนั สมยั เมื่อ พจิ ารณาถงึ วนั ทจี่ ดั พิมพ์
2.3 จานวน 1 เล่ม แปลว่าอะไร
อา้ งอิงจาก กพอ 2563 แนบทา้ ยขอ้ 6.4.2-หนงั สือ
ตารา E-book
หนังสือ ขาย?
หมายเหตุ:
หากหนงั สือเล่มที่ยนื่ ประเมินมีผนู้ ิพนธ์หลายท่าน
ใหน้ าเฉพาะบทที่ท่านนิพนธ์ มายนื่ พร้อมกบั ปก สารบญั คานา และIndex
2.4 เกณฑ์ประเมิน เกณฑ์เก่า (ดเี ด่น–ดมี าก– ด)ี
ผศ./รศ. เหหตมนาอื ังรนสากือ/ ัน
ศ.
จะเลกิ ใช้ปี 2565
(ท่านเลือกได้ว่าจะใช้แบบเก่าหรือใหม่)
เกณฑ์ใหม่ (A+, A, B+, B)_ตารา (ไม่มีประสบการณ์ประเมนิ ด้วยเกณฑ์ใหม่)
แยกดีมาก
ผศ. B+, A
รศ.
มสีผอลดตแ่อทกรากร
ประสบการณ์
ศ.
คือ Ref?
นหานนังาสชือา:ติ
ผู้ทรงคุณวุฒจิ ะประเมิน อะไรบ้าง
มาตรฐาน (ภายนอก) คุณภาพ (ภายใน)
กรณีส่งเป็นเล่ม (+/- CD) • ถูกตอ้ ง: Critical error, New Theory?
• รูปลกั ษณ์ (รูปเล่ม / ขนาด? )
• ตามรูปแบบหนงั สือ/ตารา Typing error (รวม Ref) -นอ้ ย
• ปริมาณ..5..บท (80 หนา้ )
• เผยแพร่โดยสานกั พมิ พ.์ .? ตวั หนงั สือ/รูป/ตาราง – คมชดั
• จานวนท่ีพิมพ.์ ..เล่ม(E-book)
• ครบถว้ น/ทนั สมยั (รวม Ref)
• จรรยาบรรณ-Plagiarism ?
• แนวคิด/เขียน (Style ชดั เจน)
(อ่านง่าย เขา้ ใจ ไม่น่าเบ่ือ)
แทรกประสบการณ์/วจิ ยั (+)
• เป็นประโยชน์ต่อวงการ ? (+)
• วเิ คราะห์ไดค้ วามรู้ใหม่ (++)
ประเภทของ E-book
หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ แบ่งออกเป็ น 10 ประเภท ดังนี้
1. Textbooks แปลงขอ้ มูลจากตวั เล่มเป็นสญั ญาณดิจิทลั และมีปฏิสมั พนั ธ์
ระหวา่ งผอู้ ่านกบั หนงั สือ เช่น การเปิ ดหนา้ หนงั สือ การสืบคน้ การคดั เลือก
ขอ้ ความท่ีตอ้ งการ
2. Talking Books นาเสนอเน้ือหาเป็นตวั อกั ษรและเสียง
3. Static Picture Books อลั บ้มั ภาพ สามารถคน้ หา ขยายหรือยอ่ ขนาดของภาพ
มี Linking information เช่น เชื่อมขอ้ มูลอธิบายเพมิ่ เติม เช่ือมขอ้ มูลเสียงประกอบ
4. Moving Picture Books เป็น Video Clips, Films Clips ผสมกบั Text
Information
5. Multimedia เป็นสื่อผสมระหวา่ งสื่อภาพ ท้งั ภาพน่ิงและเคลื่อนไหว กบั สื่อ
ประเภทเสียง
6. Polymedia books คลา้ ยกบั สื่อประสม แต่มีความหลากหลายในดา้ นความ
เช่ือมโยงขอ้ มูลภายในเล่ม
ประเภทของ E-book
7. Hypermedia Books มี Internal Information Linking ยงั สามารถเชื่อมโยงกบั
แหล่งเอกสารภายนอก เมื่อเช่ือมต่อระบบอินเทอร์เน็ต
8. Intelligent Electronic Books ใชโ้ ปรแกรมช้นั สูงที่สามารถปฏิสมั พนั ธ์กบั
ผอู้ ่านเสมือนหนงั สือมีสติปัญญา (อจั ฉริยะ)
9. Telemedia Electronic Books คลา้ ยกบั Hypermedia Electronic Books แต่
เนน้ การเชื่อมโยงกบั แหล่งขอ้ มูลภายนอกผา่ นระบบเครือขา่ ย (Online
Information Sources)
10. Cyberspace Books มีหลายๆ รูปแบบผสมกนั สามารถเช่ือมโยงแหล่งขอ้ มูล
ท้งั จากแหล่งภายในและภายนอก สามารถปฏิสมั พนั ธ์กบั ผอู้ ่านไดห้ ลากหลาย
อยากเห็น E-Book แบบไหน:
1. Basic: เป็น Textbooks ท่ี
-มีสีสนั สวยงามของ ปก(4 สี) หวั ขอ้ ตาราง และรูป(ภาพนิ่ง)
-มีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผอู้ ่านไดโ้ ดยการเปิ ดหนา้ หนงั สือ
2. Basic Plus: มีปฏิสมั พนั ธก์ บั ผอู้ ่านไดบ้ า้ ง
-มีภาพเคลื่อนไหว เช่น Pain pathway/ Immune response
-อธิบายขอ้ มูลเพ่มิ เติม ดว้ ยตวั อกั ษร ภาพหรือเสียง (VDO clip; QR code)
-มีการเช่ือมโยงขอ้ มูลภายใน เช่นจากเลขหนา้ สารบญั ไปบทต่างๆ, Link จาก
keywords ไปคาอธิบาย และสืบคน้ ขอ้ มูลได้
-อ่ืนๆ: ยอ่ -ขยายรูป/ตารางได้ คดั ลอกขอ้ ความได้
3. Advanced (Interactive): มีปฏิสมั พนั ธก์ บั ผอู้ ่านไดม้ ากข้ึน (อจั ฉริยะ)
-เช่ือมโยงกบั แหล่งเอกสารภายนอกเล่มท่ีหลากหลายเมื่อเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
เช่น linkไป References
-ทาแบบทดสอบได้ – กรณีของตารา (QR code, Online เช่น CITI)
-อื่นๆ
ตัวอย่าง E-book: Basic
https://online.fliphtml5.com/ekufz/yola/#p=1 ศูนย์หนังสือจุฬาฯ
https://online.fliphtml5.com/ekufz/maaj/#p=4
ตวั อย่าง E-book: Basic Plus เสยี งประกอบภาพ
ตวั อย่าง E-book: Advanced
https://nba.uth.tmc.edu/neuroscience/m/s4/chapter07.html
ประเดน็ ที่ 2: การเตรียมต้นฉบบั
1. จะเร่ิมต้นเขียนหนังสือ/ตาราอย่างไรดี
1.1 เป้าหมายก่อนเขียนอยากได้หนังสือ(ตารา)ท่ดี ีท่สี ุดไม่มีมาก่อน
หนังสือดี มีลักษณะดงั นี้ ท่านมตี ้นฉบบั หรือยงั ?
1.มีความคดิ ดี A : มีแลว้ (>80%)
2.มีเนือ้ หาสาระดี B : มีบางส่วน (<80%)
3.มีกลวิธีในการเขยี นดี(ฝึ กฝน) C : ยงั ไม่มี
4.มีประโยชน์
-ความรู้
-ความเข้าใจ
-เพลดิ เพลิน (X)
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/utaradit/kanjana-c/thailand01/sec04p02.html
1.2 เร่ิมต้นการเขียนหนังสือ/ตารา…อย่างไร
เร่ิมต้น
1 เลือกเร่ืองท่ีจะเขียน 1- มีความเช่ียวชาญ 2- ไม่ซา้ ท่ีเคยใช้แล้ว 3- ผู้ใช้คือใคร
2 กาหนดสารบญั (บท) ครอบคลุมประเดน็ สาคัญของเร่ือง จานวน > 5 บท
3 จานวนหน้า ประมาณการจากสารบญั > 80 หน้า
4 ภาพประกอบ ควรมี ได้มาอย่างไร จรรยาบรรณ (จริยธรรม)?
5 ผู้เขียนร่วม มี/ไม่มี แค่ไหน(ยดึ 5บท 80หน้า) ร่วมเขียนบทเดียวกัน?
6 อ้างองิ ถกู ต้อง ทันสมัย style: Vancouver/APA/?วิธีการ/โปรแกรม
7 Index จัดหน้าเสร็จหมดเลือกคาโปรแกรมทาปรับลด
8 การจดั ทา e-book อยากได้ E-book แบบไหน?
9 ISBN (E-book) จานวนหน้า-สานักพมิ พ์-อ่ืนๆ ตามมาตรฐาน
10 เผยแพร่(E-book) สานักนวัตกรรม สานักวทิ ยบริการ
11 Timeline กาหนด ลงมือทาตามเป้าหมาย (Milestones)
1.3 จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวชิ าการ
มีขอ้ กาหนดยอ่ ย 6 ขอ้
(1) ตอ้ งมีความซื่อสตั ยท์ างวิชาการ ไม่นาผลงานของผอู้ ื่นมาเป็นผลงานของตน
ไม่ลอกเลียนผลงานของผอู้ ื่น รวมท้งั ไม่นาผลงานของตนเองในเร่ืองเดียวกนั ไป
เผยแพร่ในวารสารวชิ าการมากกวา่ หน่ึงฉบบั ในลกั ษณะท่ีจะทาใหเ้ ขา้ ใจผดิ วา่
เป็ นผลงานใหม่ มหิดล: ใหผ้ ขู้ อช้ีแจงที่มาของ รูป-ตารางทุกอนั
(2) ตอ้ งใหเ้ กียรติและอา้ งถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของขอ้ มูลท่ีนามาใชใ้ นผลงาน
ทางวชิ าการของตนเองและแสดงหลกั ฐานของการคน้ ควา้
(3) ตอ้ งไม่คานึงถึงผลประโยชนท์ างวชิ าการจนละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
ของผอู้ ื่นและสิทธิมนุษยชน (ภาพคนตอ้ งขออนุญาตและปิ ดบงั ใบหนา้ หรือตา)
(4) ผลงานทางวชิ าการตอ้ งไดม้ าจากการศึกษาโดยใชห้ ลกั วชิ าการเป็นเกณฑ์ ไม่มี
อคติมาเกี่ยวขอ้ ง และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่จงใจเบี่ยงเบน
ผลการวจิ ยั โดยหวงั ผลประโยชนส์ ่วนตวั หรือตอ้ งการสร้างความเสียหายแก่
ผอู้ ่ืน และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่ขยายขอ้ คน้ พบโดยปราศจากการ
ตรวจสอบยนื ยนั ทางวชิ าการ ตรวจสอบเอกสารใหถ้ ูกตอ้ ง: %ผลงานผดิ เจตนาส่อทุจริตได้
(5) ตอ้ งนาผลงานไปใชป้ ระโยชน์ในทางท่ีชอบธรรมและชอบดว้ ยกฎหมาย
(6) วิจยั -ขอ EC
1.4 ReferencesVancouver System (เลือกใช้ระบบอ่ืนได้) เกณฑ์ใหม่มีผลต่อคะแนน
1-เขียนถูกต้อง - ระดบั ชาติ B+
2-เข้าถึงได้-คน้ หาเจอได้ /มีการเผยแพร่ชดั เจน - นานาชาติ A
3-น่าเชื่อถือ (แหล่งอา้ งอิงน่าเช่ือถือ)-โดยเฉพาะ website
4-ทนั สมัย
5. จานวนเหมาะสม (ไม่ตอ้ งเยอะมาก)(+ผลงานตนเอง)
1) Journal ไมแ่ นะนําให้ทําบรรณานกุ รม
Gombotz H, Rehak PH, Shander A, Hofmann A, (+et al). Blood use in elective surgery:
the Austrian benchmark study. Transfusion 2007; 47: 1468-80. E-Journal DOI:
2) Book chapter
พชิ ยา ไวทยะวิญญ.ู สรีรวิทยาที่เก่ียวข้องกบั วสิ ญั ญีวทิ ยา. ใน : องั กาบ ปราการรัตน์, วมิ ลลกั ษณ์ สนน่ั ศลิ ป์ , ศิริลกั ษณ์
สขุ สมปอง, ปฏิภาณ ตมุ่ ทอง, บรรณาธิการ. ตาราวิสญั ญีวิทยา. กรุงเทพฯ: เอ-พลสั พริน้ ; 2556.หน้า 15-26.
3) Website - หน่วยงานของ website น่าเชื่อถือ เขียนใหถ้ ูกตอ้ ง ไม่แนะนาใหใ้ ชอ้ า้ งอิง
Neely GA, Kohli A. Neostigmine. StatPearls-NCBI Bookshelf [Internet]. October 9, 2019.
[cited Nov 20, 2019].Available at: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK470596/.
Reference Manager
-EndNote
-Mendeley
-Citationsy
-RefWorks
-Zotero
ฟรี
คู่มือ
2.การตรวจสอบและแก้ไขต้นฉบับหนังสือ/ตารา
เป้าหมายก่อนเขยี น อยากได้หนังสือ(ตารา)ท่ีดที ่ีสุด
• รูปแบบการพมิ พ์
-Font ท่ีอา่ นง่าย ขนาดไทย-องั กฤษเทา่ ๆ กนั ไมก่ นั้ หลงั เพราะช่องไฟจะเพีย้ น
-เว้นวรรค/ชอ่ งไฟ-ระหวา่ งคํา (วงเลบ็ ) เคร่ืองหมายฯ (1 เคาะ)
-คาํ เดียวกนั ต้องตดิ กนั /อยบู่ รรทดั เดียวกนั _บบี ตวั อกั ษรให้ชิดกนั ได้
-หวั ข้อ ไมต่ ้องขีดเส้นใต้ ใช้ตวั หนา_ตวั เอียง_จดั เยือ้ ง/เหลือ่ มกนั
-คําอธิบาย ตารางไว้ด้านบน / คําอธิบายรูปหรือแผนภมู ไิ ว้ด้านลา่ ง
(ระบทุ ่ีมาถ้ามีอ้างองิ คาํ ยอ่ คอื อะไร)
• การใช้ภาษา:
Consistency (สมํ่าเสมอ) เชน่ มล./มลิ ลลิ ติ ร
Redundancy (อยา่ ใช้ซาํ ้ ๆ) - พาราเซตามอล (paracetamol)
ภาษาไทย ไมใ่ ช้ comma (,) (style การเขียน กระชบั )
รูปประโยค: ได้ใจความครบ(ประธานกริยากรรม)
มีคาํ ขยาย-คําเช่ือมระหวา่ งประโยค
การตรวจสอบและแก้ไขต้นฉบบั (ต่อ)
• การใช้ภาษา:
ภาษาองั กฤษ (เขียนหนงั สือเป็นภาษาองั กฤษก็ได้)
คําเฉพาะ (technical term): ตามราชบัณฑิต (ค้นหาตามสาขาวชิ า)
ทบั ศัพท์; Computer = คอมพวิ เตอร์, คณิตกรณ์
มีได้ 2 แบบ; Gas= แก๊ส หรือก๊าซ
ไม่มีเทยี บเคียง; Nitrousoxide [Nitrogen oxides=ไนโตรเจน ออกไซด์]
ทําบนั ทกึ ไปสอบถามราชบณั ฑติ ฯ
Medical Dictionary
คาท่วั ไป: ไมค่ วรใช้ เช่น temperature, headache
คาขึน้ ต้น: ใช้ตวั พมิ พ์ใหญ่ เนือ้ เร่ืองใช้ตวั เลก็ (ยกเว้นคาํ เฉพาะ)
• การตรวจสอบ:
- เลขหน้า: ในสารบญั -Index-ให้ตรงกบั ในเนือ้ เรื่อง
-Typing error -ตรวจเอง และหาคนชว่ ย
- ภาพ-ส/ี ความคมชดั
- อ้างอิง: ตรวจสอบการเขียนให้ถกู ต้อง และถกู format
นึกถงึ เป้าหมายก่อนเขียน อยากได้หนังสือ(ตารา)ท่ดี ีท่สี ุด
เป้าหมาย
อดทน
ทาต่อไป
Milestones ในการเขยี น หนังสือ/ตารา
สํานกั พมิ พ์ (สํานกั นวตั กรรม)
ทา E-book/proof
การเขียนคํานิยมโดยผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ แก้ไขสุดท้าย ขอ ISBN,CIP
-มีความสําคญั หรือไม่ **หาผู้รู้ ช่วยอ่านให้ความเหน็
-ระวงั จะมี COI ในการเลือกผ้ปู ระเมิน
-ประวตั ผิ ้เู ขียน
บทสุดท้าย และแก้ไขต้นฉบับทัง้ หมด?
บทท่ี 7-8-9?
บทท่ี 4-5-6
บทท่ี 2-3
-เค้าโครงแตล่ ะบท (ร่าง) บทท่ี 1
-หาข้อมลู ประกอบ (รูป ตาราง อ้างอิง)
ชื่อเรื่อง สารบญั จํานวนบท? Start (เดือน)
หัวข้อบรรยายมี 3 ประเดน็
ประเด็นท่ี 1: E-book กบั การขอตาแหน่งวชิ าการ
1. E-book ขอตาแหน่งทางวชิ าการไดห้ รือไม่
2. เกณฑท์ ี่เก่ียวขอ้ งในการใชห้ นงั สือ/ตารา เพื่อขอกาหนดตาแหน่ง
ประเด็นที่ 2: การเตรียมต้นฉบบั
1. จะเริ่มตน้ เขียนหนงั สือ/ตาราอยา่ งไร
2. การตรวจสอบและแกไ้ ขตน้ ฉบบั
ประเด็นท่ี 3: การจัดทาเป็ น E-book - คุณกมลพร
5.1 จะมีการจัดอบรมอกี คร้ังสาหรับท่านทสี่ นใจ โดยต้องมี
ช่ือเร่ือง สารบญั และ ตน้ ฉบบั 1-2 บท (วนั ท่ี 25 พ.ค. 64; เตม็ 30 ท่ี)
ท่านที่สนใจแต่สมคั รไม่ทนั ...?
5.2 มีคนช่วยทา หรือ รับทาให้ (มีค่าใช้จ่าย)