The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เตรียมพร้อมเปิดภาคเรียน 2-2564 โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 1074590050, 2021-11-03 08:41:02

เตรียมพร้อมเปิดภาคเรียน 2-2564 โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ

เตรียมพร้อมเปิดภาคเรียน 2-2564 โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ

แนวทางการเตรยี มการเปิดเรยี น
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

โรงเรยี นวัดใหญ่บ้านบ่อ

สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรสาคร

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คำนำ

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ของสถานศึกษา ภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID – 19) เล่มน้ี โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ (บ้านบ่อ
ราษฎรบารุง) จังหวัด สมุทรสาคร สังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร จัดทาขึ้นเพ่ือ
ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสาหรบั ใหส้ ถานศกึ ษาไดเ้ ตรยี มความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา
๒๕๖๔เพ่ือสร้างความมั่นใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครองและประชาชนท่ัวไปว่าสถานศึกษาจะมีแนวทางใน
การสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างการจัด
การเรียนการสอนในสถานศึกษาซ่ึงสอดคล้องกับมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ
กาหนด

โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ (บ้านบ่อราษฎรบารุง) หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแนวทางการเตรียมการเปิดภาค
เรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) เล่มนี้จะช่วยอานวยความสะดวกให้ณะครู นักเรียน ชุมชนและผู้ท่ีเก่ียวข้องกับ
การปฏิบัติงานในสถานศึกษาดาเนินการได้ตามมาตรการด้านความปลอดภัย สามารถเปิดเรียนได้และจัด
การเรียนการสอนให้แกน่ ักเรียนด้วยความปลอดภัย ขอขอบคุณคณะทางานทุกท่านที่ได้ร่วมกันจดั ทาแนวทาง
การเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) เลม่ นจี้ นสาเร็จบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ที่ตงั้ ไว้

โรงเรียนวดั ใหญบ่ า้ นบอ่ (บา้ นบอ่ ราษฎรบารุง)
สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรสาคร

สารบญ ข

เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน 1
2
- ท่ีตงั้ และเขตพนื้ ทบี่ รกิ าร 3
- ขนาดสถานศกึ ษา 3
- ระดับชัน้ ท่ีเปิดสอน 4
- จานวนข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา และบุคลากรอื่นๆ 5
- ขอ้ มลู การรับวคั ซีนของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และ
5
และบุคลากรอนื่ ๆ 6
- ขอ้ มลู การรับวัคซีนของนักเรียนโรงเรียนวดั ใหญ่บา้ นบ่อ 6
- แบบสรปุ จานวนนกั เรียนท่ีได้รับการฉีดวัคซีนโควิด-19
- แผนภมู แิ สดงขอ้ มลู ของนักเรยี นโรงเรียนวัดใหญ่บ้านบอ่ (บา้ นบ่อราษฎรบารุง) 8

ทีอ่ ายุถึงเกณฑ์ และรับวคั ซีนแลว้ แบ่งตามระดบั ชั้น 17
สว่ นท่ี 2 การประเมินความพรอ้ มก่อนเปิดเรียนของสถานศึกษาในระบบ 21
Thai Stop Covid Plus (TSC+) 25
สว่ นที่ 3 มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School 28
30
- 7 มาตรการเข้มงวด 31
- 6 มาตรการหลกั 38
- 6 มาตรการเสริม 41
- ตัวอยา่ งประกาศโรงเรียนวดั ใหญ่บา้ นบ่อ
- แนวปฏิบัติโรงเรยี นวัดใหญบ่ ้านบอ่ 48
สว่ นที่ 4 แผนเผชิญเหตุ
สว่ นที่ 5 บทบาทของบุคลากรและหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ ง
ภาคผนวก

1

สว่ นท่ี 1
ข้อมูลพนื้ ฐาน

2

ส่วนที่ 1

ข้อมลู พื้นฐานโรงเรยี นวัดใหญบ่ ้านบอ่ (บา้ นบอ่ ราษฎรบารุง)

ท่ตี ้งั และเขตพน้ื ทบี่ ริการ

โรงเรียนวดั ใหญ่บ้านบ่อ จังหวดั สมุทรสาคร สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรสาคร
ตั้งอยู่บา้ นเลขที่ 2 หมู่ 3 ตาบลบา้ นบอ่ อาเภอเมอื งสมทุ รสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000

มเี ขตพื้นทบี่ รกิ ารคอื
พ้ืนทเ่ี ขตบริการโรงเรยี นวดั ใหญบ่ า้ นบ่อ(บ้านบ่อราษฎรบารุง) จานวน 3 หมู่ คอื หมู่ 2 , 3 ตาบลบา้ นบอ่
และ หมู่ 1 ตาบลชยั มงคล

แผนที่แสดงที่ตัง้ โรงเรยี นวดั ใหญ่บา้ นบอ่ (บ้านบ่อราษฎรบารงุ )

3

ขนาดสถานศึกษา

สถานศึกษาขนาดกลาง
ระดับชัน้ ทเ่ี ปดิ สอน

1. ระดบั ชั้นอนบุ าล
2. ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-6
3. ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3

ระดบั ช้ัน ชาย หญิง รวม

อนุบาล (อ 3 ขวบ) 14 12 26
26
รวมอนุบาล 1 14 12 21
21
อนบุ าล 2/1 9 12 21
12
อนุบาล 2/2 11 10 16
28
รวมอนบุ าล 2 20 22 96
23
อนบุ าล 3/1 57 20
22
อนบุ าล 3/2 97 21
30
รวมอนบุ าล 3 14 14 29
32
รวมอนบุ าลท้ังส้ิน 48 48 30
20
ประถมศกึ ษาปีที่ 1/1 10 13 20
30
ประถมศึกษาปีที่ 1/2 6 14 31
308
ประถมศกึ ษาปที ี่ 2/1 13 9 30
30
ประถมศึกษาปีที่ ๒/2 13 8 31
23
ประถมศึกษาปที ี่ 3/1 18 12 27
27
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3/2 15 14 25
25
ประถมศึกษาปีที่ 4/1 14 18 24
242
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4/2 14 16 645

ประถมศึกษาปีที่ 5/1 11 9

ประถมศึกษาปที ่ี 5/2 9 11

ประถมศึกษาปที ่ี 6/1 13 17

ประถมศกึ ษาปที ี่ 6/2 18 13

รวมระดบั ประถมศกึ ษา 154 154

มธั ยมศึกษาปีที่ 1/1 19 11

มธั ยมศึกษาปีท่ี 1/2 21 9

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/3 17 13

มธั ยมศึกษาปีที่ 2/1 14 9

มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/2 14 13

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/3 13 14

มัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 15 10

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3/2 16 9

มัธยมศึกษาปที ่ี 3/3 13 11

รวมระดบั มธั ยมศึกษา 142 99

รวมท้งั หมด 344 301

4

จานวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา และบคุ ลากรอนื่ จานวน 43 คน

ข้าราชการครู ค.ศ.3 ค.ศ.2 ค.ศ.1 ครผู ู้ชว่ ย
ชาย หญงิ ชาย หญิง
บริหาร -1 - - ชาย หญงิ ชาย หญิง
ภาษาไทย -1 - 1
คณติ ศาสตร์ -2 - 1 -- - -
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี -- - 3
สงั คมศึกษาฯ -1 1 - 12 - -
สุขศึกษาและพลศึกษา -- - -
ศลิ ปะ -1 - - -2 - -
การงานอาชีพ -- - -
ภาษาตา่ งประเทศ -1 - 1 21 1 -
ปฐมวัย -1 - 2
08 1 8 -1 - -
รวม
89 1- - -
รวมทั้งหมด 17
-- - -

-2 - -

-- 1 -

-- - -

48 2

12 2

14

บุคลากรทางการศึกษา ชาย หญงิ
และบคุ ลากรอน่ื

ลูกจ้างประจา - -

อตั ราจ้าง - 2

ลกู จา้ งชว่ั คราว - -

แม่ครัวโครงการอาหารกลางวัน 2 4

ครูธุรการ 1 -

พนกั งานราชการ 1 -

นกั การภารโรง 2 -

รวม 6 6

รวมบคุ ลากรทั้งส้นิ 43

5

แบบสรุปจานวนนักเรยี นถึงเกณฑ์ (12 – 18 ปี ) ทไ่ี ดร้ ับการฉดี วัคซนี โควดิ -19
โรงเรียนวัดใหญบ่ ้านบ่อ (บ้านบอ่ ราษฎรบารุง)

สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรสาคร

ระดับชั้น อายุครบ ฉดี แล้ว ยงั ไม่ฉดี เปอรเ์ ซ็นตน์ ักเรยี นทีฉ่ ดี วคั ซีน
12 ปี
ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 50 28 22 56.00
มัธยมศึกษาปที ่ี 1 90 62 28 68.89
มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 77 59 18 76.62
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 74 52 22 70.27
291 201 90 69.07
รวม

ขอ้ มูลการรบั วคั ซนี ของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาและบคุ ลากรอน่ื ๆ

** ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาและบคุ ลากรอนื่ ๆจานวน 43 คน (ขอ้ มูล ณ วันที่ 3 พ.ย. 2564)

6

ข้อมูลการรบั วัคซีนของนกั เรียนโรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ(บา้ นบอ่ ราษฎรบารุง)

**จานวนนกั เรยี นทงั้ โรงเรยี น 642 คน (ขอ้ มูล ณ วันท่ี 3 พ.ย. 2564)

แบบสรปุ จานวนนกั เรยี น อายุ 12-18 ปี ที่ได้รับการฉดี วัคซนี โควดิ -19

โรงเรยี นวดั ใหญบ่ า้ นบ่อ(บ้านบ่อราษฎรบารงุ ) อาเภอเมือง จงั หวดั สมุทรสาคร
เขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรสาคร

7

แผนภูมิแสดงข้อมูลของนักเรียนโรงเรยี นวดั ใหญบ่ ้านบ่อ(บ้านบอ่ ราษฎรบารุง)
ทอ่ี ายถุ ึงเกณฑ์ และรับวัคซีนแล้วแบ่งตามระดับช้นั

ข้อมลู ณ วันท่ี 31 ตลุ าคม 2564

8

สว่ นที่ 2
การประเมนิ ความพร้อมกอ่ นเปดิ เรยี นของ
สถานศึกษาในระบบ ThaiStop Covid Plus

(TSC+)

9

สว่ นที่ 2
การประเมนิ ความพร้อมกอ่ นเปิดเรยี นของสถานศึกษาในระบบ ThaiStop Covid Plus (TSC+)

กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ได้สร้างเครื่องมือสาหรับสถานศึกษาประเมินตนเองในระบบ
Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ เพื่อให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนท่ี 2 ปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ลิงก์ระบบhttps://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school แบบประเมินตนเอง
ดังกล่าวประกอบด้วย ๖ มิติ ๔๔ ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมนิ ท้งั ๔๔ ข้อ ตามขั้นตอน การประเมิน
ตนเองดงั น้ี

แบบประเมนิ ตนเองสาหรับสถานศกึ ษาในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น

เพือ่ เฝา้ ระวงั และป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19

ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

(สถานศึกษาทาการประเมินตนเองภายในเดอื นพฤษภาคม 2564 เพื่อเตรียมพรอ้ มเปดิ ภาคเรียนในเดือนมถิ ุนายน 2564)

เกณฑ์การประเมินตนเอง

ขอ้ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ
(๑) (๐)

มติ ิท่ี 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพรเ่ ชอ้ื โรค

๑ มีการจดั เว้นระยะหา่ ง อย่างน้อย ๑ - ๒ เมตร เช่น ท่ีนั่งในห้องเรียนท่ีนง่ั ใน ๑

โรงอาหาร ทีน่ ั่งพัก จดุ ยืนรบั -ส่งสง่ิ ของ/อาหาร พร้อมติดสัญลกั ษณ์แสดง

ระยะหา่ งอยา่ งชดั เจนหรือไม่

๒ มมี าตรการให้นักเรียน ครู บุคลากรแลผู้เข้ามาติดตอ่ ในสถานศึกษา ตอ้ งสวม ๑

หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั 100% ตลอดเวลาท่ีอยใู่ น สถานศกึ ษา

หรอื ไม่

๓ มจี ุดลา้ งมือด้วยสบแู่ ละน้า หรือจัดวางเจลแอลกอฮอล์สาหรับใช้ทาความ ๑

สะอาดมอื อย่างเพยี งพอและใช้งานไดส้ ะดวก หรือไม่

๔ มีมาตรการคดั กรองวัดอุณหภูมิใหก้ ับนักเรยี น ครู บุคลากร และผูเ้ ขา้ มา ๑

ตดิ ต่อ ทุกคน ก่อนเข้าสถานศึกษา หรอื ไม่

๕ มมี าตรการใหล้ ดการทากิจกรรมรวมกลุ่มคนจานวนมาก และหลีกเลยี่ ง การ ๑

เข้าไปในพ้นื ท่ีท่ีมีคนจานวนมากหรอื พนื้ ทเ่ี ส่ยี งท่ีมีการแพร่ระบาดของ โรค

หรือไม่

๖ มกี ารทาความสะอาดพื้นผวิ สัมผัสรว่ มทกุ วนั เชน่ ราวบนั ได ลูกบดิ -มอื จับ ๑

ประตู โตะ๊ เก้าอ้ี หรือไม่

๗ มมี าตรการให้นักเรยี น ครู และบคุ ลากร รับผิดชอบดแู ลตนเอง มวี นิ ยั ๑

ซือ่ สัตย์ต่อตนเอง ปฏิบตั ติ ามมาตรการอยา่ งเคร่งครดั และไม่ปิดบังขอ้ มลู

กรณีสัมผัสใกลช้ ดิ กับผ้ตู ิดเชอ้ื หรือผู้สมั ผัสเสี่ยงสูง หรือไม่

๘ มีมาตรการใหน้ ักเรียน ครู และบุคลากรกินอาหารด้วยการใชช้ อ้ นส่วนตวั ๑

ทกุ คร้ัง และงดการกินอาหารร่วมกนั หรอื ไม่

10

ข้อ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ
(๑) (๐)

มติ ิท่ี 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพรเ่ ช้อื โรค

๙ มีมาตรการสง่ เสริมให้กินอาหารปรงุ สุกใหม่ร้อน และจดั ให้บรกิ ารอาหาร ๑

ตามหลกั สุขาภิบาลและหลักโภชนาการ หรือไม่

๑๐ มกี ารจดั ระบบให้นกั เรยี น ครู บคุ ลากร และผเู้ ขา้ มาตดิ ตอ่ ในสถานศกึ ษา ทกุ ๑

คน ลงทะเบยี นไทยชนะตามท่ีรัฐกาหนดดว้ ย app ไทยชนะ หรือ

ลงทะเบียนบนั ทึกการเข้า-ออกอยา่ งชดั เจน หรือไม่

๑๑ มกี ารจัดระบบการตรวจสอบ ดูแล และเฝา้ ระวงั นักเรยี น ครู บุคลากร หรอื ผู้ ๑

ทม่ี าจากพื้นทีเ่ สี่ยง เพ่ือเขา้ สู่กระบวนการคดั กรอง หรอื ไม่

๑๒ มมี าตรการให้นกั เรียน ครู หรือบุคลากรทมี่ ีประวัตสิ ัมผัสใกล้ชดิ กับผตู้ ดิ เชื้อ ๑

หรือผู้สัมผสั เส่ียงสูง กกั กันตวั เอง 14 วัน หรอื ไม่

๑๓ มีการปรับปรุงห้องเรยี นใหม้ สี ภาพการใชง้ านไดด้ ี เปิดประตูหนา้ ตา่ ง ระบาย ๑

อากาศ ถ่ายเทสะดวกกรณใี ช้เครื่องปรบั อากาศกาหนดเวลาเปดิ ปดิ เปดิ

ประตูหน้าต่างระหวา่ งเวลาพักเท่ียงหรือไม่มกี ารเรียนการสอน และทาความ

สะอาดอยา่ งสม่าเสมอ หรือไม่

๑๔ มกี ารทาความสะอาดห้องเรียน หอ้ งเรียนรว่ ม เชน่ ห้องคอมพวิ เตอร์ ห้อง ๑

ดนตรี อุปกรณ์กีฬา และอปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการเรียนการสอน กอ่ นและหลังใช้

งานทุกครัง้ หรอื ไม่

๑๕ มกี ารจดั สภาพแวดล้อมบรเิ วณภายในสถานศึกษาให้สะอาดและปลอดภัย ๑

มกี ารจัดการขยะทเี่ หมาะสม รวมถงึ การดูแลความสะอาดห้องสว้ ม หรอื ไม่

๑๖ มีมาตรการส่งเสริมใหน้ ักเรียน ครู และบุคลากร รู้จักและหม่นั สังเกต อาการ ๑

เสีย่ งจาก โรคโควดิ -19 เช่น ไข้ ไอ น้ามกู เจบ็ คอ คอแหง้ อ่อนเพลยี หายใจ

ลาบาก หายใจเรว็ เจ็บแนน่ หนา้ อก เสียการดมกล่นิ

ล้ินไม่รับรส ตาแดง มีผน่ื ท้องเสีย หรอื ไม่

๑๗ มีมาตรการให้นักเรยี น ครู และบุคลากร ประเมนิ ความเสย่ี งของตนเอง ผ่าน ๑

Thai save Thai (TST) อย่างต่อเน่ือง หรอื ไม่

๑๘ มมี าตรการเฝา้ ระวังตรวจคดั กรอง ด้วย Antigen Test Kit (ATK) ตาม ๑

แนวทางทีก่ าหนด หรือไม่

๑๙ มีมาตรการสนับสนุนให้ครู บุคลากร และฝ่ายสนับสนนุ (Support Staff) ๑

เขา้ ถงึ การฉดี วคั ซนี มากกว่าร้อยละ 85 หรือไม่

๒๐ มีห้องพยาบาลหรือมพี ้นื ท่เี ปน็ สดั ส่วนสาหรับสงั เกตอาการผู้มอี าการเสีย่ ง ๑

หรือจัดใหม้ ี School Isolation หรอื ไม่

มติ ทิ ่ี 2 การเรยี นรู้

๒๑ มกี ารตดิ ปา้ ยประชาสมั พนั ธก์ ารปฏิบตั ิตนเพ่ือสุขอนามัยปลอดภัยจากโรค ๑

โควดิ -19 หรือไม่ (เชน่ เว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคล (D) สวมหนา้ กากผา้

หรอื หน้ากากอนามยั (M) วิธลี ้างมอื ท่ีถูกต้อง (H) เปน็ ต้น)

11

ขอ้ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ
(๑) (๐)

มิติท่ี 2 การเรยี นรู้

๒๒ มกี ารจดั การเรียนการสอนเก่ียวกบั โรคและการป้องกันการแพร่ระบาด ของ ๑

โรคโควดิ -19 สอดคลอ้ งตามวัยของผู้เรยี น หรอื ไม่

๒๓ มีการจัดหาสอื่ ความรกู้ ารปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 สาหรับ ๑

ประกอบการเรียนการสอน การเรยี นร้นู อกห้องเรียน ในรปู แบบของสือ่

ออนไลน์และสื่อสิ่งพิมพ์ หรอื ไม่

๒๔ มีการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นตามวยั ใหม้ ีความคดิ สร้างสรรคน์ วตั กรรม ๑

สุขภาพ และแลกเปลี่ยนเรียนร้บู ทเรียนการป้องกนั การแพร่ระบาดของ โรค

โควดิ -19 โดยศกึ ษ าคน้ คว้าจากแหลง่ ความรู้ทางวิชาการด้าน สาธารณสุข

หรือแหล่งข้อมลู เช่ือถือได้ หรือไม่

๒๕ มนี ักเรยี นแกนนาด้านสขุ ภาพหรือผพู้ ทิ ักษ์อนามยั โรงเรียน อย่างน้อย ๑

หอ้ งเรยี นละ 2 คน เปน็ จติ อาสา อาสาสมคั รเป็นผูช้ ว่ ยครอู นามัยทาหน้าที่

ดแู ลชว่ ยเหลอื เฝา้ ระวังคดั กรองสขุ ภาพ และงานอนามัยโรงเรยี น หรือไม่

มติ ทิ ี่ 3 การครอบคลมุ ถึงเด็กดอ้ ยโอกาส

๒๖ มกี ารจดั เตรยี มหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยสารองสาหรบั นกั เรยี นท่ี ๑

ตอ้ งการใช้หรือไม่

๒๗ มมี าตรการสนับสนุนอปุ กรณ์ของใชส้ ขุ อนามัยสว่ นบคุ คลในการป้องกัน การ ๑

แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สาหรบั กลุม่ เปราะบาง หรอื ไม่

๒๘ มีมาตรการส่งเสริมให้นักเรียน อายุ 12-18 ปี กลุ่มเสี่ยงท่ีมีน้าหนักมาก ๑

มี โรคประจาตวั 7 กล่มุ โรค หรอื กลมุ่ เปา้ หมาย เขา้ ถึงการฉดี วคั ซนี ป้องกนั

โควิด-19 ตามแนวทางทีร่ ัฐกาหนด หรอื ไม่

๒๙ มมี าตรการคดั กรองวดั อุณหภูมติ รวจ ATKเว้นระยะหา่ ง ทาความสะอาด ที่ (๑) ไม่มที ่ีพัก

พักเรือนนอน และจัดสภาพแวดลอ้ มใหถ้ ูกสขุ ลักษณะ และมีตารางเวร ทา หรอื เรอื น

ความสะอาดทุกวนั หรือไม่ (กรณมี ที ่ีพักหรือเรือนนอน) นอน

๓๐ 0 มีมาตรการคัดกรองวัดอุณหภมู ติ รวจ ATKเวน้ ระยะห่าง ทาความสะอาด (๑) ไม่มี

สถานท่ีและจดั สภาพแวดลอ้ มใหส้ อดคล้องกับขอ้ บัญญัติ สถานท่ี

การปฏิบตั ดิ ้าน ศาสนกิจ และมตี ารางเวรทาความสะอาดทุกวัน หรอื ไม่ ปฏบิ ัติ

(กรณมี สี ถานที่ ปฏบิ ตั ศิ าสนากิจ) ศาสนากิจ

มิติท่ี 4 สวัสดิภาพและการคุ้มครอง

๓๑ มแี ผนเผชิญเหตแุ ละแนวปฏบิ ัติรองรบั กรณีมผี ตู้ ิดเช้ือในสถานศึกษาหรือ ใน ๑

ชมุ ชน และมกี ารซักซ้อมการปฏบิ ตั อิ ย่างเข้มงวด หรอื ไม่

๓๒ มกี ารส่อื สารประชาสมั พนั ธข์ ้อมลู ข่าวสารการตดิ เชื้อและการปฏิบตั ิตน ๑

อยา่ งเหมาะสม เพ่ือลดการรงั เกยี จและการตีตราทางสงั คม (Social stigma)

ต่อผ้ตู ดิ เช้ือโควดิ -19 หรือผู้สมั ผัสเส่ียงสงู หรือไม่

12

ข้อ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ
(๑) (๐)

มติ ิที่ 4 สวัสดภิ าพและการคุ้มครอง

๓๓ มแี นวปฏบิ ตั ิการจดั การความเครยี ดของครแู ละบคุ ลากร หรือไม่ ๑

๓๔ มกี ารสารวจตรวจสอบประวตั ิเสย่ี งและการกกั ตัวของนักเรยี น ครู และ ๑

บุคลากรก่อนเปิดภาคเรียน และเขา้ มาเรยี น เพื่อการเฝา้ ระวงั ตดิ ตาม

หรอื ไม่

๓๕ มีเอกสารค่มู ือมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านเปน็ ขนั้ ตอน (SOP) ประจาหอ้ ง ๑

พยาบาล เก่ียวกับแนวปฏบิ ตั ิการปอ้ งกัน และกรณีพบผู้สมั ผัสเส่ยี งสูงหรอื ผู้

ติดเช้อื ยนื ยันในสถานศกึ ษาหรอื ในชมุ ชน หรือไม

มิติที่ 5 นโยบาย

๓๖ มีนโยบายเน้นการปฏิบตั ติ ามมาตรการสขุ อนามัยส่วนบคุ คล 6 มาตรการ ๑

หลกั (DMHT-RC) 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร หรือ

มหี ลักฐานชัดเจน หรือไม่

๓๗ มีนโยบายการเฝา้ ระวังคดั กรอง ตดั ความเสี่ยง และสร้างภมู ิค้มุ กนั ด้วย ๑

3T1V (TSC Plus , Thai Save Thai , ATK , Vaccine)และถือปฏบิ ตั ิได้

หรอื ไม่

๓๘ มีนโยบายเขม้ ควบคมุ ดแู ลการเดินทางไป-กลบั ของนักเรยี นให้มี ๑

ความ ปลอดภยั (Seal Route) หรือไม่

๓๙ มนี โยบายตามมาตรการการป้องกันแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ๑

ใน สถานศึกษา สอดคลอ้ งตามบรบิ ทพื้นท่ี และมกี ารสอ่ื สารประชาสมั พันธ์

ใหน้ กั เรียน ครู และบุคลากรรับทราบอยา่ งทั่วถึง หรือไม่

๔๐ มีนโยบายการบริหารจดั การการปอ้ งกนั การแพร่กระจายเช้ือโรค (๑) ไม่มี

บนรถ รับ-ส่งนกั เรยี น อาทิ ทาความสะอาดภายใน-นอกรถก่อนและหลังใช้ รถรบั –ส่ง

งาน เว้นระยะหา่ งท่นี ัง่ มปี ้ายสัญลักษณ์แสดงท่นี ัง่ ชัดเจน สวมหน้ากากผา้ นกั เรียน

หรอื หนา้ กากอนามยั ขณะอยู่บนรถ มเี จลแอลกอฮอล์บนรถ และงด-ลดการ

พูดคุย หยอกล้อเลน่ กันบนรถ หรอื ไม่ (กรณีรถรบั –สง่ นักเรียน)

มติ ิที่ 6 การบรหิ ารการเงิน

๔๑ มีแผนการใชง้ บประมาณสาหรับเป็นค่าใช้จา่ ยในการดาเนินการปอ้ งกัน การ ๑

แพรร่ ะบาดของโรคโควิด -19 ในสถานศึกษา หรือไม่

๔๒ มีการจดั หาวัสดอุ ุปกรณ์ป้องกันโรคโควดิ -19 เช่น ATK หนา้ กากผ้าหรือ ๑

หน้ากากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่ อยา่ งเพียงพอ หรือไม่

๔๓ มีการบรหิ ารจัดการการเงนิ เพ่ือดาเนินกจิ กรรมการปอ้ งกันการแพร่ ระบาด ๑

ของโรคโควดิ -19ตามความจาเป็นและเหมาะสม หรอื ไม่

๔๔ มีการจดั หาบุคลากรทาหน้าท่ีเฝา้ ระวัง ตรวจสอบ สอดส่องดูแลสุขภาพ ๑

นกั เรยี น และจดั การสภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษาในชว่ งสถานการณ์โควดิ -

19 หรอื ไม่

13

แบบประเมนิ ตนเองสาหรับสถานศึกษาในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี น

เพ่อื เฝา้ ระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19
ภาคการศึกษาที่ ๒ ปกี ารศึกษา 2564

(สถานศึกษาทาการประเมนิ ตนเองภายในเดอื นตลุ าคม 2564 เพือ่ เตรียมพร้อมเปิดภาคเรยี นในเดอื นพฤศจกิ ายน 2564)

เกณฑ์การประเมินตนเอง

ข้อ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ
(๑) (๐)

มติ ทิ ี่ 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชอ้ื โรค

๑ มีการจัดเวน้ ระยะหา่ ง อย่างน้อย ๑ - ๒ เมตร เช่น ท่ีน่งั ในหอ้ งเรยี นทีน่ ่ังใน ๑

โรงอาหาร ท่ีน่ังพัก จดุ ยืนรับ-ส่งส่งิ ของ/อาหาร พร้อมติดสญั ลักษณ์แสดง

ระยะหา่ งอย่างชัดเจนหรือไม่

๒ มมี าตรการใหน้ ักเรยี น ครู บุคลากรแลผูเ้ ขา้ มาติดต่อในสถานศกึ ษา ต้องสวม ๑

หนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามยั 100% ตลอดเวลาทีอ่ ยใู่ น สถานศึกษา

หรือไม่

๓ มีจุดล้างมอื ด้วยสบ่แู ละนา้ หรือจดั วางเจลแอลกอฮอล์สาหรับใช้ทาความ ๑

สะอาดมือ อยา่ งเพียงพอและใช้งานไดส้ ะดวก หรือไม่

๔ มมี าตรการคัดกรองวัดอณุ หภูมิให้กับนักเรียน ครู บุคลากร และผ้เู ข้ามา ๑

ตดิ ตอ่ ทุกคน ก่อนเข้าสถานศึกษา หรือไม่

๕ มีมาตรการใหล้ ดการทากิจกรรมรวมกลุม่ คนจานวนมาก และหลกี เลยี่ ง การ ๑

เข้าไปในพื้นที่ทม่ี ีคนจานวนมากหรอื พ้นื ที่เสยี่ งที่มีการแพร่ระบาดของ โรค

หรอื ไม่

๖ มกี ารทาความสะอาดพน้ื ผวิ สมั ผสั รว่ มทุกวัน เชน่ ราวบนั ได ลูกบิด-มอื จับ ๑

ประตู โต๊ะ เก้าอี้ หรอื ไม่

๗ มมี าตรการใหน้ ักเรียน ครู และบคุ ลากร รบั ผิดชอบดูแลตนเอง มวี ินัย ๑

ซ่อื สตั ยต์ ่อตนเอง ปฏบิ ัตติ ามมาตรการอย่างเคร่งครดั และไม่ปดิ บังข้อมลู

กรณีสมั ผสั ใกล้ชิดกบั ผูต้ ิดเชอื้ หรอื ผสู้ มั ผัสเสยี่ งสงู หรอื ไม่

๘ มีมาตรการใหน้ กั เรยี น ครู และบุคลากรกินอาหารด้วยการใช้ช้อนสว่ นตวั ๑

ทุกครัง้ และงดการกินอาหารร่วมกัน หรอื ไม่

๙ มมี าตรการสง่ เสริมใหก้ ินอาหารปรงุ สกุ ใหมร่ ้อน และจดั ให้บริการอาหาร ๑

ตามหลกั สขุ าภบิ าลและหลักโภชนาการ หรอื ไม่

๑๐ มกี ารจดั ระบบใหน้ กั เรียน ครู บคุ ลากร และผู้เขา้ มาติดต่อในสถานศกึ ษา ทกุ ๑

คน ลงทะเบียนไทยชนะตามท่ีรฐั กาหนดดว้ ย app ไทยชนะ หรือ

ลงทะเบียนบันทกึ การเข้า-ออกอยา่ งชัดเจน หรือไม่

๑๑ มีการจัดระบบการตรวจสอบ ดแู ล และเฝา้ ระวงั นักเรยี น ครู บุคลากร หรอื ผู้ ๑

ทมี่ าจากพื้นที่เสย่ี ง เพื่อเขา้ สู่กระบวนการคัดกรอง หรอื ไม่

14

ข้อ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ
(๑) (๐)

มติ ิที่ 1 ความปลอดภยั จากการลดการแพรเ่ ช้ือโรค

๑๒ มีมาตรการให้นักเรยี น ครู หรือบคุ ลากรท่มี ีประวตั ิสัมผสั ใกลช้ ดิ กบั ผตู้ ิดเชือ้ ๑

หรอื ผู้สมั ผสั เสยี่ งสูง กกั กันตวั เอง 14 วนั หรือไม่

๑๓ มีการปรับปรงุ ห้องเรียนใหม้ สี ภาพการใชง้ านได้ดี เปดิ ประตูหน้าต่าง ระบาย ๑

อากาศ ถ่ายเทสะดวกกรณีใช้เครือ่ งปรับอากาศกาหนดเวลาเปิดปดิ เปดิ

ประตหู นา้ ตา่ งระหว่างเวลาพักเทยี่ งหรือไม่มีการเรียนการสอน และทาความ

สะอาดอยา่ งสม่าเสมอ หรือไม่

๑๔ มีการทาความสะอาดห้องเรียน หอ้ งเรยี นร่วม เชน่ หอ้ งคอมพิวเตอร์ หอ้ ง ๑

ดนตรี อุปกรณ์กีฬา และอปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการเรยี นการสอน กอ่ นและหลงั ใช้

งานทุกครั้ง หรอื ไม่

๑๕ มกี ารจดั สภาพแวดล้อมบรเิ วณภายในสถานศึกษาให้สะอาดและปลอดภยั ๑

มีการจดั การขยะทเ่ี หมาะสม รวมถงึ การดแู ลความสะอาดห้องสว้ ม หรือไม่

๑๖ มมี าตรการสง่ เสริมให้นกั เรียน ครู และบคุ ลากร ร้จู ักและหม่ันสังเกต อาการ ๑

เส่ยี งจาก โรคโควิด-19 เช่น ไข้ ไอ น้ามกู เจบ็ คอ คอแหง้ อ่อนเพลีย หายใจ

ลาบาก หายใจเร็ว เจบ็ แนน่ หนา้ อก เสียการดมกลิ่น

ลิ้นไม่รบั รส ตาแดง มีผืน่ ท้องเสีย หรอื ไม่

๑๗ มมี าตรการให้นกั เรยี น ครู และบุคลากร ประเมนิ ความเสย่ี งของตนเอง ผา่ น ๑

Thai save Thai (TST) อย่างต่อเนือ่ ง หรอื ไม่

๑๘ มมี าตรการเฝา้ ระวงั ตรวจคัดกรอง ดว้ ย Antigen Test Kit (ATK) ตาม ๑

แนวทางทกี่ าหนด หรอื ไม่

๑๙ มมี าตรการสนบั สนนุ ให้ครู บุคลากร และฝ่ายสนบั สนนุ (Support Staff) ๑

เขา้ ถึงการฉดี วัคซนี มากกวา่ รอ้ ยละ 85 หรอื ไม่

๒๐ มีห้องพยาบาลหรอื มพี ืน้ ทีเ่ ปน็ สัดสว่ นสาหรบั สงั เกตอาการผู้มอี าการเสีย่ ง ๑

หรือจดั ให้มี School Isolation หรอื ไม่

มติ ทิ ่ี 2 การเรียนรู้

๒๑ มกี ารตดิ ป้ายประชาสมั พนั ธก์ ารปฏิบตั ติ นเพ่อื สุขอนามัยปลอดภยั จากโรค ๑

โควิด-19 หรอื ไม่ (เช่น เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล (D) สวมหนา้ กากผ้า

หรือหนา้ กากอนามัย (M) วิธลี ้างมือที่ถกู ต้อง (H) เปน็ ตน้ )

๒๒ มกี ารจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับโรคและการป้องกนั การแพรร่ ะบาด ของ ๑

โรคโควิด-19 สอดคลอ้ งตามวยั ของผู้เรียน หรือไม่

๒๓ มีการจัดหาสื่อความรกู้ ารป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สาหรบั ๑

ประกอบการเรียนการสอน การเรยี นรู้นอกห้องเรยี น ในรปู แบบของสือ่

ออนไลน์และส่ือส่งิ พิมพ์ หรือไม่

15

ขอ้ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ
(๑) (๐)

มิติท่ี 2 การเรียนรู้

๒๔ มีการจดั กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นตามวยั ใหม้ ีความคดิ สร้างสรรคน์ วัตกรรม ๑

สุขภาพ และแลกเปลี่ยนเรียนรบู้ ทเรียนการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรค

โควดิ -19 โดยศกึ ษ าค้นคว้าจากแหลง่ ความรู้ทางวิชาการด้าน สาธารณสุข

หรอื แหล่งข้อมลู เชอ่ื ถอื ได้ หรือไม่

๒๕ มีนกั เรยี นแกนนาดา้ นสขุ ภาพหรือผพู้ ิทักษ์อนามยั โรงเรียน อยา่ งน้อย ๑

ห้องเรยี นละ 2 คน เป็นจติ อาสา อาสาสมัครเปน็ ผ้ชู ่วยครอู นามยั ทาหน้าท่ี

ดแู ลช่วยเหลือ เฝา้ ระวังคดั กรองสุขภาพ และงานอนามัยโรงเรียน หรือไม่

มิตทิ ี่ 3 การครอบคลุมถึงเด็กดอ้ ยโอกาส

๒๖ มกี ารจดั เตรยี มหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยสารองสาหรับนกั เรยี นที่ ๑

ตอ้ งการใชห้ รอื ไม่

๒๗ มีมาตรการสนับสนนุ อุปกรณ์ของใช้สุขอนามยั สว่ นบุคคลในการป้องกัน การ ๑

แพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 สาหรบั กลมุ่ เปราะบาง หรอื ไม่

๒๘ มีมาตรการส่งเสริมใหน้ กั เรยี น อายุ 12-18 ปี กล่มุ เส่ียงท่ีมีน้าหนกั มาก ๑

มี โรคประจาตัว 7 กลุ่มโรค หรือกลุ่มเปา้ หมาย เขา้ ถึงการฉีดวคั ซีนปอ้ งกนั

โควิด-19 ตามแนวทางที่รัฐกาหนด หรอื ไม่

๒๙ มมี าตรการคัดกรองวดั อณุ หภูมติ รวจ ATKเวน้ ระยะหา่ ง ทาความสะอาด ท่ี (๑) ไม่มที ่ีพัก

พกั เรือนนอน และจัดสภาพแวดลอ้ มใหถ้ ูกสุขลกั ษณะ และมตี ารางเวร ทา หรอื เรอื น

ความสะอาดทุกวนั หรอื ไม่ (กรณมี ีท่ีพกั หรือเรอื นนอน) นอน

๓๐ มีมาตรการคัดกรองวัดอุณหภูมิตรวจ ATKเวน้ ระยะห่าง ทาความสะอาด (๑) ไม่มี

สถานที่และจัดสภาพแวดล้อมใหส้ อดคล้องกับข้อบัญญตั กิ ารปฏิบัตดิ า้ น สถานท่ี

ศาสนกิจ และมตี ารางเวรทาความสะอาดทกุ วัน หรือไม่ ปฏบิ ัติ

(กรณีมสี ถานที่ ปฏิบตั ศิ าสนากิจ) ศาสนากิจ

มติ ิที่ 4 สวัสดภิ าพและการคุ้มครอง

๓๑ มีแผนเผชิญเหตุและแนวปฏิบัติรองรบั กรณมี ผี ูต้ ดิ เชื้อในสถานศึกษาหรือ ใน ๑

ชมุ ชน และมีการซักซ้อมการปฏบิ ัติอยา่ งเข้มงวด หรือไม่

๓๒ มีการสื่อสารประชาสัมพนั ธข์ ้อมูลขา่ วสารการติดเชือ้ และการปฏิบัติตน ๑

อยา่ งเหมาะสม เพ่อื ลดการรงั เกียจและการตีตราทางสงั คม (Social stigma)

ต่อผู้ตดิ เช้อื โควิด-19 หรือผสู้ มั ผัสเสย่ี งสูง หรือไม่

๓๓ มีแนวปฏิบัตกิ ารจัดการความเครียดของครูและบคุ ลากร หรือไม่ ๑

๓๔ มกี ารสารวจตรวจสอบประวัติเสี่ยงและการกกั ตวั ของนักเรียน ครู และ ๑

บุคลากรก่อนเปิดภาคเรยี น และเขา้ มาเรยี น เพ่ือการเฝา้ ระวงั ติดตาม

หรือไม่

16

ขอ้ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ
(๑) (๐)

มิติที่ 4 สวัสดิภาพและการคุ้มครอง

๓๕ มีเอกสารคมู่ ือมาตรฐานการปฏิบตั ิงานเป็นขั้นตอน (SOP) ประจาหอ้ ง ๑

พยาบาล เกย่ี วกบั แนวปฏบิ ัตกิ ารป้องกนั และกรณีพบผูส้ ัมผสั เสย่ี งสงู หรอื ผู้

ตดิ เช้ือยืนยันในสถานศึกษาหรอื ในชมุ ชน หรอื ไม

มิติที่ 5 นโยบาย

๓๖ มนี โยบายเนน้ การปฏิบตั ิตามมาตรการสขุ อนามัยส่วนบุคคล 6 มาตรการ ๑

หลัก (DMHT-RC) 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) เป็นลายลกั ษณ์อักษร หรอื

มหี ลักฐานชดั เจน หรอื ไม่

๓๗ มีนโยบายการเฝา้ ระวังคดั กรอง ตัดความเสยี่ ง และสรา้ งภมู ิค้มุ กัน ดว้ ย ๑

3T1V (TSC Plus , Thai Save Thai , ATK , Vaccine)และถอื ปฏิบตั ิได้

หรือไม่

๓๘ มีนโยบายเข้มควบคุมดแู ลการเดินทางไป-กลับของนกั เรียนให้มี ๑

ความ ปลอดภยั (Seal Route) หรือไม่

๓๙ มีนโยบายตามมาตรการการป้องกนั แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ๑

ใน สถานศึกษา สอดคลอ้ งตามบริบทพ้ืนท่ี และมกี ารสื่อสารประชาสมั พนั ธ์

ใหน้ ักเรียน ครู และบุคลากรรับทราบอยา่ งทั่วถึง หรือไม่

๔๐ มนี โยบายการบรหิ ารจัดการการปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเช้ือโรค (๑) ไม่มี

บนรถ รับ-ส่งนกั เรยี น อาทิ ทาความสะอาดภายใน-นอกรถกอ่ นและหลังใช้ รถรบั –ส่ง

งาน เว้นระยะหา่ งทนี่ ง่ั มีป้ายสัญลักษณแ์ สดงท่นี ัง่ ชัดเจน สวมหน้ากากผ้า นกั เรียน

หรือ หนา้ กากอนามัยขณะอยู่บนรถ มีเจลแอลกอฮอลบ์ นรถ และงด-ลดการ

พูดคุย หยอกลอ้ เล่นกนั บนรถ หรือไม่ (กรณีรถรบั –ส่งนักเรียน)

มติ ิที่ 6 การบรหิ ารการเงิน

๔๑ มแี ผนการใชง้ บประมาณสาหรบั เปน็ ค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ การปอ้ งกัน การ ๑

แพรร่ ะบาดของโรคโควิด -19 ในสถานศกึ ษา หรอื ไม่

๔๒ มกี ารจัดหาวสั ดอุ ปุ กรณป์ ้องกันโรคโควิด-19 เช่น ATK หน้ากากผ้าหรือ ๑

หนา้ กากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่ อยา่ งเพียงพอ หรือไม่

๔๓ มกี ารบรหิ ารจดั การการเงินเพ่ือดาเนินกิจกรรมการป้องกนั การแพร่ ระบาด ๑

ของโรคโควิด-19ตามความจาเปน็ และเหมาะสม หรือไม่

๔๔ มีการจัดหาบุคลากรทาหนา้ ที่เฝา้ ระวัง ตรวจสอบ สอดส่องดแู ลสุขภาพ ๑

นกั เรยี น และจัดการสภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษาในช่วงสถานการณ์โควิด-

19 หรอื ไม่

17

สว่ นท่ี 3
มาตรการ Sandbox : Safety Zone in

School

18

ส่วนท่ี 3
มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School

ตามท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รว่ มกับกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย มีการนารอ่ งเปิดการเรยี น
การสอนแบบ Onsite โดยใช้มาตรการดา้ นความปลอดภัย และสขุ อนามัยภายในโรงเรียน Sandbox Safety
Zone in School คือการจากดั บุคคลเขา้ ออกโรงเรียนอยา่ งชัดเจน และจะมีการคดั กรองโดยใช้วิธี Rapid
Antigen Test มรี ะบบตดิ ตามของครแู ละบคุ ลากรอยา่ งเขม้ งวด กาหนดให้ทกุ คนต้องประเมนิ ความเสี่ยงผา่ น
แอปพลิเคชัน Thai save Thai (TST) อยา่ งสมา่ เสมอ และเฝา้ ระวังโดยการสมุ่ ตรวจเปน็ ระยะ ๆ ขา้ ราชการ
ครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรอื่นในโรงเรียน ได้รบั การฉีดวัคซีนครบโดส (2 เขม็ ) ไม่น้อยกว่า 85%
และมีมาตรการการปฏิบัติตนตาม 7 มาตรการเข้มงวด 6 มาตรการหลัก และ 6 มาตรการเสริมเพื่อคานึงถึง
ความปลอดภัย และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ใน
สถานศึกษามหี ลกั เกณฑท์ ี่ต้องปฏิบัตอิ ย่างเครง่ ครดั ๔ องคป์ ระกอบ ดงั น้ี

แนวปฏิบัติโรงเรียนวดั ใหญ่บ้านบอ่ ในการป้องกันการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID–19)

๑. องค์ประกอบด้านกายภาพ ลักษณะอาคารและพื้นท่ีโดยรอบอาคารของโรงเรียนหรือ
สถาบนั การศกึ ษา ประกอบด้วย

๑.๑ พ้ืนท่ี/อาคารสนบั สนนุ การบรกิ าร
๑.๒ พน้ื ที่/อาคารเพื่อจัดการเรียนการสอน โดยจัดอาคารและพ้ืนท่ีโดยรอบให้เป็นพื้นท่ีปฏิบตั ิงาน
ทป่ี ลอดภัย และมีพน้ื ทท่ี ี่เป็น COVID free Zone
๒. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม ต้องเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียนหรือ
สถานศึกษาท่ีประสงค์จะดาเนินการในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดให้มีการประชุม
หารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน และมีมติให้ความเห็นชอบ
ร่วมกนั ในการจัดพน้ื ทกี่ ารเรยี นการสอนในรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ตลอดภาคการศกึ ษา
ก่อนนาเสนอโครงการผ่านต้นสังกัดในพ้ืนที่ แล้วขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
สมทุ รสาคร
๓. องค์ประกอบด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ โรงเรียนหรือสถานศึกษาต้องเตรียม
การประเมนิ ความพรอ้ ม ดังน้ี
๓.๑ โรงเรียน หรอื สถานศกึ ษาตอ้ งปฏบิ ตั ิ

๑) ต้องผ่านการประเมินความพร้อมผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผล
ผ่าน MOECOVID

๒) ต้องจัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพ้ืนท่ีแยกกักตัว
ช่ัวคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสาหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู
หรือบุคลากรในสถานศึกษากรณีมีการติดเช้ือโควิด ๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเชื้อ
เป็นบวก โดยมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด โดยมี ความร่วมมือกับสถานพยาบาลเครือข่าย
ในพืน้ ที่ทด่ี แู ลอยา่ งใกลช้ ิด

๓) ต้องควบคุมดูแลการเดนิ ทางระหวา่ งบ้านกับโรงเรียนอย่างเข้มข้น โดยหลีกเลยี่ งการเขา้ ไป
สัมผัสในพน้ื ทตี่ า่ ง ๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทาง

19

๔) ต้องจัดพ้ืนท่ีหรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ท่ีเหมาะสมจัดจุดรับ-ส่ง
สง่ิ ของ จุดรบั -สง่ อาหาร หรือจดุ เสี่ยงอื่น เปน็ การจาแนกนกั เรยี น ครู บคุ ลากร ผู้ปกครอง
และผมู้ าตดิ ตอ่ ทเี่ ข้ามาในโรงเรียน

๕) ต้องมีระบบ และแผนรับการติดตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการบูรณาการ
ร่วมกันระหว่างกระทรวงศกึ ษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข ทั้งช่วงก่อน และระหว่าง
ดาเนินการ

๓.๒ นักเรียน ครแู ละบุคลากร ตอ้ งปฏิบตั ิ
๑) ครู และบุคลากร ต้องไดร้ ับการฉีดวัคซีนครบโดส (๒ เขม็ ) ตงั้ แต่ร้อยละ 85 ข้ึนไป
๒) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา มีการทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble
และหลีกเลย่ี งการทากจิ กรรมขา้ มกลุ่มกนั
๓) ถ้านักเรียน ครู และบุคลากรมีอาการเข้าได้ (Inclusion Criteria ) กับการติดเชื้อโควิด หรือ
สัมผัสกลุ่มเสย่ี งสูงให้ดาเนินการตรวจคดั กรองหาเช้ือด้วยวิธีท่ีเหมาะสมโดยเฉพาะกลุ่มทีไ่ มไ่ ด้
รับวัคซนี ตามเกณฑ์ พร้อมทั้งรายงานผลการตรวจกบั หน่วยงานสาธารณสุขในพ้ืนทท่ี ันที และ
ปฏบิ ตั ิตามแผนเผชญิ เหตกุ รณี มีผลตรวจเปน็ บวก
๔). องค์ประกอบด้านการดาเนินการของโรงเรียน หรือสถานศึกษา ระหว่างภาคการศึกษาต้อง
ดาเนนิ การ ดังนี้
๔.๑ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ทั้งรูปแบบ Onsite หรือ Online หรือแบบผสมผสาน
(Hybrid)
๔.๒ นักเรียน ครู และบุคลากรท่ีอยู่ในพื้นท่ีต้องประเมิน Thai Save Thai (TST)
อย่างต่อเน่อื ง ตามเกณฑจ์ าแนกตามเขตพ้นื ที่การแพรร่ ะบาด
๔.๓ นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษามีการสุ่มตรวจคัดกรองหาเช้ือเป็นระยะตาม
แนวทางของคณะกรรมกรรมการควบคุมโรคระดับจังหวัดกาหนด
๔.๔ ปฏบิ ตั ิตามมาตรการสขุ อนามัยสว่ นบุคคลอย่างเข้มขน้ ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการ หลัก (DMHT-
RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
๔.๕ นักเรียน ครู และบุคลากร ท่ีเก่ียวข้องกับสถานศึกษา เขียนบันทึก Timeline กิจกรรม
ประจาวนั และการเดนิ ทางเขา้ ไปในสถานท่ตี า่ ง ๆ แตล่ ะวันอยา่ งสมา่ เสมอ
๔.๖ ปฏิบัติตามแนวทาง ๗ มาตรการเข้มงวดสาหรับสถานศึกษาประเภทไป – กลับ
อย่างเครง่ ครดั
๔.๖.๑ สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตาม
การประเมินผลผ่าน MOECOVID โดยถอื ปฏบิ ัตอิ ย่างเขม้ ขน้ ตอ่ เน่อื ง
๔.๖.๒ ทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทากิจกรรม ข้าม
กลุ่มกัน และจัดนักเรียนในห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไม่เกิน 20 คน
หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียน ในห้องเรียนไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร
พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
๔.๖.๓ จัดระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรยี นครูและบคุ ลากรในสถานศึกษาตาม
หลักมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิ การจัดซื้อจัดหา
วัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบอาหาร หรือการส่ังซื้ออาหารตาม
ระบบการส่งอาหาร (Delivery) ท่ีถูกสุขลักษณะและต้องมีระบบตรวจสอบทาง
โภชนาการกอ่ นนามาบรโิ ภค

20

๔.๖.๔ จัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ใน
การป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร
การทาความสะอาดคุณภาพนา้ อุปโภคบรโิ ภค และการจัดการขยะ

๔.๖.๕ จัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพ้ืนที่แยกกัก
ช่ัวคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสาหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณี
นักเรียน ครู หรือบคุ ลากรในสถานศกึ ษา มีการติดเชอื้ โควิด ๑๙ หรือผลตรวจคัด
กรองหาเชื้อเป็นบวก โดยมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด ให้ความร่วมมือ กับ
สถานพยาบาลเครอื ข่ายในพนื้ ท่ีที่ดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ

๔.๖.๖ ควบคุมดูแลการเดินทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่าง
เข้มข้น โดยหลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสในพื้นที่ต่าง ๆ ตลอดเส้นทาง การเดินทาง
จากบ้านไปกลับโรงเรียน ท้ังกรณี รถรับ-ส่งนักเรียน รถส่วนบุคคล และพาหนะ
โดยสารสาธารณะ

๔.๖.๗ ให้จัดให้มี School Pass สาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซ่ึง
ประกอบด้วยข้อมูล ผลการประเมิน TST ผลตรวจคัดกรองหาเช้ือ ตามแนวทาง
คณะกรรมการควบคุมโรคระดับพื้นท่ี และประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการ
ของกระทรวงสาธารณสขุ

๔.๗ กาหนดให้สถานประกอบกิจการ กิจกรรม ที่อยู่รอบร้ัวสถานศึกษา ให้ผ่านการประเมิน
Thai Stop Covid Plus (TSC+) Covid Free Setting โดยให้มีการกากับร่วมกับ
คณะกรรมการโรคติดต่อระดับพืน้ ท่ี

ท้ังนี้โรงเรียนที่จะประสงค์ขอเปิดการเรียนการสอน ต้องจัดทาเอกสารข้อเสนอโครงการเสนอต่อ
กระทรวงสาธารณสุขในพ้ืนที่พิจารณา และเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด โดยต้องจัดทาแผนงาน
และแสดงความพร้อมการดาเนินการตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ให้ครบถว้ น

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

ประกาศโรงเรียนวัดใหญ่บา้ นบ่อ (บ้านบ่อราษฎรบารงุ )
เรื่อง มาตรการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (COVID-19)

สาหรบั คณะครู บคุ ลากร นักเรียน ผู้ปกครองและผู้มาติดต่อราชการ
………………………………............................

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019COVID ระลอกใหม่ ตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ (บ้านบ่อราษฎรบารุง) ถึงความปลอดภัยของนักเรียน
คณะครู บุคลากร ตลอดจนผปู้ กครองและผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้องจึงกาหนดมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของเช้ือ
ไวรัสโคโรนา่ (COVID–19) โดยมแี นวปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

๑. คณะครู บคุ ลากร นกั เรียน ผูป้ กครอง หรือบุคคลภายนอกทเี่ ขา้ มาในบรเิ วณโรงเรียนตอ้ ง
ผ่าน การตรวจคัดกรองวดั อณุ หภมู ิรา่ งกาย

2. คณะครู บคุ ลากร นักเรียน ผปู้ กครอง หรือบคุ คลภายนอกทเ่ี ข้ามาในบริเวณโรงเรยี น ต้อง
สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา

๓. ลา้ งมือดว้ ยสบู/่ เจลแอลกอฮอล์ตามจุดคัดกรองที่โรงเรียนกาหนด
๔. เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล อยา่ งนอ้ ย–21เมตร
๕.จากดั จานวนผู้รับบรกิ ารสานกั งานเพอ่ื ลดความแออดั ในการเข้ารบั บรกิ าร

ประกาศ ณ วนั ที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔

(นางสาวสมถวิล ศรีอ่อน)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นวดั ใหญบ่ ้านบอ่ (บ้านบอ่ ราษฎรบารงุ )

31

แนวปฏบิ ตั โิ รงเรยี นวัดใหญ่บ้านบ่อ(บา้ นบอ่ ราษฎรบารงุ )
ในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวโคโรน่า 2019 (COVID – 19)

โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ(บ้านบ่อราษฎรบารุง) กาหนดมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรน่า 2019 (COVID – 19) ก่อนเปิดภาคเรียนโดยยึดกรอบแนวทาง 6 มิติของกระทรวงสาธารณ สุข
ได้แก่ 1. การดาเนินการด้านความปลอดภัย , 2.การเรียนรู้ , 3.การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส , 4. สวัสดิ
ภาพและการคุ้มครอง , 5.นโยบาย , 6.การบริหารการเงิน สาหรับเป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมก่อน
เปิดภาคเรียนวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ใน 2019
(COVID–19)

มติ ิท่ี 1 ความปลอดภยั จาการลดการแพรเ่ ช้อื โรค
มาตรการควบคุมหลัก
1. มมี าตรการคดั กรองวดั ไขอ้ าการเสีย่ ง และประวตั ิเสี่ยง
2. ใหน้ กั เรียน บุคลากร และผเู้ ข้ามาในสถานศกึ ษาทกุ คนต้องสวมหน้ากากอนัย/หน้ากากผา้
3. มีจุดบริการล้างมอื ดว้ ยสบ่หู รอื เจลแอลกอฮอล์ อยา่ งเพยี งพอ
4. จัดเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คลอยา่ งน้อย 1-2 เมตร
5. เปิดประตู หน้าต่างให้อากาศถ่ายเท ลดการใช้เคร่ืองปรับอากาศ และทาความสะอาดห้องเรียน
ตลอดจนพืน้ ทบ่ี รเิ วณโรงเรียนโดยรอบ1. มมี าตรการคดั กรองวดั ไข้อาการเส่ยี ง และประวตั ิเสย่ี ง
6. พิจารณาควบคุมจานวนนักเรียน ลดแออัด เหลื่อมเวลาหรือลดเวลาทากิจกรรมให้สั้นลงเท่าท่ี
จาเป็น
มาตรการเสริม
1. ทาความสะอาดพนื้ ท่ีท่นี กั เรียนใช้ร่วมกัน ก่อนและหลงั ใชง้ านทุกครงั้
2. จดั ให้มีพืน้ ที่การทากิจกรรม เวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร
3. ให้นกั เรียนใชข้ องใชส้ ่วนตวั
4. จดั ใหม้ ีห้องพยาบาลสาหรบั แยกผ้มู อี าการป่วยระบบทางเดินหายใจ
5. จัดให้มีการสื่อสารความรู้การป้องกันโรคโควิด-19 การล้างมือ การสวมหน้ากาก การทาความ
สะอาดให้กบั นักเรียน คณะครูและบคุ ลากรทกุ คนในสถานศึกษา

6. มมี าตรการสาหรับกรณีมรี ถรบั – ส่งนกั เรียน

มิตทิ ี่ 2 การเรยี นรู้
มาตรการควบคมุ หลกั
1. จัดหาสื่อความรปู้ อ้ งกันควบคุมโรคโควิด-19 สาหรบั ใช้ในการเรยี นการสอน
2. เตรียมความพร้อมด้านการเรียนรู้ใน 5 รูปแบบตามแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ คือ ON
SITE , ON AIR , ON DEMAND , ON LINE , ON HAND โดยคานึงถึงสถานการณ์ ศักยภาพของผู้เรียน และ
สอดคล้องกบั พฒั นาการด้านสังคม อารมณ์และสตปิ ญั ญา
3. มอบหมายครูผ้สู อนและครูท่ีปรกึ ษาตดิ ตามดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นทง้ั การเรียนและพฤติกรรม
มาตรการเสรมิ
1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่แนะนาให้ใช้ส่ือการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยขาด
ปฏิสมั พันธก์ ับผสู้ อนผูป้ กครองครู

32

2.ไม่ปล่อยให้นักเรียนอยู่กับส่ือออนไลน์ (ท่ีไม่ใช่สื่อการเรียนการสอน)นานเกินไป ตามระยะเวลาที่
กาหนด

๓. ส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาและนกั เรียนประเมนิ ตนเองในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียน
๔. สนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี นใช้ส่อื รอบรู้ดา้ นสุขภาพในรปู แบบและผา่ นชอ่ งทางหลากหลายท่สี ามารถ
เข้าถงึ ได้

มิตทิ ี่ 3 การครอบคลุมถึงเด็กดอ้ ยโอกาสได้แก่ 1) เด็กพิเศษ 2) เดก็ พนื้ ทเ่ี ฉพาะหา่ งไกลมาก
มาตรการควบคุมหลัก
1. จัดหาอุปกรณ์การป้องกันตนเองและและอุปกรณ์ล้างมือสบู่ เจลแอลกอฮอล์เช่ หน้ากากผ้า หรือ
หน้ากากอนามยั ใหเ้ พยี งพอ
2. จดั รูปแบบการเรยี นการสอนทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทการเข้าถึงการเรียนรู้ของนักเรยี น
3. มีมาตรการส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนไดร้ บั บรกิ ารสุขภาพขน้ั พื้นฐานอย่างท่ัวถึง
4. มมี าตรการการทาความสะอาดและจัดสภาพแวดลอ้ มของท่พี ักและเรือนนอนใหถ้ ูกสุขลกั ษณะ
5. มีมาตรการการทาความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติการปฏิบัติ ด้าน
ศาสนกจิ
6. มีมาตรการดูแลนกั เรยี นที่มคี วามบกพร่องด้านพฒั นาการ การเรยี นรู้ หรอื ด้านพฤติกรรมอาร
มาตรการเสริม
1. ประสานและแสวงหาการสนบั สนนุ วสั ดอุ ปุ กรณก์ ารปอ้ งโรคโควิด-19
2. ประสานการดาเนินงานตามแนวทางพัฒนากจิ กรรมผเู้ รียนของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีมี
ข้อจากดั ด้านเทคโนโลยที างการศกึ ษา
3. ใช้สื่อสร้างความเข้าใจเร่ืองโรคโควิด-19และแนวทางการดูแลตัวเอง โดยคานึงถึงข้อจากัดทาง
ภาษาและสังคม กลมุ่ นกั เรยี นพิการเรยี นร่วม

มติ ิท่ี 4 สวัสดิภาพ และการคุ้มครอง
มาตรการควบคมุ หลัก
1. จดั เตรียมแผนรองรบั ดา้ นการเรยี นการสอนสาหรับนกั เรยี นปว่ ย กกั ตวั หรือกรณีปิดสถานศกึ ษา
ชวั่ คราว
2. จดั เตรยี มแนวปฏบิ ตั ิเพอ่ื ลดการรงั เกยี จและการตีตราทางสังคม (Socialstigma)
3. จดั เตรยี มแนวปฏิบตั ิด้านการจดั การความเครียดของครูและบคุ ลากร
4. ตรวจสอบประวัติเสยี่ งของบคุ ลากรและนักเรยี น และการกักตวั
5. กาหนดแนวทางปฏิบัตติ ามระเบยี บสาหรบั บุคลากรและนักเรียนทส่ี งสยั ตดิ เชื้อหรอื ป โรคโควดิ -19
โดยไม่ถอื เปน็ วนั ลาหรอื วันหยุดเรยี น

มาตรการเสริม
1. สื่อสารทาความเข้าใจกับบคุ คลทกุ ฝา่ ยในเรอ่ื งมาตรการป้องกนั การตตี ราทางสังคม (social
stigma)
2. กรณีนักเรียนหรือบุคลากรป่วยจริง ต้องให้หยุดรักษาจนกว่าจะหายเป็นปกติ พร้อมใบรับรอง
แพทยโ์ ดยไมถ่ อื วา่ ขาดเรียนหรอื ขาดงาน
3. กักตวั ผใู้ กลช้ ดิ กับผูป้ ่วยตามเกณฑค์ วบคมุ โรค

33

มิติท่ี 5 นโยบาย
มาตรการควบคุมหลกั
1. ส่ือสารประชาสัมพันธแ์ กค่ รแู ละบคุ ลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจเบ้ืองตน้ เ โรคโควิด-
19 การลา้ งมอื การสวมหน้ากาก การรกั ษาระยะห่างระหวา่ งบคุ คล การทาความสะอาด
2. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการสถานศึกษา
3. มีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมรองรับนโยบายและแนวทางการป้องกันโรคโควิด-19 ของ
สถานศึกษา
4. แต่งตัง้ คณะทางานรบั ผดิ ชอบเก่ียวกับโรคโควดิ -19ในสถานศึกษา
5. กาหนดบทบาทหน้าที่ และมอบหมายผูร้ ับผดิ ชอบดาเนนิ การตามมาตรการ
6. สอ่ื สารทาความเขา้ ใจผ้ปู กครองและนักเรยี น เก่ียวกบั แนวทางการป้องกันโรคโควดิ -19 และมี ชอ่ ง
ทางการตดิ ตอ่ สื่อสาร
7. มีการประเมนิ ตนเองเพอ่ื เตรียมความพรอ้ มก่อนเปิดเรียน
8. มีมาตรการการจดั การดา้ นความสะอาด รถรบั -ส่งนกั เรียน และชี้แจงผู้ประกอบการ
๙. เสริมสร้างวัคซีนชุมชนในสถานศึกษา โดยมาตรการ “4 สร้าง 2 ใช้” - สร้างสถานศึกษาท่ีรู้สึก...
“ปลอดภัย” (safety) - สร้างสถานศกึ ษาท่ี... “สงบ” (calm) - สร้างสถานศึกษาที่ม.ี .. “ความหวัง” (Hope) -
สรา้ งสถานศึกษาท.ี่ .. “เข้าใจ เหน็ ใจและให้โอกาส” (De-stigmatization) - ใช้ศักยภาพสถานศึกษาและชมุ ชน
(Efficacy) เช่น ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบ่งปัน ทรัพยากรในชุมชน - ใช้สายสัมพันธ์ในสถานศึกษา
(Connectedness)
10. มีการกากบั ติดตามใหม้ กี ารดาเนนิ งานอยา่ งเคร่งครัด
มาตรการเสริม
1. จัดระบบให้นกั เรยี นสามารถเข้าถึงการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพอย่างต่อเน่ือง
2. พิจารณาปดิ สถานศึกษาตามสถานการณแ์ ละความเหมาะสม
3. ส่ือสารให้มีความรู้เกี่ยวกับการสังเกตอาการเสี่ยง การมีแนวโน้มเสี่ยงต่อการติดเชื้-19 ได้ง่าย
โดยเฉพาะในเด็กทม่ี ีอาการสมาธสิ ั้น

มิตทิ ่ี 6 การบริหารการเงิน
มาตรการควบคมุ หลกั
1. พิจารณาการใชง้ บประมาณของสถานศกึ ษาหรับการป้องกันการระบาดของโรคโควิด-19
ตามความจาเป็นและเหมาะสม
2. จดั ซือ้ วัสดอุ ุปกรณ์ปอ้ งกันโรคโควดิ -19 สาหรับนักเรยี นและบุคลากรในสถานศึกษา
มาตรการเสรมิ
1. ประสานงานและแสวงหาแหลง่ ทนุ และการสนบั สนุนจากหนว่ ยงาน องค์กร หรอื ภาคเอกชน
2. พิจารณาสรรหาบคุ ลากรเพ่มิ เติมในการดแู ลนักเรียนและการจดั การส่ิงแวดลอ้ มในสถานศึกษา

แนวปฏิบตั ริ ะหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น Public (health and social guidelines in schools)
หลักปฏิบตั ใิ นการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

1. คดั กรอง (Screening) ผทู้ ่เี ขา้ มาในสถานศกึ ษาทกุ คน ต้องได้รบั การคัดกรองวัดอณุ หภมู ิร่างกาย
2. สวมหนา้ กาก (Mask) ทุกคนตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัย ตลอดเวลาท่ีอย่ใู นสถานศึกษา
3. ล้างมือHand( Wash) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้า นานอย่างน้อย 20วินาที หรือใช้เจล
แอลกอฮอล์ หลีกเล่ียงการสมั ผัสบริเวณจุดเสีย่ งโดยไมจ่ าเปน็

34

4. เวน้ ระยะห่าง (Social distancing) เว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อยา่ งนอ้ ย 1-2เมตร รวมถึง การจัด
เวน้ ระยะห่างของสถานท่ี

5. ทาความสะอาด (Cleaning) เปิดประตู หน้าต่าง ให้อากาศถ่ายเท หากจาเป็นต้องใช้
เคร่ืองปรับอากาศ กาหนดเวลาเปิด-ปิดเคร่ืองปรับอากาศ และเปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก 1
ช่ัวโมงและทาความสะอาดห้องเรียนและบริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทาความสะอาดพื้นผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอ้ี และ
วัสดุอุปกรณ์ ก่อนเข้าเรียน ช่วงพักเท่ียง และหลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัดให้มีถังขยะ มีฝาปิดและรวบรวม
ขยะออกจากหอ้ งเรียนเพื่อนาไปกาจัดทกุ วัน

6. ลดแออัด (Decrease) ลดระยะเวลาการทากิจกรรมให้สั้นลงเท่าที่จาเป็นหรือเหล่ือมเวลากิจกรรม
และหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมรวมตวั กนั เป็นกล่มุ

ข้ันตอนการคดั กรองสุขภาพและแนวทางการส่งต่อนกั เรียนและบุคลากรในสถานศึกษา

1. จัดตง้ั จดุ /บรเิ วณคดั กรองบริเวณทางเขา้ สถานศกึ ษา
2. วัดอณุ หภูมิ (ตั้งแต่37.5°C ข้นึ ไปถือว่ามีไข้)
3. ให้ผู้ถกู คดั กรองล้างมอื ดว้ ยสบแู่ ละนา้ หรือเจลแอลกอฮอล์
4. ตรวจสอบการสวมหนา้ กากของบุคคลทกุ คนทเี่ ข้าสถานศกึ ษา
5. ซักประวัตเิ สย่ี ง อาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนงึ่ (มีน้ามูก เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ
ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส) และบันทึกผลในแบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพกรณีวัดอุณหภูมิร่างกายต่ากว่า
37.5° C ไม่มีอาการทางเดินหายใจ ไม่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยันให้ติดสัญลักษณ์หรือสต๊ิกเกอร์
เรียนเข้า /ปฏิบัติงานได้ตามปกติ • กรณี วัดอุณหภูมิร่างกายต้ังแต่ 37.5 °C ขึ้นไปร่วมกับอาการทางเดิน
หายใจอย่างใดอย่างหน่ึง และ/หรอื มปี ระวัตสิ ัมผัสใกล้ชดิ กับผู้ป่วยยืนยนั ให้แยกนกั เรียนไว้ในห้องหรือบรเิ วณ
ทีจ่ ดั เตรยี มไว้ แจง้ ผู้ปกครอง แจง้ เจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ สอบสวนโรค และดาเนินการตามคาแนะนา
6. ผรู้ ับผิดชอบรวบรวมข้อมูลรายงานผลใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทราบ

แนวปฏิบตั ิสาหรับบคุ ลากร ในสถานศึกษาผบู้ ริหาร
1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติ พร้อมทั้งจัดตั้งคณะทางานดาเนินการป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรคโควดิ -19
2. ทบทวน ปรบั ปรงุ ซ้อมปฏิบัติตามแผนฉกุ เฉนิ ของสถานศึกษา
3. ให้มีการส่ือสารประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคโควิด-19เก่ียวกับนโยบาย มาตรการ การปฏิบัติตน
การจัดการเรยี นการสอนให้กบั ผู้เก่ียวขอ้ ง และลดการตีตราทางสงั คม (Socialstigma)
4. มมี าตรการคดั กรองสุขภาพทกุ คน บรเิ วณจุดแรกเข้าไปในสถานศกึ ษา ( Point of entry)
5. ควรพิจารณาการจัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพเหมาะสมตามบริบท ได้
อยา่ งต่อเนือ่ ง รวมถงึ การติดตามกรณนี ักเรียนขาดเรยี น ลาป่วย
6. กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยืนยันมาในสถานศึกษา ให้
รีบแจง้ เจ้าหนา้ ที่สาธารณสุขในพน้ื ที่
7. มีมาตรการให้นักเรยี นได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสรมิ นมตามสิทธิที่ควรได้รับ กรณีพบในกลุ่ม
เส่ยี งหรือกักตวั
8. ควบคมุ กากับ ติดตาม และตรวจสอบการดาเนนิ งานตามมาตรการอยา่ งเครง่ ครัดและต่อเนอื่ ง

ครูผดู้ ูแลนกั เรยี น
1. ติดตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมูลท่ีเชื่อถอื ได้

35

2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหน่ึง ให้หยุดปฏิบัติงาน และ
รีบไปพบแพทย์ทันที

3. ปฏิบตั ิตามมาตรการการปอ้ งกนั โรคอย่างเคร่งครดั แกล่ ้างมอื บ่อยๆได้ สวมหน้ากากผา้ หรือ หน้ากาก
อนามัย และเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล หลกี เลีย่ งการไปในสถานทท่ี ่แี ออัดหรือแหลง่ ชุมชน

4. แจง้ ผปู้ กครองและนักเรยี น ให้นาของใช้สว่ นตัวและอุปกรณป์ อ้ งกันมาใชเ้ ปน็ ของตนเอง
5. ส่ือสารความรู้คาแนะนาหรือจัดหาส่ือประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเส่ียงจาก การ
แพร่กระจายโรคโควิด-19
6. ทาความสะอาดสือ่ การเรียนการสอนหรอื อุปกรณ์ของใชร้ ่วมที่เป็นจดุ สัมผัสเสีย่ ง หลังใชง้ าน
7. ควบคุมดูแลการจัดท่นี ่ังภายในสถานทใี่ นโรงเรียน ตามหลักการเว้นระยะห่างระหวา่ งบุ อยา่ งน้อย1
- 2 เมตร
8. ตรวจสอบ กากับ ตดิ ตามการมาเรียนของนักเรยี น
9. ตรวจคดั กรองสุขภาพทกุ คนทเ่ี ข้ามาในสถานศึกษาตามขนั้ ตอน
10. สังเกตกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม หรือนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตาม ท่ีครูกาหนดเพ่ือให้
ไดร้ ับการช่วยเหลือ
11. สื่อสารความรู้เก่ียวกบั ความเครียด กระบวนการการจัดการความเครียดให้แกน่ กั เรียนและบคุ ลากร
ในสถานศึกษา

นักเรียน
1. ติดตามข้อมลู ขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมลู ทเี่ ช่อื ถอื ได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งรีบแจ้งครหู รือ ผปู้ กครอง
3. มีและใชข้ องใช้ส่วนตวั ไม่ใช้ร่วมกบั ผู้อ่ืน
4. ปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด ได้แก่ ล้างมือบ่อยๆ สวมหน้ากากผ้า หน้ากาก
อนามัย และเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล หลกี เลี่ยงการไปในสถานทท่ี แี่ ออดั หรอื แหล่งชุมชน
5. ดูแลสุขภาพให้แขง็ แรง ดว้ ยการกินอาหารปรงุ สุก ร้อน สะอาด อาหารครบ ๕ หมูแ่ ละผกั ผลไม้ ออก
กาลงั กาย และนอนหลบั ให้เพยี งพอ
6. กรณนี กั เรียนขาดเรียนหรือถกู กักตวั ควรตดิ ตามความคบื หน้าการเรียนอยา่ งสม่าเสมอ
7. หลีกเลย่ี งการล้อเลยี นความผิดปกติหรอื อาการไมส่ บายของเพอื่ น

ผูป้ กครอง
1. ตดิ ตามข้อมลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคจากแหล่งข้อมูลที่เช่ือถือได้
2. สงั เกตอาการป่วยของบตุ รหลาน หากมอี าการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหน่ึง ใหร้ บี พาไปพบแพทย์
3. จัดหาของใช้ส่วนตัวให้บุตรหลาน
4. จัดหาอุปกรณ์ป้องกันโรคและล้างมือ กากับให้บุตรหลานปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรค อย่าง
เครง่ ครัด ไดแ้ ก่ ลา้ งมอื บอ่ ยๆ สวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัย และเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล หลีกเลี่ยง
การไปในสถานทที่ ีแ่ ออัดหรอื แหลง่ ชุมชน
5. ดแู ลสขุ ภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรุงสกุ ใหม่
6. กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการดูแล
จดั การเรยี นการสอนแกน่ ักเรยี น

แม่ครัว ผู้จาหนา่ ยอาหาร ผู้ปฏิบัติงานทาความสะอาด
1. ตดิ ตามข้อมลู ข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค จากแหล่งข้อมูลท่ีเชือ่ ถอื ได้

36

2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้หยุดปฏิบัติงาน และ
รีบไปพบแพทยท์ นั ที

3. ลา้ งมือบอ่ ยๆ กอ่ น–หลงั ปรุงและประกอบอาหาร ขณะจาหนา่ ยอาหาร หลังสมั ผสั สง่ิ สกปรก
4. ขณะปฏิบัติงานของผู้สัมผัสอาหาร ต้องสวมหมวกคลุมผม ผ้ากันเปื้อน ถุงมือหรือสวมหน้ากาก
อนามยั และปฏิบัตติ นตามสุขอนามัยส่วนบุคคลทีถ่ ูกต้อง
5. ปกปิดอาหาร ใสถ่ ุงมอื และใชท้ คี่ ีบหยบิ จับอาหาร
6. จัดเตรยี มอาหารปรงุ สุกใหม่ ใหน้ กั เรยี นกิน 2ภายในเวลาชัว่ โมง
7. ผู้ปฏิบัติงานทาความสะอาด ผู้ปฏิบัติงานเก็บขนขยะ ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเองและปฏิบัติตาม
ขน้ั ตอนการทาความสะอาดให้ถูกต้อง

ดา้ นอนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม
1. ห้องเรียน สถานที่สาหรับการจัดการเรียนสอน ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา ห้อง
ประชุม ห้องพักครูกลุ่มสาระฯ โรงยิม โรงอาหาร ห้องสมุด ห้องส้วม เป็นต้น ดาเนินการตามหลักปฏิบัติการ
ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 อย่างเคร่งครัด ไดแ้ ก่ • จัดโต๊ะ เกา้ อี้ หรือทีน่ ั่ง ให้มกี ารเวน้ ระยะห่าง
ระหว่างบุคคล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร • มีการเหลื่อมเวลาเรียน การเรียนกลมุ่ ย่อย • จดั ใหม้ กี ารระบายอากาศ
ทด่ี ี ให้อากาศถ่ายเท และทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์การเรียนทุกคร้ัง และ จุดสัมผัสเส่ยี ง ก่อน-หลังใช้
งาน • จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือ • จากัดจานวนผู้ใช้งานหรือลดระยะเวลาทากิจกรรมหรือ
เหลื่อมเวลา
2. โรงอาหาร •จัดบริการอาหาร เน้นป้องกันการปนเป้ือนของเชื้อโรค เช่น อาหารปรุงสาเร็จสกุ ใหม่ทุก
ครั้งพจิ ารณาทางเลอื กให้ผูป้ กครองสามารถเตรยี มอาหารกลางวนั (Lunchbox) ใหน้ กั เรยี น
3. ห้องพยาบาล • จัดหาครูหรือเจ้าหน้าที่ เพ่ือดูแลนักเรียน ในกรณีที่มีนักเรียนป่วยมานอนพัก
ผ้ปู กครองมารบั และมีการบันทึกรายชือ่ และอาการของนักเรียนทปี่ ่วย •จัดให้มีพ้นื ท่ีหรือห้องแยก อยา่ งชัดเจน
ระหวา่ งนกั เรียนปว่ ยจากอาการไขห้ วดั กบั นกั เรยี นป่วยจากสาเหตอุ นื่ ๆ
4. รถรับ-ส่งนกั เรียนทาความสะอาดรถรับนกั เรยี นและบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยงนกั เรียนท่ีใช้งบรกิ ารรถรับ
นกั เรียน ต้องสวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามยั •การจัดท่นี ั่งบนรถรับนักเรียน ควรจดั ให้มีการเว้นระยะห่าง
ระหว่างบุคคล อย่างน้อย1-2เมตร ก่อนและหลังให้บริการรับนักเรียนแต่ละรอบ ควรเปิดหน้าต่าง ประตู
ระบายอากาศ ให้ อากาศถา่ ยเทได้สะดวก • จดั ให้มเี จลแอลกอฮอล์สาหรบั ใชท้ าความสะอาดมอื

มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 กรณีเกิดการระบาด (เม่ือพบผปู้ ่วยยืนยนั อย่างน้อย 1.
ราย ทคี่ ิดวา่ อาจมกี ารแพรก่ ระจายเชื้อในสถานศึกษา)

1. ปิดสถานศึกษา/ช้ันป/ี ช้ันเรยี น เพื่อทาความสะอาด 3 เปน็ ระยะเวลาวนั
2. ประสานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข สารวจคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทุกคน บริเวณทางเข้
สถานศึกษา
และดาเนินการขั้นตอนท่ีกาหนด หากพบผู้เข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI) ให้เก็บตัวอย่าง NPswab ส่ง
ตรวจหาเช้ือ
3. ผู้สัมผัสกลมุ่ Highrisk ให้ดาเนนิ การเกบ็ ตวั อยา่ ง NPswab ส่งตรวจเชือ้
4. ผ้สู ัมผัสกลุ่ม Lowrisk ไม่ต้องเก็บตัวอยา่ ง แต่ให้แยกตัวอยู่ที่บา้ น และรายงานอาการ (Self report)
ทุกวัน หากพบว่า มีอาการเขา้ เกณฑ์ PUI ใหด้ าเนินการแบบผู้ป่วย PUI
5. เมื่อเปิดเรียน ให้มีการคัดกรองไข้ทุกวัน หากพบมีอาการเข้าได้กับ PUI ให้เก็บตัวอย่าง และ
พิจารณาความเส่ยี งเพือ่ ตดั สนิ ใจว่าจะใหผ้ ปู้ ่วยดูอาการทบ่ี า้ น หรือต้องแยกตัวในโรงพยาบาล

37

6. ทมี สอบสวนโรคทางการตดิ ตามผ้สู มั ผัสทุกวันจนครบกาหนด
การกากบั ตดิ ตาม และรายงานผล
โรงเรียนวัดใหญ่บ้านมีการการกับติดตาม ทบทวนการดาเนินงานให้สอดคล้องตามแนวปฏิบัติ
สถานการณ์ และบริบทพื้นที่อย่างต่อเน่ือง กรณีพบผู้มีอาการเสี่ยงหรือป่วยแจ้งเจ้าหน้าที่ดาเนินการ
สาธารณสุขทันที ผู้เก่ียวข้องและรายงานต่อผู้อานวยการ รายงานผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาสมุทรสาครทราบ

38

สว่ นที่ 4
แผนเผชญิ เหตุ

39

สว่ นท่ี 4

แผนเผชิญเหตุ
โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ(บ้านบ่อราษฎรบารุง) จัดทาแผนเผชิญเหตุตามมาตรการป้องกันตามระดับ
การแพร่ระบาดโควิด 19 ของสถานศึกษากรณีหากพบผู้ติดเชื้อ หรือพบว่ามีนักเรียน ครู หรือบุคลากรทาง
การศึกษามีความเส่ียงสูง ต้องมีความพร้อมในเรื่องของสถานท่ี วัสดุอุปกรณท์ างการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบ
การประสานงาน ตรงกับบุคลากรทางการแพทย์ในพื้นที่ การสร้างการรับรู้ข่าวสารภายในรวมท้ังการคัดกรอง
เพื่อแบ่งกลุ่มนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาตามที่กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ
กาหนด ดงั น้ี

40

ทมี่ า: กระทรวงสาธารณสุข.(๒๕๖๔). คมู่ ือการปฏบิ ัตมิ าตรการSandbox Safety Zone in School เปิด
เรียนมน่ั ใจปลอดภยั ไร้โควิด๑๙ในสถานศึกษา.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ .
หมายเหตุ: เมื่อพบผู้ติดเชื้อยืนยันให้ประสานงานกับโรงพยาบาลสมุทรสาคร และสานักงานสาธารณสุข
จังหวัดสมุทรสาคร ช่ือผู้ประสานงาน นางสาวพรรณี สังข์ทองงาม หัวหน้างานพยาบาลโรงเรียนวัดใหญ่บ้าน
บ่อ(บ้านบอ่ ราษฎรบารงุ ) 089-547794

41

สว่ นที่ 5
บทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง

42

ส่วนที่ 5
บทบาทของบุคลากรและหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง

สถานการณ์การแพร่รบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID - 19) ยังคงมีการแพร่ระบาด
อย่างต่อเน่ืองเพื่อให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019
(COVID - 19) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจึงกาหนดบทบาทของบุคลากรและหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องดังน้ี

1. บทบาทของนักเรียน
นักเรยี นเป็นหวั ใจสาคัญท่ีตอ้ งได้รับความคุ้มครองดูแลในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุดท้ังน้ี นักเรียน

จะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการอย่าง
เคร่งครัดต้ังแต่การเดินทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยู่ในโรงเรียน จนถึงการกลับบ้าน บทบาทของนักเรียน
ควรมีดังน้ี

1) เตรยี มความพร้อมในเร่อื งอุปกรณ์การเรียนเครอ่ื งใชส้ ่วนตวั และอนื่ ๆ ท่ีจาเปน็ สาหรับการเรยี น
2) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการ เสริมของกระทรวงสาธารณสุขกาหนดอย่างเคร่งครัด
3) ติดตามข้อมลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)

และสร้างความร้คู วามเข้าใจ คาแนะนาในการปอ้ งกันตนเองและลดความเสีย่ งจากการแพรก่ ระจาย
ของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)
4) ประเมินความเส่ียงของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อย่างสม่าเสมอและ
สังเกตอาการป่วยของตนเองหากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอย ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส
รีบแจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019
(COVID - 19) หรือกลับจากพื้นที่เส่ียงและอยู่ในช่วงกักตัวให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
อย่างเคร่งครดั
5) ขอคาปรึกษาจากครูผู้สอนเม่ือพบปัญหาเกี่ยวกับอุปกรณ์การเรียน อุปกรณ์เคร่ืองใช้ส่วนตัวหรือ
พบความผดิ ปกตขิ องรา่ งกายที่อาจเส่ียงต่อการตดิ เช้ือของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา2019 (COVID-19) ทันที

2. บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ครูและบุคลากรทางการศึกษานั้นซึ่งถืออยู่ใกล้ชิดนักเรียนมีหน้าที่สาคัญในการจัดการเรียนรู้ให้แก่

นกั เรียนทกุ รูปแบบจึงต้องเตรียมความพร้อมการจดั การเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้วยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วยโดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตามมาตรการท่ีกระทรวง
สาธารณสขุ กาหนดบทบาทของครูและบคุ ลากรทางการศึกษาควรมีดงั น้ี

1) ประชุมออนไลน์ (Online) ช้แี จงผปู้ กครองนักเรียนเพื่อสร้างความเข้าใจในการป้องกนั รว่ มกันการ
เฝา้ ระวงั การเตรยี มตัวของนักเรียนให้พรอ้ มก่อนเปดิ เรยี น

2) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อย่างสม่าเสมอและ
สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูกเจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส
ให้หยุดปฏิบัติงานและรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019
(COVID - 19) หรือกลบั จากพน้ื ท่เี สี่ยงและอยู่ในช่วงกกั ตัวใหป้ ฏบิ ัติตวั ตามคาแนะนาของเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข
อย่างเคร่งครดั

43

3) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID -
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเองและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจาย
ของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา2019 (COVID - 19) จากแหลง่ ข้อมลู ทเ่ี ชอ่ื ถือได้

4) จัดหาส่ือประชาสัมพันธใ์ นการป้องกันและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคติดเช้ือไวรัสโคโร
นา2019 (COVID - 19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือท่ีถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากาก
อนามัยคาแนะนาการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคมการทาความสะอาด หลีกเลี่ยง การทากิจกรรม
รว่ มกนั จานวนมากเพื่อลดจานวนคน

5) ปฏบิ ัตติ าม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริมของกระทรวงสาธารณสขุ กาหนดอย่างเครง่ ครัด
6) คอยดูแลสอดส่องช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องสุขอนามัยให้เป็นไปตามมาตรการท่ีกระทรวง
สาธารณสขุ กาหนด ไดแ้ ก่

(1) ทาการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรียนทุกคนท่ีเข้ามาในโรงเรียนในตอนเช้า ใช้เคร่ืองวัด
อุณหภูมิร่างกายพร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ามูก
หายใจลาบากเหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์สต๊ิกเกอร์หรือป้ัมแสดงใหเ้ ห็นชัดว่า ผ่านการคัด
กรองแลว้

(2) กรณีพบนักเรียนหรือผู้ที่มีอาการ มีไข้ อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเชียส ข้ึนไป
ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพ้ืนที่แยกส่วนประสานโรงพยาบาลส่งเสริม
สขุ ภาพประจาตาบล หรอื ตดิ ต่อเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุขเพื่อตรวจคัดกรองอีกครั้ง หากพบว่าผลตรวจเบ้ืองตน้ เป็น
บวก จึงแจ้งผู้ปกครองมารับจากนั้น แจ้งผู้บริหารหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพ่ือดาเนินการตามแผนเผชิญเหตุและ
มาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา2019 (COVID - 19) ของสถานศกึ ษา

(3) บนั ทกึ ผลการคดั กรองและส่งตอ่ ประวตั กิ ารป่วยตามแบบบนั ทึกการตรวจสขุ ภาพ
(4) จัดอุปกรณ์การล้างมือพรอ้มใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เตลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณทางเข้า
สบู่ลา้ งมือบริเวณอา่ งลา้ งมือ
7) ตรวจสอบ กากับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเส่ียงต่อการ
ติดเช้อื ไวรสั โคโรนา2019 (COVID - 19) และรายงานต่อผู้บรหิ าร
8) ปรบั พฤติกรรมสาหรับนักเรียนท่ีไม่ร่วมมอื ปฏิบตั ติ ามมาตรการทีค่ รกู าหนด ด้วยการแก้ปัญหาการ
เรยี นรูใ้ หม่ใหถ้ ูกตอ้ ง นัน่ คือ “สรา้ งพฤตกิ รรมที่พึงประสงค”์ หรือ “ลดพฤตกิ รรมทีไ่ มพ่ ึงประสงค”์
9) สร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดข้ึนได้ในภาวะวิกกฤติที่มี
การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา2019 (COVID - 19) และนากระบวนการการจัดการความเครียด
การฝึกสติใหก้ ลมกลืนและเหมาะสมกบั นกั เรียนแต่ละวัยร่วมกับการฝึกทกั ษะชีวติ ท่ีเสริมสร้างความเข้มแข็งทาง
ใจ (Resilience) ให้กับนกั เรยี นได้แก่ ทกั ษะชวี ติ ดา้ นอารมณ์ สังคม และความคิด เปน็ ตน้
10) สังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรียนจานวนมาก และ
กากับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019 (COVID - 19) เป็นบทบาทสาคัญ
อาจจะสรา้ งความเครียดวติ กกังวลท้ังจากการเฝ้าระวังนกั เรียน และการป้องกนั ตวั เองจากการสัมผัสกับเชือ้ โรค
ดงั น้ัน เมอ่ื ครมู คี วามเครยี ด จากสาเหตุต่าง ๆ มขี ้อเสนอแนะดงั นี้
(1) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของโรงเรียนท่ีไม่ชัดเจน แนะนาให้สอบถามกับผู้บริหาร
โรงเรยี นหรอื เพอ่ื นร่วมงาน เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจบทบาทหน้าท่แี ละขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ี่ตรงกนั

44

(2) กรณีมีความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในโรงเรียน ให้พูดคุยส่ือสารถึงความไม่สบายใจและ
ร้องขอสิ่งจาเป็นสาหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019
(COVID-19) เช่น สถานท่ี ส่ือการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น
หากตนเองเป็นกลุ่มเสี่ยง หรือมีโรคประจาตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจรักษาตามมาตรการท่ีกระทรวง
สาธารณสุขกาหนด

(3) จัดให้มีกิจกรรมบาบัดความเครียด โดยการฝึกสติให้เป็นกิจวัตรก่อนเริ่มการเรียนการสอน
เพ่อื ลดความวิตกกงั วลตอ่ สถานการณท์ ่ตี ึงเครยี ดนี้

11) กากับและติดตามการได้รับวัคซีนของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการที่
กาหนดและเปน็ ปจั จุบัน

3. บทบาทของผู้บริหารสถานศกึ ษา

ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญในการขับเคล่ือนต้ังแต่การวางแผน การกาหนดนโยบาย
สถานศึกษา การเตรียมความพร้อมการเปิดเรียน การส่งเสริมครูในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนการ
กากับติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหา การประเมินสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) เพ่ือความปลอดภัยของนักเรียน โดยบทบาทของ
ผู้บริหารสถานศึกษามี ควรมดี งั นี้

๑) จัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง นักเรียน
ผนู้ าชมุ ชน และมีมตใิ หค้ วามเหน็ ชอบรว่ มกันในการจดั พน้ื ที่ และรปู แบบการจดั การเรยี นการสอน

๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019
(COVID-19) ในโรงเรียน

๓) แต่งตั้งคณะทางานดาเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ประกอบด้วย นักเรียน ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข ท้องถิ่น ชุมชน และ
ผเู้ กยี่ วข้อง

๔) ประเมนิ ความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการตดิ ตามการประเมินผล
ผ่าน MOECOVID

๕) ทบทวน ปรับปรงุ ซกั ซ้อมปฏบิ ตั ิตามแผนเผชญิ เหตขุ องโรงเรียนในภาวะท่มี กี ารระบาดของ โรคติด
เชอื้ ไวรสั โคโรนา2019 (COVID-19)

๖) จัดให้มีการส่ือสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) เก่ียวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน
ผู้ปกครอง และคณะกรรมการโรงเรียน ผ่านช่องทางส่ือท่ีเหมาะสม และตดิ ตามข้อมูลข่าวสารที่เก่ยี วข้อง จาก
แหล่งข้อมลู ท่เี ชื่อถอื ได้

7) สนบั สนนุ ให้นกั เรยี น ครแู ละบุคลากรได้รับวัคซีนครบโดส ตง้ั แต่ร้อยละ 85 ขนึ้ ไป

8) สนบั สนุนให้มีการตรวจคดั กรองหาเชือ้ ด้วยวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมตามมาตรการของภาครัฐ

9) สนับสนนุ ส่งเสริม ให้นกั เรยี น ครู บุคลากรทางการศึกษา และผปู้ กครองประเมินตนเองผา่ น Thai
Save Thai (TST) ตามเกณฑจ์ าแนกเขตพน้ื ท่กี ารแพรร่ ะบาด

10) สอ่ื สารสร้างความรู้ความเข้าใจ เพอ่ื ลดการรังเกียจ และลดการตีตราทางสังคม (Social Stigma)
กรณีพบว่ามบี ุคลากรในโรงเรยี น นกั เรยี น หรือผปู้ กครองติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

45

11) กาหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในโรงเรียน (Point of Entry)
ให้แก่ นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพ้ืนที่แยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้าหรือ
หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพ่ิมช่องทางการสือ่ สารระหว่าง ครู นักเรียนผู้ปกครอง
และเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ ในกรณที พ่ี บนักเรียนกลุ่มเสีย่ งหรอื สงสยั

12) จัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่างต่อเน่ือง
ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดโรงเรียน การจัดให้มีการเรียนการสอนทางไกล สื่อ
ออนไลน์ การติดต่อทางโทรศพั ท์ หรือ Social Media เปน็ รายวนั หรือรายสปั ดาห์

13) กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเส่ียงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาในโรงเรียน
ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพ้ืนที่เพอื่ ดาเนนิ การสอบสวนโรค และพจิ ารณาดาเนนิ การตามแผนเผชญิ เหตุ
และมาตรการป้องกนั ตามระดับการแพร่ระบาดโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) ของสถานศึกษา

14) มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิที่ควรได้รับกรณีพบอยู่
ในกลมุ่ เสยี่ งหรืออยใู่ นชว่ งกกั ตวั

15) ควบคมุ กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดาเนินงาน ตามมาตรการปอ้ งกนั การแพร่
ระบาดภายในโรงเรยี นอยา่ งเคร่งครดั และต่อเนอื่ ง

๑๖) เยี่ยมบ้าน สร้างขวัญกาลังใจนักเรียน ทั้งนักเรียนท่ีมาเรียนแบบปกติ และท่ีไม่สามารถมาเรียน
แบบปกติได้

๔. บทบาทของผู้ปกครองนกั เรียน

ผู้ปกครองนักเรียนเป็นบุคคลท่ีสาคัญยิ่ง มีหน้าท่ีต้องดูแลเอาใจใส่นักเรียนและตนเองในด้าน
สขุ อนามัยและการป้องกันความเสยี่ งจากการแพรร่ ะบาดของเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
อย่างเคร่งครัด ต้องให้ความร่วมมือกับโรงเรียน ครูประจาชั้น หรือครูที่ปรึกษา เก่ียวกับมาตรการการดูแล
นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนจึงมีบทบาทสาคัญร่วมกับครูเพ่ือช่วยนักเรียนทั้งในเรื่องการเรียนรู้ และการดูแล
ความปลอดภยั ของนกั เรยี น บทบาทของผู้ปกครองนกั เรียน ควรมีดงั น้ี

๑) ติดตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเอง และลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของ
โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหลง่ ข้อมลู ทีเ่ ชือ่ ถอื ได้

๒) ประเมินความเส่ียงของตนเอง นักเรียน และคนในครอบครัวผ่านแอพพลิเคช่ัน Thai Save Thai
(TST) อย่างสม่าเสมอ สังเกตอาการป่วยของนกั เรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมีอาการไข้ ไอ
มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไป เล่น
กับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ กรณีมคี นในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา
๒๐๑๙ (COVID-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง อยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่
สาธารณสขุ อยา่ งเคร่งครดั

๓) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทาความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผ้า
ชอ้ น ส้อม แก้วน้า แปรงสฟี นั ยาสีฟัน ผา้ เชด็ หน้า ผ้าเชด็ ตัว เป็นตน้

๔) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และกากับดูแลนักเรียนให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้สุขา
หลีกเล่ียงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จาเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดีหลังเล่นกับเพ่ือนและเมื่อ
กลับมาถงึ บ้าน ควรอาบน้า สระผม และเปลีย่ นชดุ เสอื้ ผ้าใหม่ทันที

46

๕) ดูแลสุขภาพนักเรียน จัดเตรียมอาหารปรุงสุกใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหาร ครบ
๕ หมู่ และผกั ผลไม้ ๕ สี และควรจดั อาหารกลอ่ ง (Box Set) ให้แก่นกั เรียนในชว่ งเช้าแทนการซ้อื จากโรงเรียน
(กรณีที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากท่ีบา้ น) เพอ่ื เสรมิ สร้างภมู คิ ุ้มกัน ออกกาลงั กาย อยา่ งน้อย ๖๐ นาที ทุก
วันและนอนหลบั อย่างเพียงพอ ๙ - ๑๑ ชั่วโมงตอ่ วัน

๖) หลีกเล่ียงการพานักเรียนไปในสถานท่ีเส่ียงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
สถานที่แออัดท่ีมีการรวมกันของคนจานวนมาก หากจาเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือ
บ่อย ๆ ๗ ขน้ั ตอน ดว้ ยสบแู่ ละน้านาน ๒๐ วินาที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์

๗) กรณีนักเรียนเดินทางมาโรงเรียน โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรือรถอ่ืน ๆ ผู้ปกครองและโรงเรียน ต้อง
ขอความรว่ มมือกับคนขบั รถใหป้ ฏบิ ัตติ ามมาตรการของสาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั

๘) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการดูแล
จดั การเรียนการสอนแกน่ กั เรยี น เช่น การส่งการบา้ น การร่วมทากจิ กรรม เป็นตน้

๕. บทบาทขององค์กรสนับสนนุ

๕.๑ สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา

๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจให้โรงเรียนในสังกัด เกี่ยวกับการป้องกันตนเอง การดูแล
สุขอนามัยของตนเองและบคุ คลในครอบครัว

๒) ประสานงานองคก์ รตา่ ง ๆ ในเขตพ้ืนที่การศกึ ษาในการช่วยเหลือสนบั สนุนโรงเรยี น
๓) นิเทศ กากับ ตดิ ตาม โรงเรียนในสังกัดดา้ นการบรหิ ารโรงเรียนภายใต้สถานการณ์ การแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
๔) กากับ ติดตามด้านการบริหารขอ้ มูลสารสนเทศเกยี่ วกับการได้รับวัคซนี ของ นักเรียน ครู ผู้บริหาร
โรงเรียน และผปู้ กครองนักเรียนใหไ้ ดร้ บั วคั ซนี ตามมาตรการที่กาหนด
๕) รายงานผลการดาเนนิ การต่อหน่วยงานตน้ สงั กัดใหท้ ราบความเคลอ่ื นไหวอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
๖) ประชุม ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา สร้างขวัญกาลังใจในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ท้ัง
แบบปกตแิ ละแบบทางไกล

๕.๒ สานักงานสาธารณสขุ

๑) ให้คาแนะนาเก่ียวกับข้อควรปฏิบัติของสถานศึกษาสนับสนุนการดาเนินงานของโรงเรียนให้
สอดคลอ้ งตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด

๒) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจคัดกรองหาเชื้อที่เหมาะสม อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ
หน้ากากอนามัย เจลล้างมอื ฯลฯ

๓) สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ในการบริการตรวจคัดกรองความเส่ียงให้แก่ นักเรียน ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา

๔) จดั ใหม้ ีช่องทางการส่ือสาร การให้ข้อมูลข่าวสารท่ถี ูกต้อง เป็นปจั จุบนั ให้กับสถานศึกษา จัดระบบ
สนับสนุนเม่ือมนี กั เรียน ครหู รอื บคุ ลากรมีความเสยี่ งต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (COVID-19)

๕) สารวจ ติดตามสถานการณ์ในพ้ืนที่บริการอย่างต่อเนื่อง กรณี พบผู้มีอาการเสี่ยงหรือดาเนินการ
ทันที และรายงานใหส้ ถานศึกษาทราบเพ่อื ดาเนินการตามมาตรการต่อไป

๖) ออกให้บริการตามท่ีสถานศึกษาร้องขอ เช่น จัดเจ้าหน้าท่ี อสม.ประจาหมู่บ้าน ตาบล ตรวจเวร
ยาม บันทึกตแู้ ดงตามจดุ ที่โรงเรียนกาหนด และอ่ืน ๆ ตามความตอ้ งการจาเป็น

47

๕.๓ องค์กรทางปกครอง
หมายถึง หน่วยงานทางปกครอง ได้แก่ จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน และหน่วยงานท้องถิ่น ได้แก่

องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล เทศบาล เมอื งพทั ยา กรุงเทพมหานคร
๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจให้โรงเรียน และชุมชนในเขตการปกครองมีความรู้ความเข้าใจ

เกยี่ วกับการป้องกนั ตนเอง การดแู ลสุขอนามยั ของตนเอง และบุคคลในครอบครวั
๒) สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื โรงเรียนในเขตปกครองตามคาสงั่ ของจงั หวัดอยา่ งเคร่งครดั
๓) กากบั ติดตามการไดร้ ับวคั ซีนของประชาชนในเขตปกครองและมีข้อมูลทางสถิตทิ ่ีอา้ งอิง เช่อื ถอื ได้
๔) ใหบ้ ริการตามท่ีสถานศกึ ษารอ้ งขอตามความต้องการเรง่ ดว่ นและจาเปน็

๕.๔ องค์กรเอกชน

๑) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจคัดกรองหาเชื้อ อุปกรณ์วัดอุณหภูมิที่เหมาะสม
หนา้ กากอนามยั เจลลา้ งมือ ฯลฯ

๒) สนับสนุนงบประมาณให้แก่สถานศึกษาในการนาไปใช้บริหารจัดการภายใต้สถานการณ์ การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

๓) อานวยความสะดวกให้ความช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน จาเป็นในการส่งตัวนักเรียน ครูและบุคลากรท่ี
คาดว่าจะไดร้ บั เชื้อหรอื เป็นกลุ่มเสยี่ งสง่ หน่วยงานสาธารณสุขได้อยา่ งรวดเรว็

๔) สร้างระบบการติดต่อสื่อสารหน่วยงานภายในจังหวัด อาเภอ ตาบล ให้มีความรวดเร็วในการ
ชว่ ยเหลือ ดแู ล นกั เรียน ครู บคุ ลากร และผู้ปกครอง ที่สถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ


Click to View FlipBook Version