The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chonlathan Uppala, 2022-05-14 08:00:58

คู่มือนักเรียน ครู แ

ilovepdf_merged (3)

คู่มอื นกั เรยี น ครู และผูป้ กครอง
โรงเรยี นนาจานศกึ ษา

อำเภอสชี มพู จงั หวดั ขอนแกน่

ชื่อนักเรียน ...................................... นามสกลุ ..........................................
เลขประจำตวั ................................. ชน้ั ..................................................
ชอ่ื ครูที่ปรกึ ษา ...........................................................................................
ชื่อผู้ปกครอง ................................. นามสกลุ ..........................................
ท่ีอยู่ที่ติดต่อได้ บา้ นเลขที่ .............. หมู่ที่ .......... บ้าน ................................
ตำบล .......................... อำเภอ .......................... จงั หวดั ..........................
รหสั ไปรษณีย์ .............................................................................................
โทรศัพท์ ..................................................................................................

โปรดรักษาค่มู อื นกั เรยี นเล่มนไี้ ว้
ตลอดเวลาทนี่ กั เรยี นศึกษาอยทู่ โ่ี รงเรยี นนาจานศึกษา

เพ่อื ประโยชนข์ องตวั นกั เรียนเอง

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 1

สารจาก

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนนาจานศกึ ษา

โรงเรียนนาจานศึกษา เปิดทำการเรียนการสอนมาเป็นเวลากว่า 30 ปี มีนักเรียนสำเร็จการศึกษา
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จำนวน 29 รุ่น และมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 26 รุ่น แสดงว่าผู้ปกครอง
นกั เรยี นได้ใหค้ วามไวว้ างใจส่งลูกหลาน หรือนักเรยี นในความปกครองเขา้ เรยี นอยา่ งต่อเนื่องมาโดยตลอด ซ่ึงส่งิ ท่ี
ผู้ปกครองทุกท่านมุ่งหวังคงเหมือนกัน นั่นคือ ต้องการให้ลูกหลานหรือนักเรียนในความปกครองมีความรู้
ความสามารถและประสบการณ์ เพื่อนำไปแข่งขันสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับการศึกษาท่ีสูงข้ึนและ ได้มี
อาชีพการงานตามความมุ่งหวงั ท่ีต้ังไว้ ในฐานะผู้อำนวยการโรงเรียน มีความมุ่งมั่น ต้ังใจจรงิ ในการจัดการศึกษา
ให้มีคุณภาพสูงสุด และปรารถนาให้ลูกศิษย์ทุกคนเป็นผู้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีความซื่อสัตย์ มีความ
ประพฤติเรียบร้อย มีกิริยามารยาทดี มีวาจาสุภาพ มีสัมมาคารวะต่อผู้อ่ืน น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิตทั้งเวลาอยู่บ้านและเวลามาเรียนที่โรงเรียน ระลึกถงึ พระคุณของ คณุ พ่อ คุณแม่
คุณครู และตอบแทนบุญคุณท่านด้วยการเป็นลูกและลูกศิษย์ท่ีดี เคารพเชื่อฟังคำอบรมส่ังสอน ต้ังใจศึกษาเล่า
เรียนด้วยความวิริยะอุตสาหะ ปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับสถานภาพท่ีเราเป็นนักเรียน มีผลการเล่าเรียนดีและมี
สขุ ภาพแขง็ แรงตลอดไป

การศึกษาถือวา่ เป็นสิ่งท่จี ำเปน็ มากสำหรบั ทุกคน เยาวชนของชาติจะต้องไดร้ ับการศึกษาเพื่อให้ก้าวทัน
ต่อโลกอนาคต และเพื่อเติบใหญ่ไปเป็นกำลังในการขับเคลื่อนให้ประเทศชาติของเราพัฒนาให้ทัดเทียมนานาชาติ
โรงเรียนเป็นสถานที่เพาะบ่มความรู้ในด้านต่าง ๆ รวมถึงการขัดเกลาทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม ความดี
ความพากเพยี รและพัฒนาตนเองให้ดขี น้ึ

ขอขอบคุณผู้ปกครองทุกท่านที่ให้ความไว้วางใจคณะผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
โรงเรียนนาจานศึกษา เป็นผู้เตรียมความพร้อมให้ลูกหลาน หรือนักเรียนในความปกครองของท่านก้าวสู่อนาคต
สดใส ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้นำชุมชน ศิษย์เกา่ องค์การภาครัฐและเอกชน ท่ีให้การ
ส่งเสริม สนับสนุน และให้กำลังใจแก่คณะครูและบุคลากรของโรงเรียนในการปฏิบัติงาน จนประสบความสำเร็จ
ตามเป้าหมายของโรงเรยี นทุกประการ

(นางจุฑามาศ เวียงทอง)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นนาจานศกึ ษา

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 2

สารบัญ

◊ ประวัตคิ วามเป็นมา หนา้
◊ ทำเนียบผบู้ รหิ าร 4
◊ ผบู้ ริหารโรงเรียนนาจานศึกษา 6
◊ บคุ ลากรโรงเรียนนาจานศึกษา 7
◊ หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนนาจานศึกษา 8
◊ โครงสร้างหลกั สตู รเวลาเรยี น 15
◊ แนวทางการวดั ผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 17
◊ แนวทางการแกไ้ ขนักเรยี นท่ีติ 0, ร, มส ด้วยวธิ กี ารสอนซอ่ มเสรมิ 19
22
และกระบวนการตดิ ตาม
◊ โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา 24
◊ ระเบยี บขอ้ บังคบั สำหรับนักเรียนโรงเรียนนาจานศึกษา 35
◊ แนวปฏบิ ัตทิ ัว่ ไปสำหรบั นกั เรียน 53
◊ ระเบียบโรงเรียนนาจานศึกษาวา่ ดว้ ยระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น พ.ศ.2564 54
◊ บทบาทหนา้ ท่ขี องหัวหน้าห้องช้ันและรองหวั หนา้ ชั้น 58
◊ บทบาทหน้าท่ขี องนักเรียน 58
◊ บทบาทหน้าทข่ี องผู้ปกครองนกั เรียน 59
◊ ระเบียบการลาโรงเรียน 59
◊ ตัวอยา่ งการแต่งกายนักเรียนชน้ั ม.ต้น และ ม.ปลาย 61
◊ คำสง่ั “แต่งต้งั คณะกรรมการจัดทำคูม่ ือนกั เรยี น ครู ผูป้ กครอง ปกี ารศกึ ษา 2565” 63

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 3

ประวตั ิโรงเรยี นนาจานศกึ ษา

โรงเรียนนาจานศึกษาเป็นโรงเรียนสหศึกษาขนาดกลาง จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา -ขอนแก่น
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมเม่ือปีการศึกษา 2534
เป็นสาขาของโรงเรียนชุมแพศึกษา ใช้อาคารเรยี นในโรงเรียนชุมชนบ้านสี่แยกโนนหัวนาเป็นอาคาร
เรียนชั่วคราว ต่อมาเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2535 กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติให้เปิดเป็นเอกเทศ
โดยใช้ท่ีสาธารณประโยชน์ระหว่างบ้านสแี่ ยกโนนหัวนาและบ้านหนองหญ้าขาวเป็นสถานท่ีกอ่ สร้าง
อยู่หา่ งจากอำเภอสีชมพู 17 กิโลเมตร มเี นอื้ ทีท่ ัง้ หมด 40 ไร่ 3 งาน

โรงเรียนนาจานศึกษาต้ังอยู่เลขท่ี 279 หมู่ 12 ตำบลนาจาน อำเภอสีชมพู จังหวัด
ขอนแก่น เป็นโรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวนห้องเรียน 17 ห้องเรียน มีนักเรียนทั้งส้ิน 450 คน มีครู
26 คน พนักงานราชการ 1 คน ครูอัตราจ้างภาษาจีน 1 คน ครูธุรการ 1 คน ครูพี่เล้ียงเด็กพิการ 1
คน ลูกจ้างประจำ 1 คน บคุ ลากรปฏิบัติงานในโรงเรยี น 1 คน

ปัจจุบันได้พัฒนาในทุก ๆ ด้านโดยเฉพาะการใช้ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนรู้ เพื่อก้าว
เข้าสู่ “โรงเรียนท่ีจัดการสอนตามแนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21” โดยมี
นางจุฑามาศ เวียงทอง เปน็ ผู้อำนวยการโรงเรียนนาจานศึกษา

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 4

สญั ลกั ษณโ์ รงเรยี น

เทยี นและเปลวเทียน หมายถงึ ความสวา่ งไสวของสตปิ ญั ญา ซึง่ เพยี บพร้อมไปด้วยความรู้

คุณธรรม ความรัก ความสามัคคี

ชอ่ ดอกจาน หมายถึง ความอดทน เข้มแข็ง การตอ่ สู้ฟันฝา่ อปุ สรรคตา่ ง ๆ

เฉกเชน่ ดอกจานสามารถบานสะพร่ังในหน้าแล้ง

คตพิ จนโ์ รงเรยี น
นต̣ถปิ ญญฺ าสมา อาภา
“แสงสวา่ งเสมอดว้ ยปญั ญา ไม่มี”

ปรชั ญาโรงเรยี น
“ความรู้เลิศล้ำคุณธรรมนำชีวติ ”

สีประจำโรงเรยี น : แสด - ดำ
แสด หมายถึง ความเข้มแขง็ อดทน ต่อสู้ กล้าหาญ
ดำ หมายถึง ความหนักแนน่ สุขมุ รอบคอบ เสยี สละ และมจี ติ ใจท่ีมัน่ คง

วิสยั ทศั นโ์ รงเรียนนาจานศกึ ษา
ภายในปี 2564 โรงเรียนนาจานศกึ ษา มุง่ พฒั นาสู่มาตรฐานสากล

บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

อตั ลกั ษณ์
คณุ ธรรม พอเพียง เล้ียงชีพได้

เอกลกั ษณ์
บรรยากาศนา่ อยู่ เชดิ ชหู ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 5

ทำเนยี บผบู้ รหิ ารโรงเรยี นนาจานศึกษา

1. นายประเสรฐิ ศรอี ทุ ธา ดำรงตำแหนง่ อาจารยใ์ หญ่ พ.ศ.2534 – 2539
ดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2541
2. นายสพุ ล วรรณศรี ดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2541 - 2543
3. นายสมใจ อัมพรัตน์ ดำรงตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการ พ.ศ.2543 - 2547
4. นายสุเทพ พงษใ์ หม่ ดำรงตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการ พ.ศ.2547 - 2548
5. นายสินสมุทร ดีวงษ์ ดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2548 - 2554
6. นายนพิ ล นิราศสูงเนิน ดำรงตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการ พ.ศ.2554 - 2558
7. นายวทิ ยา ร้อยดี ดำรงตำแหน่งผอู้ ำนวยการ พ.ศ.2558 - 2562
8. นางจฑุ ามาศ เวยี งทอง ดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2562 - ปัจจุบัน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 6

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 7

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 8

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 9

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 10

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 11

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 12

ขอ้ มูลบคุ ลากรโรงเรยี นนาจานศึกษา
ปกี ารศกึ ษา 2565

ฝา่ ย/กลุม่ สาระฯ เพศ วฒุ ิการศึกษา

บรหิ าร ชาย หญงิ รวม ป.เอก ป.โท ป.ตรี ต่ำกวา่ ป.ตรี รวม
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ -22 - 2 - -2
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม -44 - 2 2 -4
ภาษาต่างประเทศ
การงานอาชพี -44 - 3 1 -4
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
ศิลปะ 156 - 4 2 -6
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
รวมบคุ ลากรข้าราชการครู 112 - - 2 -2
พนักงานราชการ
ครอู ตั ราจ้าง -66 - 5 1 -6
ธรุ การโรงเรียน
ครูพ่ีเล้ยี ง -22 - 2 - -2
ลกู จ้างประจำ
บคุ ลากรที่ปฏิบัติงานในโรงเรยี น 1-- - - 1 -1
รวมบคุ ลากรลกู จา้ ง
1 1- - 1 -1

--- - - - --

4 24 28 - 18 10 - 28

-11 - - 1 -1

-11 - - 1 -1

-11 - - 1 -1

-11 - - 1 -1

1-1 - - - 11

1-1 - - - 11

246 - - 4 26

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 13

2565

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 14

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจานศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา 2565

วสิ ยั ทศั นโ์ รงเรยี นนาจานศกึ ษา (Vision)
ภายในปี 2564 โรงเรียนนาจานศึกษา มุ่งพัฒนาสูม่ าตรฐานสากล บนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพียง

พนั ธกจิ (Mission Statement)
1. พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา และกระบวนการจัดการเรยี นตามมาตรฐานสากล ใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ท

สถานศึกษาบนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. พัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะตามมาตรฐานสากลและมีคุณธรรม บนพ้ืนฐานหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง
3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สู่ความเปน็ มืออาชพี
4. พฒั นาระบบการบรหิ ารสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา
5. ส่งเสรมิ และพัฒนาสื่อนวัตกรรม แหลง่ เรียนรู้ เทคโนโลยแี ละระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การ

บรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
6. สง่ เสริมและพฒั นาภาคเี ครอื ขา่ ยในการจัดการศึกษาอย่างมคี ุณภาพ

เป้าหมายของสถานศกึ ษา
1. มหี ลกั สูตรสถานศึกษาที่ได้มาตรการศึกษา มุ่งสู่มาตรฐานสากลบนพนื้ ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2. ผูเ้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะตามมาตรฐานสากลและมีคุณธรรม บนพื้นฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีความเปน็ มืออาชพี
4. มรี ะบบการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
5. มสี ื่อนวตั กรรม แหลง่ เรียนรู้ เทคโนโลยีและระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจดั การ
และการจัดการเรียนรทู้ ่มี ีประสทิ ธภิ าพ
6. มีภาคเี ครือข่ายในการจดั การศึกษาอย่างท่มี ีคุณภาพ

กลยทุ ธข์ องโรงเรยี น
1. พฒั นาคุณภาพนกั เรยี นให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมุ่งสู่มาตรฐานสากล
2. พัฒนาคุณภาพครใู ห้เป็นครมู อื อาชพี
3. พัฒนาและส่งเสรมิ ระบบบรหิ ารสถานศึกษาและภาคเี ครือขา่ ยในการบริหารจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
4. สง่ เสรมิ และพัฒนาส่ือนวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยแี ละระบบข้อมลู สารสนเทศ

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 15

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Desired Characteristics)

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์ เพอื่ ให้สามารถอยูร่ ่วมกบั ผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก ดงั นี้

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซื่อสัตย์สุจรติ

3. มีวินัย 4. ใฝ่เรยี นรู้

5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

7. รกั ความเป็นไทย 8. มีจติ สาธารณะ

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน มุง่ พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่งึ การ

พัฒนาผเู้ รยี นให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ทก่ี ำหนดน้นั จะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั น้ี
1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธีการสือ่ สารท่มี ปี ระสิทธภิ าพ คำนึงถึงผลกระทบทมี่ ีตอ่ ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่อื นำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่ือ
การตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ทเ่ี ผชญิ ไดอ้ ย่าง
ถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธภิ าพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนตอ่ ตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนื่อง การทำงาน และการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมด้วยการสร้าง
เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตัวให้ทัน
กบั การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบ
ต่อตนเองและผ้อู ืน่

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน การ
แก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ งเหมาะสมและมีคุณธรรม

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 16

โครงสรา้ งหลกั สตู รเวลาเรยี น

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กำหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดังน้ี
หลกั เกณฑก์ ารใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3
เวลาเรยี น

1 .ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียน วัน
ละไม่เกิน 6 ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ช่ัวโมง/ภาคเรียน มีค่าน้ำหนักวิชา
เทา่ กบั 1.0 หน่วยกติ (นก.)

2. ในปีการศึกษาหนึ่งถือว่าเป็น 2 ภาคเรียน ๆ ละ 20 สัปดาห์ และโรงเรียนอาจเปิดภาคฤดูร้อนได้อีก
ตามที่เห็นสมควร สำหรับภาคเรียนฤดูร้อนซึ่งมีเวลาเรียน 4 สัปดาห์ เวลาเรียนต่อสัปดาห์ของรายวิชาที่เปิดสอน
จะต้องสอนเป็น 10 เทา่ ของภาคปกติ

3. ในหน่ึงปีการศึกษามีเวลาเรียน ปีละไมเ่ กิน 1,200 ชัว่ โมง โดยเฉลยี่ วันละไม่เกิน 6 ชัว่ โมง
4. ในหนึ่งสัปดาห์โรงเรียนต้องเปิดเรียนไม่น้อยกว่า 5 วัน วันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง รวมอย่างมาก ไม่
เกิน 30 ช่ัวโมง
5. ให้เรียนตามหลักสูตรและให้โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งได้แก่กิจกรรม
แนะแนว 20 ช่ัวโมง/ภาคเรียน กิจกรรมนักเรียน 20 ช่ัวโมง/ภาคเรียน และกิจกรรมเพ่ือสังคมและ
สาธารณประโยชน์ 20 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น

วชิ าพน้ื ฐานและวชิ าเพ่ิมเตมิ

1. ผู้เรียนจะตอ้ งเรยี นวิชาพื้นฐานและวชิ าเพ่ิมเติมที่กำหนดไวใ้ นโครงสรา้ งของหลักสตู ร
2. การจัดทำรายวชิ าเพ่มิ เติม ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในหลกั สูตร และ
การใช้แหล่งวิทยากรสถานประกอบการและสถานประกอบอาชีพอิสระใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารที่
กระทรวงศึกษาธกิ ารหรอื โรงเรียนกำหนด

การประเมนิ ผลการเรียน

การประเมนิ ผลการเรียนและการเทยี บโอนผลการเรียนใหเ้ ป็นไปตามระเบียบหรือแนวปฏิบัตกิ ารวัดและ
ประเมินผลการเรยี น

เกณฑก์ ารจบหลกั สตู รการศกึ ษาตอนตน้

1. ผเู้ รยี นต้องเรยี นวิชาพ้นื ฐานและวิชาเพม่ิ เติม ไมเ่ กิน 81.0 หนว่ ยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐานจำนวน
63.0 หน่วยกติ และรายวิชาเพ่มิ เติมทีส่ ถานศึกษากำหนด

2. ผเู้ รียนตอ้ งไดห้ นว่ ยกิตตลอดหลักสูตร ไมน่ ้อยกวา่ 77.0 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพนื้ ฐานจำนวน
63.0 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเตมิ จำนวน 14.0 หนว่ ยกิต

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 17

3. ผู้เรียนมีผลการประเมินผล การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากำหนด

4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศึกษา
กำหนด

5. ผเู้ รยี นเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นและมผี ลการผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด

การแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงหลกั สตู ร
ในกรณีท่ีจะมีการยกเลิก เพ่มิ เตมิ และเปลี่ยนแปลงรายวชิ าในหลกั สตู ร ใหท้ ำเปน็ ประกาศ หรือคำสง่ั ของ

โรงเรยี น

หลกั เกณฑก์ ารใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4-6

เวลาเรยี น

1. ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4-6) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาคเรยี น
มีเวลาเรยี นวันละไมเ่ กนิ 6 ช่วั โมง คิดน้ำหนักของรายวชิ าท่เี รียนเป็นหนว่ ยกติ ใช้เกณฑ์ 40 ช่ัวโมง/ภาคเรียน
มีคา่ นำ้ หนกั เทา่ กับ 1.0 หนว่ ยกิต (นก.) ใช้เวลาเรยี นประมาณ 3 ปี

2. ในปกี ารศึกษาหนึ่ง ให้แบ่งเป็นภาคเรยี นปกติ 2 ภาค ภาคเรยี นละ 20 สปั ดาห์ และโรงเรียนอาจเปดิ
ภาคฤดูร้อนได้อกี ตามทเี่ ห็นสมควร สำหรบั ภาคฤดรู อ้ นซึ่งมเี วลาเรียน 4 สปั ดาห์ เวลาเรียนตอ่ สัปดาหข์ องรายวิชา
ทเ่ี ปดิ สอน จะต้องเปน็ 5 เทา่ ของภาคปกติ

3. ในหน่ึงปีการศึกษามีเวลาเรียนประมาณปีละไม่น้อยกว่า 1,200 ชั่วโมง (ภาคเรียนละไม่น้อยกว่า 600
ชัว่ โมง) เฉลี่ยวันละไม่น้อยกว่า 6 ชวั่ โมง

4. ในหน่งึ สัปดาห์โรงเรียนจะต้องเปิดเรียนอย่างน้อย 5 วนั วนั ละไมน่ อ้ ยกวา่ 6 ชวั่ โมง
5. จัดให้เรียนตามหลักสูตรและให้โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ซึ่งได้แก่กิจกรรม
แนะแนว 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน กิจกรรมนักเรียน 20 ช่ัวโมง/ภาคเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ 20 ชั่วโมง/ภาคเรยี น

วชิ าพน้ื ฐานและวชิ าเพม่ิ เตมิ
1. ผเู้ รยี นจะตอ้ งเรยี นวิชาพืน้ ฐานและวิชาเพ่ิมเตมิ ท่กี ำหนดไวใ้ นโครงสร้างของหลักสูตร
2. การจัดทำรายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ นอกเหนอื จากที่กำหนดไวใ้ นหลักสตู รและการ

ใช้แหล่งวิทยากรสถานประกอบการและสถานประกอบอาชีพอิสระให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีก ารท่ี
กระทรวงศกึ ษาธิการหรือโรงเรียนกำหนด

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 18

การประเมนิ ผลการเรยี น
การประเมินผลการเรียนและการเทียบโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตามระเบียบ หรอื แนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและ

ประเมินผลการเรยี น

เกณฑ์การจบหลกั สตู รการศกึ ษาตอนปลาย
1. ผู้เรยี นตอ้ งเรียนวชิ าพนื้ ฐานและวิชาเพม่ิ เติม ไมเ่ กิน 81.0 หน่วยกติ โดยเป็นรายวิชาพนื้ ฐานจำนวน

39.0 หน่วยกิต และรายวชิ าเพมิ่ เติมตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
2. ผเู้ รียนตอ้ งไดห้ นว่ ยกิตตลอดหลักสตู ร ไม่น้อยกว่า 77.0 หนว่ ยกิต โดยเป็นรายวิชาพืน้ ฐานจำนวน

39.0 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพิม่ เตมิ จำนวน 38.0 หน่วยกติ
3. ผู้เรียนมผี ลการประเมนิ ผล การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ี

สถานศกึ ษากำหนด
4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่ีสถานศึกษา

กำหนด
5. ผเู้ รยี นเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น และมีผลการผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามทส่ี ถานศึกษากำหนด

การแก้ไขเปลย่ี นแปลงหลกั สตู ร
ในกรณที จ่ี ะมีการยกเลิก เพม่ิ เติมและเปล่ียนแปลงรายวชิ าในหลกั สตู ร ใหท้ ำเปน็ ประกาศ หรอื คำสง่ั ของ

โรงเรยี น

แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
โรงเรยี นนาจานศกึ ษา

มีแนวในการดำเนนิ การดงั นี้
1. วางแผนการสอนและการประเมินผล
การประเมินผลประกอบดว้ ยการประเมนิ ผลก่อนเรียน ระหว่างเรยี น และปลายภาคเรียน
2. เลือกวิธกี ารวดั และประเมินผลให้สอดคลอ้ งกบั ภาระงานหรอื กจิ กรรม ซง่ึ มี วิธปี ระเมินผล หลายวธิ ี

เชน่
2.1 ประเมินด้วยการตอบคำถาม การสอบปากเปลา่ การทำใบงาน และแบบฝึกทักษะ
2.2 ประเมินจากการปฏิบตั ิ เชน่ มอบหมายชิน้ งาน
2.3 ประเมินตามสภาพจริง ประเมนิ จากงานหรือกจิ กรรมที่ปฏบิ ตั จิ รงิ
2.4 ประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
2.5 ประเมนิ จากการทดสอบ

3. กำหนดอัตราสว่ นคะแนนการประเมินระหวา่ งเรียนกับปลายภาค จะขึ้นอยู่กับลักษณะของเนื้อหาสาระ
รายวิชา ซึ่งอาจจะเป็น คะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20 , 70 : 30 , 60 : 40, 90 : 10

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 19

4. จัดทำเอกสารบันทึกข้อมูลของนักเรียน ผู้สอนต้องทำเอกสารบันทึกข้อมูล ผลการวัดและ ประเมินผล
ระหว่างเรียน อย่างเป็นระบบชดั เจน เพื่อเปน็ แหล่งข้อมูลในการพฒั นานักเรียน และเปน็ หลักฐานตรวจสอบ แสดง
ถึง ความโปร่งใส และความยุติธรรมในการประเมิน ครูอาจารย์ผู้สอนเป็นผู้วัดและประเมินผลตามจุดประสงค์
และ/หรอื ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั แลว้ นำผลการประเมินมาเป็นขอ้ มูลปรบั ปรุงหรอื พัฒนาการเรยี นการสอน ดงั นั้น
โรงเรียนจึงจัดใหม้ กี ารวัด และประเมนิ ผลเปน็ ระยะดังน้ี
1. การวดั และประเมนิ ผลกอ่ นเรียน มีวธิ ดี ังน้ี

1. การวัดและประเมินความพร้อมของนักเรียน การวัด และประเมินผลแบบน้ี เป็นการวัดและประเมิน
ความรู้พ้ืนฐานเดิม ท่จี ะใช้เรยี นเรื่องใหม่ เป็นการวัดก่อนเรียนเนือ้ หาใหม่

2. การวดั และประเมนิ ผลความรอบรู้ในเร่ืองที่จะเรียนก่อนเรียน เน้นการประเมนิ ผเู้ รียนในเรอื่ งที่จะทำ
การสอน เพ่ือตรวจสอบความรทู้ ักษะของนักเรยี น ในเรอื่ งท่ีจะเรยี น ข้อมลู ทไ่ี ด้เป็นข้อมูลเบ้ืองตน้ นำไป
เปรียบเทียบผลการเรยี นภายหลงั เข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นการสอน แลว้ เพ่ือดกู ารพัฒนาการเรียนรู้เพิ่มของ
นกั เรยี น
2. การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งเรยี น มีวธิ ีดังนี้

การวัดและประเมินผลระหว่างเรียน เปน็ การวัด และประเมินผลท่ีม่งุ ตรวจสอบพัฒนาการของนักเรยี นว่า
บรรลุตามผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวังตามแผนการเรียนรูห้ รือไม่ ผลการประเมินช่วยในการปรับปรงุ แกไ้ ข และ
สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นได้พฒั นาสูงสุดตามศักยภาพ ท้งั ยังช่วยในการปรบั ปรุงการเรยี นการสอนอีกด้วย
3. การวดั และประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น

การวดั และประเมินผลปลายภาคเรียน เป็นการประเมนิ ผลเพอ่ื ตรวจสอบความสำเรจ็ ของผเู้ รยี น และ/
หรือการประเมนิ ผลหลงั เรยี น นำไปเปรียบเทยี บกับการประเมินก่อนเรยี น เพื่อตรวจสอบผลการเรียนร้ขู องผู้เรยี น
ตรงตามที่คาดหวงั หรอื ไม่ ผเู้ รียนมีพัฒนาการมากน้อยเพียงไร

การวัดผลปลายภาค และนำคะแนนการประเมนิ ท้ังหมดรวมกนั เพื่อสรุปผลการเรียนตลอดภาคเป็น
ผลสมั ฤทธิ์ของนักเรยี นรายวิชา โดยมีเกณฑ์การตดั สนิ ผลการเรียนดงั นี้
1. การประเมนิ ผลการเรยี นเปน็ รายวชิ า จาก 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย ชว่ งคะแนนเปน็ รอ้ ยละ
4 ผลการเรยี นดเี ยย่ี ม 80 – 100
3.5 ผลการเรยี นดมี าก 75 – 79
3 70 – 74
2.5 ผลการเรยี นดี 65 – 69
2 ผลการเรยี นคอ่ นข้างดี 60 – 64
1.5 ผลการเรยี นน่าพอใจ 55 – 59
1 50 – 54
0 ผลการเรยี นพอใช้ 0 - 49
ผลการเรยี นผา่ นเกณฑข์ น้ั ตำ่
ผลการเรยี นตำ่ กว่าเกณฑท์ ่กี ำหนด

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 20

และผลการเรียนท่ีมีปัญหา คือ ร และ มส
“ร” หมายถึง รอการตัดสนิ เน่อื งจากนักเรียนยังมีคะแนนไม่ครบทกุ หนว่ ย
“มส” หมายถึง นกั เรยี นไมม่ ีสทิ ธ์ิสอบเน่ืองจากมีเวลาเรียนไม่ครบ 80% หรอื 60%

2. การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น
วธิ กี ารประเมิน มีการประเมินผลรายภาค โดยจัดใหม้ ีการประเมนิ 2 ลกั ษณะ ดงั นี้

1. ประเมินผลพรอ้ มกบั การดำเนนิ การสอนใหน้ ักเรยี นโดยอาจารยผ์ สู้ อนทุกคน
2. ประเมนิ ผลโดยอาจารย์ทีป่ รกึ ษา
เกณฑ์การตดั สิน มผี ลการประเมนิ เป็น 3 ระดับ ดังน้ี
“3” หมายถงึ ดเี ยยี่ ม
“2” หมายถงึ ดี
“1” หมายถึง ผ่านเกณฑก์ ารประเมินขั้นต่ำ
3. การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
วิธีการประเมิน มีการประเมินผลเปน็ รายภาค โดยจดั ใหม้ ีการประเมนิ 2 ลกั ษณะ ดงั นี้
1. ประเมนิ พร้อมกบั การดำเนินการสอนในห้องเรยี นโดยอาจารยผ์ ้สู อนทุกคน
2. ประเมนิ ผลโดยอาจารยท์ ป่ี รึกษา
เกณฑ์การตดั สิน มผี ลการประเมนิ เปน็ 3 ระดับดังน้ี
“3” หมายถงึ ดเี ยย่ี ม
“2” หมายถึง ดี
“1” หมายถงึ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ขนั้ ตำ่

4. การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
การใหร้ ะดับผลการตดั สนิ การเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ให้ผู้รบั ผดิ ชอบกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นและ

ผู้เกี่ยวขอ้ งร่วมกันกำหนด โดยให้ระดบั ผลการประเมนิ เปน็ “ผ” และ “มผ”
ผ หมายถงึ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ โดยมเี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาท้ังหมดที่จะ

จัดกจิ กรรมของแต่ละภาคเรียน และผ่านจุดประสงค์สำคญั ของกิจกรรมตามท่ีกำหนด
มผ หมายถึง ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินโดยมเี วลาเข้ารว่ มกจิ กรรมไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาท้งั หมดทจี่ ดั

กจิ กรรมของแตล่ ะภาคเรยี น และไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์สำคญั ของกจิ กรรมตามท่ีกำหนด
การเทยี บโอนผลการเรยี น

การโอนผลการเรียนของนักเรียนทำไดโ้ ดยการนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ท่ีได้จากการศึกษาใน
รูปแบบตา่ ง ๆ และหรือจากการประกอบอาชพี มาเทียบโอนเปน็ ผลการเรียนของหลกั สูตรใดหลกั สตู รหนึ่งในระดบั
ท่ีกำลงั ศึกษาอยู่ การพจิ ารณาการเทียบโอนดำเนนิ การไดด้ งั น้ี

1. พจิ ารณาจากหลักฐานการศกึ ษา ซึ่งจะให้ข้อมลู ท่ีแสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรียนในด้านตา่ ง ๆ
2. พจิ ารณาจากความร้แู ละประสบการณต์ รงจากการปฏบิ ัติจริง การทดสอบการสัมภาษณ์ ฯลฯ

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 21

3. พิจารณาจากความสามารถ และการปฏบิ ตั ิได้จริง ท้งั นี้ใหเ้ ป็นไปตามกฎกระทรวง และระเบียบท่ี
กระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด

เกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
1. ตอ้ งไดร้ บั การตดั สนิ ผลการเรยี นผา่ นในรายวชิ าพน้ื ฐานทุกกลมุ่ สาระ 8 กลุ่ม
2. ตอ้ งไม่มผี ลการเรียน ร, มส ในทุกรายวิชาทเ่ี รยี น
3. ตอ้ งมจี ำนวนชวั่ โมงเรยี นรวมในรายวิชาพนื้ ฐานและเพ่มิ เติมตงั้ แต่ 3,000 – 3,600 ช่ัวโมง
4. ตอ้ งผ่านกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นไม่นอ้ ยกว่า 200 ชวั่ โมงต่อปี
5. ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์อย่างต่ำในระดบั 1
6. ตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมินผล การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น อย่างต่ำในระดับ 1
7. ต้องได้เกรดเฉลี่ยตลอดช่วงชน้ั ไม่นอ้ ยกวา่ 1.00

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
1. ต้องไดร้ บั การตดั สินผลการเรียนผ่านในรายวชิ าพนื้ ฐานทุกกลุม่ สาระ 8 กล่มุ
2. ตอ้ งไม่มีผลการเรยี น ร , มส ในทุกรายวชิ าทีเ่ รียน
3. ต้องมจี ำนวนชว่ั โมงเรียนรวมในรายวิชาพนื้ ฐานและเพ่มิ เตมิ ไม่น้อยกวา่ 1,200 ชั่วโมงตอ่ ปี
4. ตอ้ งมจี ำนวนหน่วยการเรียนไมน่ อ้ ยกว่า 75 หน่วย ตลอดชว่ งช้ัน
5. ต้องผ่านกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นไม่น้อยกว่า 200 ชว่ั โมงต่อปี
6. ตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์อยา่ งต่ำในระดบั 1
7. ตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมินผล การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น อย่างต่ำในระดบั 1
8. ตอ้ งไดเ้ กรดเฉลีย่ ตลอดชว่ งชั้นไมน่ อ้ ยกวา่ 1.00

แนวทางการแกไ้ ขนกั เรยี นทต่ี ดิ 0,ร,มส
ดว้ ยวธิ กี ารสอนซอ่ มเสรมิ และกระบวนการตดิ ตามผล

เนื่องจากในแตแ่ ละภาคเรยี นมีนักเรียนท่ตี ดิ 0, ร, มส โรงเรยี นไดจ้ ัดสอบแกต้ วั ๒ คร้ัง แตย่ งั มนี กั เรยี น
อีกหลายคนสอบแก้ตัวไม่ผ่าน หรือไมด่ ำเนินการสอบแก้ตัว จึงทำใหน้ กั เรียนเหลา่ น้นั ไม่สามารถจบหลกั สตู รได้

ดงั นน้ั เพอ่ื แกป้ ัญหาดังกล่าวงานวัดผลจึงกำหนดข้ันตอนและแนวทางการสอบแก้ตวั ของนกั เรียนทต่ี ิด 0, ร,
มส ตามแนวทางของระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าด้วยการประเมนิ ผลการเรยี น ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
การเปล่ยี นผลการเรยี น “0”

สถานศึกษาจัดให้มีการสอนซ่อมเสริมในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั ท่ีผูเ้ รยี นสอบไม่ผา่ นกอ่ น แล้วจงึ สอบ
แก้ตัวไดไ้ มเ่ กิน 1 คร้ัง ถา้ ผู้เรยี นไม่ดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาทสี่ ถานศกึ ษากำหนด ให้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของ
สถานศกึ ษาท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอกี 1 ภาคเรยี น สำหรับภาคเรยี นท่ี 1 ต้องดำเนินการใหเ้ สร็จส้นิ ภายใน
ปีการศึกษาน้ันถ้าสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “0” อีก ให้สถานศึกษา แต่งต้ังคณะกรรมการ
ดำเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนผลการเรยี นของผ้เู รียนโดยปฏบิ ตั ิดังน้ี ใหเ้ รยี นซำ้ รายวชิ านน้ั

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 22

การเปลย่ี นผลการเรยี น “ร”
การเปลย่ี นผลการเรียน “ร” ให้ดำเนินการดงั น้ี
ให้ผู้เรียนดำเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ เม่ือผู้เรียนแก้ไขปัญหาเสร็จแล้วให้ได้ระดับผลการเรียน

ตามปกติ (ต้ังแต่ 0-4) ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการแก้ไข “ร” กรณีท่ีส่งงานไม่ครบ แต่มีผลการประเมิน ระหว่างภาค
เรียนและปลายภาค ให้ผู้สอนนำข้อมูลท่ีมีอยู่ตัดสินผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ใน ดุลยพินิจของ
สถานศึกษาทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี ไม่เกนิ 1 ภาคเรยี น สำหรบั ภาคเรียนที่ 2 ตอ้ งดำเนนิ การใหเ้ สร็จ
สิ้นภายในปีการศึกษานั้น เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้เรียนซ้ำ หากผลการเรียนเป็น “0”ให้ดำเนินการแก้ไขตาม
หลักเกณฑ์
การเปลยี่ นผลการเรียน “มส”

การเปลยี่ นผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดงั น้ี
1) กรณีผเู้ รยี นได้ผลการเรยี น “มส” เพราะมเี วลาเรียนไมถ่ ึงรอ้ ยละ 80 แต่มีเวลาเรียนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ
60 ของเวลาเรียนในรายวชิ านน้ั ให้สถานศกึ ษาจดั ใหเ้ รียนเพม่ิ เติมโดยใช้ช่วั โมง สอนซ่อมเสรมิ หรอื ใช้เวลาวา่ ง
หรือใช้วันหยดุ หรือมอบหมายงานใหท้ ำ จนมเี วลาเรยี นครบตามที่กำหนดไว้ สำหรบั รายวชิ านั้น แลว้ จึงใหว้ ัดผล
ปลายภาคเป็นกรณีพิเศษ ผลการแก้ “มส” ใหไ้ ด้ระดับผลการเรยี นไมเ่ กิน “1” การแก้ “มส” กรณีน้ีใหก้ ระทำให้
เสรจ็ สนิ้ ภายในปกี ารศกึ ษาน้ัน ถา้ ผู้เรียนไมม่ าดำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาทีก่ ำหนดไวน้ ้ีใหเ้ รยี นซ้ำ ยกเว้น
มีเหตสุ ดุ วิสัย ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “มส”ออกไปอีกไม่เกิน 1ภาคเรยี น แตเ่ ม่ือ
พ้นกำหนดนี้แลว้ ใหป้ ฏบิ ตั ิดังนใ้ี ห้เรยี นซ้ำรายวชิ านนั้
2) กรณผี ้เู รียนไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะมีเวลาเรยี นนอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้
สถานศึกษาดำเนนิ การดังน้ีให้เรียนซ้ำรายวชิ าน้ัน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 23

โครงสร้างหลกั สตู ร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นนาจานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2565
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

กำหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดงั น้ี

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ เวลาเรียน
กจิ กรรม
มธั ยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ม. 4–6
ภาษาไทย ม. 1 ม. 2 ม. 3
คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.) 240(6 นก.)
วทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.) 240(6 นก.)
การออกแบบและ 160(4 นก.) 160(4 นก.)
เทคโนโลยี 160(4 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.) 240(6 นก.)
วทิ ยาการคำนวณ 120(3 นก.) 20(0.5 นก.) 20(0.5 นก.) 100 (2.5นก.)
สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 20(0.5 นก.) 60 (1.5นก.)

 สงั คมศึกษา 20(0.5 นก.) 20(0.5 นก.) 20(0.5 นก.) 80 (2นก.)
 ประวัติศาสตร์
160(4 นก.) 160(4 นก.) 160(4 นก.) 320 (8นก.)
สขุ ศึกษา และพลศึกษา 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.) 80 (2นก.)
ศิลปะ 40(1 นก.) 40(1 นก.) 40(1 นก.) 240(6นก.)
การงานอาชีพ
ภาษาตา่ งประเทศ 80(2 นก.) 80(2 นก.) 80(2 นก.) 120(3 นก.)
รวมเวลาเรยี น(พนื้ ฐาน) 80(2 นก.) 80(2 นก.) 80(2 นก.) 120(3 นก.)
40(1 นก.) 40(1 นก.) 40(1 นก.) 120(3 นก.)
รายวชิ า/กจิ กรรมทส่ี ถานศกึ ษาจัด 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.) 240(6 นก.)
เพมิ่ เตมิ ตามความพรอ้ มและจดุ เนน้ 880(22 880(22
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 880(22 นก.) 1,640(41 นก.)
นก.) นก.)
กิจกรรมแนะแนว ไม่น้อยกว่า
กิจกรรมนักเรยี น ปีละไมเ่ กนิ 200 ช่ัวโมง 1,600 ชว่ั โมง

- ลกู เสอื -เนตรนารี 160 160 160 360

- ชุมนมุ 40 40 40 120

กิจกรรมเพื่อสังคมและ 40 40 40 -
สาธารณประโยชน์ 40 40 40
รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด 120
40 40 40
120

ไมเ่ กนิ 1,200 ชว่ั โมง/ปี รวม 3 ปไี มน่ อ้ ยกวา่ 3,600 ชวั่ โมง

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 24

โครงสรา้ งหลกั สตู รชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1

ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รายวชิ าพนื้ ฐาน 11(440) รายวชิ าพน้ื ฐาน 11(440)

ท21101 ภาษาไทย 1 1.5(60) ท21102 ภาษาไทย 1.5(60)

ค21101 คณิตศาสตร์ 1 1.5(60) ค21102 คณิตศาสตร์ 1.5(60)

ว21101 วทิ ยาศาสตร์ 1 1.5(60) ว21102วทิ ยาศาสตร์ 1.5(60)

ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 0.5(20) ว21104 วิทยาการคำนวน 1 0.5(20)

ส21101 สังคมศึกษา 1 1.5(60) ส21102 สังคมศึกษา 2 1.5(60)

ส21103 ประวัตศิ าสตร์ 1 0.5(20) ส21104 ประวัติศาสตร์ 2 0.5(20)

พ21101 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1(40) พ21102 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 2 1(40)

ศ21101 ศลิ ปะ 1 1(40) ศ21102 ศิลปะ 2 1(40)

ง21101 การงานอาชีพ 1 0.5(20) ง21102 การงานอาชีพ 2 0.5(20)

อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 1.5(60) อ21102 ภาษาองั กฤษ 2 1.5(60)

รายวชิ าเพม่ิ เติม 2.5(100) รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 2.5(100)

จ21201 ภาษาจีน 1 0.5(20) จ21202 ภาษาจนี 2 0.5(20)

อ21203 ภาษาองั กฤษในชีวิตประจำวนั 1 0.5(20) อ21204 ภาษาอังกฤษใน 0.5(20)

ชวี ติ ประจำวนั 2

ง21201 งานเกษตร 1 0.5(20) ง21202 งานเกษตร 2 0.5(20)

ส20231 หนา้ ทพี่ ลเมือง 1 0.5(20) ส20232 หน้าที่พลเมอื ง 2 0.5(20)

ส20237 ต้านทจุ ริต 1 0.5(20) ส20238 ต้านทจุ ริต 2 0.5(20)

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 80 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 80

กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20

กิจกรรมนักเรยี น กจิ กรรมนักเรียน 20
-ลกู เสือ เนตรนารี 20 -ลูกเสอื เนตรนารี 20
-ชุมนุม 20 -ชุมนมุ

กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 กจิ กรรมเพื่อสังคมและ 20

สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 600 รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 600

หมายเหตุ 1) รายวชิ าหนา้ ท่ีพลเมอื ง และรายวิชาต้านทุจริต วดั และประเมินผลแบบบูรณาการกบั การเรียนรู้และ

การทำกจิ กรรมของโรงเรยี น โดยครูประจำช้ัน

2) กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ วดั และประเมินผลโดยกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน โดยมีสมดุ

บนั ทึกกจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชนเ์ ปน็ ร่องรอยหลกั ฐาน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 25

โครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รายวชิ าพนื้ ฐาน 11(440) รายวชิ าพน้ื ฐาน 11(440)

ท22101 ภาษาไทย 3 1.5(60) ท22102 ภาษาไทย 4 1.5(60)

ค22101 คณติ ศาสตร์ 3 1.5(60) ค22102 คณิตศาสตร์ 4 1.5(60)

ว22101 วิทยาศาสตร์ 3 1.5(60) ว22102วิทยาศาสตร์ 4 1.5(60)

ว22103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5(20) ว22104 วทิ ยาการคำนวน 2 0.5(20)

2

ส22101 สังคมศึกษา 3 1.5(60) ส22103 สังคมศึกษา 4 1.5(60)

ส22103 ประวตั ิศาสตร์ 3 0.5(20) ส22104 ประวตั ิศาสตร์ 4 0.5(20)

พ22101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 3 1(40) พ22102 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 1(40)

ศ22101ศิลปะ 3 1(40) ศ22102 ศิลปะ 4 1(40)

ง22101 การงานอาชพี 3 0.5(20) ง22102 การงานอาชพี 4 0.5(20)

อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 1.5(60) อ22102 ภาษาองั กฤษ 4 1.5(60)

รายวชิ าเพม่ิ เติม 2.5(100) รายวชิ าเพ่ิมเตมิ 2.5(100)

จ22201 ภาษาจีน 3 0.5(20) จ22202 ภาษาจนี 4 0.5(20)

อ22203 ภาษาอังกฤษใน 0.5(20) อ22204 ภาษาองั กฤษใน 0.5(20)

ชีวติ ประจำวัน 3 ชวี ติ ประจำวัน 4

ง22201 งานเกษตร 3 0.5(20) ง22202 งานเกษตร 4 0.5(20)

ส20233 หนา้ ท่ีพลเมือง 3 0.5(20) ส20234 หนา้ ทีพ่ ลเมือง 4 0.5(20)

ส20239 ต้านทุจรติ 3 0.5(20) ส20240 ต้านทุจริต 4 0.5(20)

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 80 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 80

กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว 20

กจิ กรรมนักเรยี น กิจกรรมนักเรียน 20
-ลูกเสอื เนตรนารี 20 -ลูกเสอื เนตรนารี 20
-ชมุ นุม 20 -ชมุ นุม

กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ 20 กิจกรรมเพอื่ สงั คมและ 20

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 600 รวมเวลาเรยี นทงั้ สน้ิ 600

หมายเหตุ 1) รายวชิ าหน้าทีพ่ ลเมอื ง และรายวชิ าต้านทจุ ริต วดั และประเมนิ ผลแบบบรู ณาการกับการเรียนร้แู ละ

การทำกิจกรรมของโรงเรยี น โดยครปู ระจำชั้น

2) กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ วัดและประเมนิ ผลโดยกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น โดยมีสมุด

บันทกึ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนเ์ ปน็ รอ่ งรอยหลกั ฐาน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 26

โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)
รายวชิ าพน้ื ฐาน
ท23101 ภาษาไทย 5 11(440) รายวชิ าพน้ื ฐาน 11(440)
ค23101 คณติ ศาสตร์ 5
ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 1.5(60) ท23102 ภาษาไทย 6 1.5(60)
ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี 2
ส23101 สังคมศึกษา 5 1.5(60) ค23102 คณติ ศาสตร์ 6 1.5(60)

1.5(60) ว23102วทิ ยาศาสตร์ 6 1.5(60)

0.5(20) ว23104 วิทยาการคำนวน 2 0.5(20)
1.5(60)
1.5(60) ส23102 สังคมศึกษา 6

ส23103 ประวัติศาสตร์ 5 0.5(20) ส23104 ประวัติศาสตร์ 6 0.5(20)

พ23101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 5 1(40) พ23102 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6 1(40)

ศ23101 ศิลปะ 5 1(40) ศ23102 ศลิ ปะ 6 1(40)

ง23101 การงานอาชีพ 5 0.5(20) ง23102 การงานอาชีพ 6 0.5(20)

อ23101 ภาษาองั กฤษ 5 1.5(60) อ23102 ภาษาองั กฤษ 6 1.5(60)

รายวชิ าเพ่มิ เตมิ 2.5(100) รายวชิ าเพิม่ เติม 2.5(100)

จ23201 ภาษาจนี 5 0.5(20) จ23202 ภาษาจีน 6 0.5(20)

อ23203 ภาษาองั กฤษใน 0.5(20) อ23204 ภาษาองั กฤษใน 0.5(20)

ชีวติ ประจำวัน 5 ชีวติ ประจำวนั 6

ง23201 งานเกษตร 5 0.5(20) ง23202 งานเกษตร 6 0.5(20)

ส20235 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง 5 0.5(20) ส20236 หน้าทพี่ ลเมอื ง 6 0.5(20)

ส20241 ต้านทุจรติ 5 0.5(20) ส20242 ต้านทจุ ริต 6 0.5(20)

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 80 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 80

กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20

กจิ กรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน

-ลกู เสือ เนตรนารี 20 -ลูกเสือ เนตรนารี 20
-ชมุ นมุ 20 -ชมุ นมุ 20

กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและ 20 กิจกรรมเพ่อื สังคมและ 20

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 600 รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 600

หมายเหตุ 1) รายวชิ าหน้าท่ีพลเมือง และรายวิชาต้านทจุ ริต วดั และประเมนิ ผลแบบบรู ณาการกบั การเรยี นรแู้ ละ

การทำกจิ กรรมของโรงเรยี น โดยครปู ระจำช้ัน

2) กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ วดั และประเมินผลโดยกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น โดยมีสมุด

บันทึกกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์เปน็ รอ่ งรอยหลกั ฐาน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 27

โครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 แผนการเรียนวทิ ย์-คณติ

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รายวชิ าพนื้ ฐาน 7(280) รายวชิ าพน้ื ฐาน 7(280)

ท31101 ภาษาไทย 1(40) ท31102 ภาษาไทย 1(40)

ค31101 คณิตศาสตร์ 1(40) ค31102 คณติ ศาสตร์ 1(40)

ว31101 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 1(40) ว31102 วิทยาการคำนวณ 1 1(40)

ส31101 สงั คมศึกษา 1(40) ส31102 สงั คมศึกษา 1(40)

ส31103 ประวัติศาสตร์ 0.5(20) ส31104 ประวัติศาสตร์ 0.5(20)

พ31101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 0.5(20) พ31102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5(20)

ศ31101 ศิลปะ 0.5(20) ศ31102ศิลปะ 0.5(20)

ง31101 การงานอาชีพ 0.5(20) ง31102 การงานอาชพี 0.5(20)

อ31101 ภาษาอังกฤษ 1(40) อ31102 ภาษาองั กฤษ 1(40)

รายวชิ าเพม่ิ เติม 7.5(300) รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 7.5(300)

จ31201 ภาษาจีน 0.5(20) จ31202 ภาษาจนี 0.5(20)

อ31205 ภาษาอังกฤษใน 0.5(20) อ31206 ภาษาองั กฤษใน 0.5(20)

ชีวติ ประจำวนั ชีวติ ประจำวัน

ค31201 คณิตศาสตร์ 1.5(60) ค31202 คณิตศาสตร์ 1.5(60)

ว30221 เคมี 1 1.5(60) ว30201 ฟสิ ิกส์ 1 1.5(60)

ว30241 ชีววทิ ยา 1 1.5(60) ว31242 ชวี วทิ ยา 2 1.5(60)

ว30261 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 1(40) ว30262 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 2 1(40)

ส30231 หน้าท่ีพลเมือง 1 0.5(20) ส30232 หน้าทพ่ี ลเมือง 2 0.5(20)

ส30237 ต้านทุจริต 1 0.5(20) ส30238 ต้านทจุ ริต 2 0.5(20)

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60

กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว 20

กิจกรรมนักเรียน (ชมุ นมุ ) 20 กิจกรรมนักเรียน (ชุมนมุ ) 20

กิจกรรมเพอ่ื สังคมและ 20 กิจกรรมเพือ่ สงั คมและ 20

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 640 รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 640

หมายเหตุ 1) รายวิชาหน้าที่พลเมอื ง และรายวชิ าต้านทุจริต วดั และประเมนิ ผลแบบบูรณาการกบั การเรียนร้แู ละ

การทำกจิ กรรมของโรงเรยี น โดยครูประจำช้นั

2) กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ วัดและประเมนิ ผลโดยกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น โดยมีสมุด

บนั ทึกกิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์เปน็ ร่องรอยหลักฐาน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 28

โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 แผนการเรยี นศลิ ป์-ภาษา

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รายวชิ าพนื้ ฐาน 7(280) รายวชิ าพน้ื ฐาน 7(280)

ท31101 ภาษาไทย 1(40) ท31102 ภาษาไทย 1(40)
1(40)
ค31101 คณิตศาสตร์ 1(40) ค31102 คณติ ศาสตร์ 1(40)

ว31101 การออกแบบแลเทคโนโลยี 1(40) ว31102 วทิ ยาการคำนวณ 1 1(40)
0.5(20)
1 0.5(20)
0.5(20)
ส31101 สังคมศึกษา 1(40) ส31102 สังคมศึกษา 0.5(20)
1(40)
ส31103 ประวัติศาสตร์ 0.5(20) ส31104 ประวตั ิศาสตร์ 7.5(300)
0.5(20)
พ31101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 0.5(20) พ31102 สุขศึกษาและพลศึกษา 1.5(60)
1(40)
ศ31101 ศลิ ปะ 0.5(20) ศ31102ศลิ ปะ

ง31101 การงานอาชพี 0.5(20) ง31102 การงานอาชพี

อ31101 ภาษาองั กฤษ 1(40) อ31102 ภาษาองั กฤษ

รายวชิ าเพิม่ เตมิ 7.5(300) รายวชิ าเพิ่มเตมิ

จ31201 ภาษาจนี 0.5(20) จ31202 ภาษาจนี

อ31201 ภาษาอังกฤษฟัง-พดู 1.5(60) อ31202 ภาษาอังกฤษฟงั -พูด

อ31203 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร 1(40) อ31204 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร

ท31205 ภาษาไทย 1(40) ท31205 ภาษาไทย 1(40)

ค31201 คณติ ศาสตร์ 1.5(60) ค31202 คณติ ศาสตร์ 1.5(60)

ว30281 คุณภาพของสิง่ มีชีวิต 1(40) ว30282 พนั ธุกรรมและสิ่งแวดลอ้ ม 1(40)

ส30231 หน้าทพี่ ลเมือง 1 0.5(20) ส30232 หน้าทพี่ ลเมือง 2 0.5(20)

ส30237 ต้านทุจรติ 1 0.5(20) ส30238 ต้านทจุ รติ 2 0.5(20)

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60

กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20

กจิ กรรมนักเรยี น (ชุมนุม) 20 กิจกรรมนักเรยี น (ชุมนมุ ) 20

กิจกรรมเพือ่ สงั คมและ 20 กิจกรรมเพื่อสงั คมและ 20

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 640 รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 640

หมายเหตุ 1) รายวิชาหน้าท่พี ลเมือง และรายวชิ าต้านทจุ ริต วดั และประเมินผลแบบบรู ณาการกับการเรียนรู้และ

การทำกิจกรรมของโรงเรยี น โดยครปู ระจำช้นั

2) กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ วัดและประเมินผลโดยกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น โดยมีสมุด

บนั ทกึ กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชนเ์ ปน็ ร่องรอยหลักฐาน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 29

โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 แผนการเรียนวิทย์-คณิต

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รายวชิ าพน้ื ฐาน 7(280) รายวชิ าพน้ื ฐาน 7(280)

ท32101 ภาษาไทย 1(40) ท32102 ภาษาไทย 1(40)

ค32101 คณติ ศาสตร์ 1(40) ค32102 คณิตศาสตร์ 1(40)

ว32101 วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) 0.5(20) ว32102 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ (ฟิสิกส)์ 0.5(20)

ว32103 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 0.5(20) ว32104 วทิ ยาการคำนวณ 2 0.5(20)

ส32101 สังคมศึกษา 1(40) ส32102 สังคมศกึ ษา 1(40)

ส32103 ประวัติศาสตร์ 0.5(20) ส32104 ประวัติศาสตร์ 0.5(20)

พ32101 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5(20) พ32102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5(20)

ศ32101 ศิลปะ 0.5(20) ศ32102 ศลิ ปะ 0.5(20)

ง32101 การงานอาชพี 0.5(20) ง32102 การงานอาชีพ 0.5(20)

อ32101 ภาษาองั กฤษ 1(40) อ32102 ภาษาอังกฤษ 1(40)

รายวชิ าเพิม่ เตมิ 7.5(300) รายวชิ าเพิ่มเตมิ 7.5(300)

จ32201 ภาษาจีน 0.5(20) จ32202 ภาษาจีน 0.5(20)

ค32201 คณติ ศาสตร์ 1.5(60) ค32202 คณติ ศาสตร์ 1.5(60)

ว30202 ฟสิ ิกส์ 2 1.5(60) ว30203 ฟิสกิ ส์ 3 1.5(60)

ว30222 เคมี 2 1.5(60) ว30223 เคมี 3 1.5(60)

ว30243 ชวี วิทยา 3 1.5(60) ว30244 ชีววิทยา 4 1.5(60)

ส30233 หน้าทีพ่ ลเมือง 3 0.5(20) ส30234 หนา้ ที่พลเมือง 4 0.5(20)

ส30239 ต้านทุจริต 3 0.5(20) ส30240 ต้านทุจริต 4 0.5(20)

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60

กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20

กิจกรรมนักเรยี น (ชมุ นุม) 20 กิจกรรมนักเรียน (ชุมนมุ ) 20

กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ 20 กจิ กรรมเพื่อสังคมและ 20

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 640 รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 640

หมายเหตุ 1) รายวิชาหนา้ ทพ่ี ลเมือง และรายวิชาตา้ นทุจริต วัดและประเมินผลแบบบรู ณาการกับการเรยี นรแู้ ละ

การทำกจิ กรรมของโรงเรียน โดยครูประจำชั้น

2) กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ วดั และประเมินผลโดยกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น โดยมสี มุด

บนั ทกึ กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์เป็นร่องรอยหลกั ฐาน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 30

โครงสรา้ งหลกั สตู รชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 แผนการเรยี นศลิ ป์-ภาษา

ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รายวชิ าพน้ื ฐาน 7(280) รายวชิ าพนื้ ฐาน 7(280)

ท32101 ภาษาไทย 1(40) ท32102 ภาษาไทย 1(40)

ค32101 คณติ ศาสตร์ 1(40) ค32102 คณิตศาสตร์ 1(40)

ว32101 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ (เคม)ี 0.5(20) ว32102 วิทยาศาสตร์กายภาพ (ฟิสิกส)์ 0.5(20)

ว32103 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 0.5(20) ว32104 วิทยาการคำนวณ 2 0.5(20)

ส32101 สงั คมศึกษา 1(40) ส32102 สังคมศึกษา 1(40)

ส32103 ประวตั ิศาสตร์ 0.5(20) ส32104 ประวัติศาสตร์ 0.5(20)

พ32101 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5(20) พ32102 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 0.5(20)

ศ32101 ศลิ ปะ 0.5(20) ศ32102 ศลิ ปะ 0.5(20)

ง32101 การงานอาชพี 0.5(20) ง32102 การงานอาชพี 0.5(20)

อ32101 ภาษาองั กฤษ 1(40) อ32102 ภาษาองั กฤษ 1(40)

รายวชิ าเพิม่ เตมิ 7.5(300) รายวชิ าเพ่ิมเติม 7.5(300)

จ32201 ภาษาจนี 0.5(20) จ32202 ภาษาจนี 0.5(20)

อ32201 ภาษาองั กฤษฟัง-พดู 1.5(60) อ32202 ภาษาองั กฤษฟัง-พดู 1.5(60)

อ31205 ภาษาองั กฤษในชีวติ ประจำวัน 0.5(20) อ31206 ภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจำวนั 0.5(20)

ค32201 คณติ ศาสตร์ 1.5(60) ค32202 คณติ ศาสตร์ 1.5(60)

ว30283 สารและสมบัตสิ าร 1(40) ว30284 การเคลื่อนทีแ่ ละแรงในธรรมชาติ 1(40)

ง30242 โครงงาน 1 1(40) ง30243 โครงงาน 2 1(40)

พ32201 พละศึกษา 0.5(20) พ32202 พละศึกษา 0.5(20)

ส30233 หนา้ ท่พี ลเมือง 3 0.5(20) ส30234 หนา้ ท่ีพลเมือง 4 0.5(20)

ส30239 ต้านทุจริต 3 0.5(20) ส30240 ต้านทจุ รติ 4 0.5(20)

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60

กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20

กิจกรรมนักเรียน (ชุมนมุ ) 20 กจิ กรรมนักเรยี น (ชุมนมุ ) 20

กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ 20 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและ 20

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 640 รวมเวลาเรยี นทงั้ สน้ิ 640

หมายเหตุ 1) รายวิชาหนา้ ทพ่ี ลเมือง และรายวชิ าต้านทจุ ริต วัดและประเมินผลแบบบรู ณาการกับการเรียนรแู้ ละ

การทำกจิ กรรมของโรงเรียน โดยครูประจำชั้น

2) กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ วัดและประเมินผลโดยกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น โดยมสี มดุ

บนั ทึกกิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชนเ์ ป็นร่องรอยหลักฐาน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 31

โครงสรา้ งหลักสตู รชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 แผนการเรยี นวิทย์-คณิต

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รายวชิ าพนื้ ฐาน 6.5(260) รายวชิ าพนื้ ฐาน 6.5(260)

ท33101 ภาษาไทย 1(40) ท33102 ภาษาไทย 1(40)

ว33101 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ 1(40) ว33102 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 0.5(20)

ส33101 สงั คมศึกษา 1(40) ว33104 วทิ ยาการคำนวณ 3 0.5(20)

พ33101 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5(20) ส33102 สงั คมศกึ ษา 1(40)

ศ33101 ศิลปะ 0.5(20) พ33102 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 0.5(20)

ง33101 การงานอาชีพ 0.5(20) ศ33102 ศิลปะ 0.5(20)

อ33101 ภาษาองั กฤษ 1(40) ง33102 การงานอาชพี 0.5(20)

อ33102 ภาษาองั กฤษ 1(40)

รายวชิ าเพิม่ เติม 8(320) รายวชิ าเพมิ่ เติม 8(320)

จ33201 ภาษาจนี 0.5(20) จ33202 ภาษาจีน 0.5(20)

อ31201 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 1(40) อ33202 ภาษาอังกฤษในชวี ิตประจำวัน 0.5(20)

ค33201 คณิตศาสตร์ 1.5(60) ค32202 คณิตศาสตร์ 1.5(60)

ว30204 ฟิสกิ ส์ 4 1.5(60) ว30205 ฟิสิกส์ 5 1.5(60)

ว30224 เคมี 4 1.5(60) ว30225 เคมี 5 1.5(60)

ว30263 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 3 1(40) ว30245 ชวี วทิ ยา 5 1.5(60)

ส30235 หน้าทพ่ี ลเมือง 5 0.5(20) ส30236 หน้าท่พี ลเมือง 6 0.5(20)

ส30241 ต้านทุจริต 5 0.5(20) ส30242 ต้านทจุ รติ 6 0.5(20)

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60

กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว 20

กจิ กรรมนักเรยี น (ชุมนุม) 20 กิจกรรมนักเรียน (ชุมนมุ ) 20

กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ 20 กิจกรรมเพื่อสังคมและ 20

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 640 รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 640

หมายเหตุ 1) รายวิชาหน้าทพี่ ลเมอื ง และรายวชิ าตา้ นทจุ ริต วดั และประเมินผลแบบบูรณาการกบั การเรยี นร้แู ละ

การทำกจิ กรรมของโรงเรยี น โดยครปู ระจำชน้ั

2) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ วัดและประเมินผลโดยกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น โดยมสี มุด

บันทึกกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์เปน็ ร่องรอยหลักฐาน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 32

โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 แผนการเรยี นศลิ ป์-ภาษา

ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รายวชิ าพน้ื ฐาน 6.5(260) รายวชิ าพน้ื ฐาน 6.5(260)

ท33101 ภาษาไทย 1(40) ท33102 ภาษาไทย 1(40)

ว33101 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 1(40) ว33102 โลก ดาราศาสตร์และ 0.5(20)

อวกาศ

ส33101 สังคมศึกษา 1(40) ว33104 วิทยาการคำนวณ 3 0.5(20)

พ33101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 0.5(20) ส33102 สงั คมศกึ ษา 1(40)

ศ33101 ศิลปะ 0.5(20) พ33102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5(20)

ง33101 การงานอาชพี 0.5(20) ศ33102 ศิลปะ 0.5(20)

อ33101 ภาษาอังกฤษ 1(40) ง33102 การงานอาชพี 0.5(20)

อ33102 ภาษาอังกฤษ 1(40)

รายวชิ าเพิ่มเติม 8(320) รายวชิ าเพ่มิ เติม 8(320)

ท33201 ภาษากบั วัฒนธรรม 1(40) ท33202 วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ 1(40)

ค33201 คณติ ศาสตร์ 1.5(60) ค32202 คณติ ศาสตร์ 1.5(60)

ว30285 พลงั งาน 1(40) ว30286 ดวงดาวและโลกของเรา 1(40)

ส30235 หน้าท่พี ลเมือง 5 0.5(20) ส30236 หนา้ ท่ีพลเมือง 6 0.5(20)

ส30241 ต้านทจุ รติ 5 0.5(20) ส30242 ต้านทุจริต 6 0.5(20)

จ33201 ภาษาจีน 0.5(20) จ33202 ภาษาจีน 0.5(20)

อ33201 ภาษาอังกฤษฟงั -พูด 1.5(60) อ33202 ภาษาองั กฤษฟงั -พดู 1.5(60)

อ33205 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวนั 0.5(20) อ33206 ภาษาองั กฤษในชีวิตประจำวัน 0.5(20)

อ31205 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร 1(40) อ31206 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร 1(40)

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60

กจิ กรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว 20

กจิ กรรมนักเรยี น (ชุมนุม) 20 กิจกรรมนักเรยี น (ชมุ นุม) 20

กจิ กรรมเพื่อสังคมแล 20 กจิ กรรมเพื่อสังคมและ 20

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 640 รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 640

หมายเหตุ 1) รายวิชาหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง และรายวชิ าต้านทุจริต วัดและประเมินผลแบบบรู ณาการกับการเรยี นรู้และ

การทำกิจกรรมของโรงเรียน โดยครูประจำช้นั

2) กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ วัดและประเมินผลโดยกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น โดยมสี มุด

บันทกึ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชนเ์ ปน็ ร่องรอยหลักฐ

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 33

โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 แผนการเรียนทวศิ กึ ษา

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน
(หนว่ ยกติ /ชม.) (หนว่ ยกติ /ชม.)

รายวชิ าพน้ื ฐาน 6.5(260) รายวชิ าพน้ื ฐาน 6.5(260)

ท33101 ภาษาไทย 1(40) ท33102 ภาษาไทย 1(40)

ว33101 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ 1(40) ว33102 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 0.5(20)

ส33101 สังคมศึกษา 1(40) ว33104 วทิ ยาการคำนวณ 3 0.5(20)

พ33101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 0.5(20) ส33102 สงั คมศึกษา 1(40)

ศ33101 ศลิ ปะ 0.5(20) พ33102 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 0.5(20)

ง33101 การงานอาชพี 0.5(20) ศ33102 ศลิ ปะ 0.5(20)

อ33101 ภาษาอังกฤษ 1(40) ง33102 การงานอาชีพ 0.5(20)

อ33102 ภาษาองั กฤษ 1(40)

รายวชิ าเพมิ่ เติม 8(320) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 8(320)

ส30235 หนา้ ที่พลเมือง 5 0.5(20) ส30236 หนา้ ที่พลเมือง 6 0.5(20)

ส30241 ต้านทุจรติ 5 0.5(20) ส30242 ต้านทจุ ริต 6 0.5(20)

จ33201 ภาษาจนี 0.5(20) จ33202 ภาษาจีน 0.5(20)

อ33205 ภาษาอังกฤษในชวี ิตประจำวัน 0.5(20) อ33206 ภาษาอังกฤษในชวี ิตประจำวัน 0.5(20)

ง33206 งานแก๊สรถยนต์ 2(80) ง33203 กลศาสตรเ์ คร่ืองกล 2(80)

ง33208 การปรับแตง่ เครือ่ งยนต์ 2(80) ง33204 งานเขียนแบบและอา่ นแบบเครอื่ งกล 2(80)

ง33209 พลังงานทดแทน 2(80) ง33207 งานเคร่ืองยนตด์ ีเซล 2(80)

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60

กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20

กจิ กรรมนักเรียน (ชุมนมุ ) 20 กจิ กรรมนักเรียน (ชมุ นมุ ) 20

กจิ กรรมเพื่อสังคมแล 20 กิจกรรมเพ่ือสังคมและ 20

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 640 รวมเวลาเรยี นทงั้ สน้ิ 640

หมายเหตุ 1) รายวชิ าหนา้ ท่ีพลเมือง และรายวชิ าต้านทจุ ริต วัดและประเมนิ ผลแบบบูรณาการกับการเรียนร้แู ละ

การทำกิจกรรมของโรงเรียน โดยครปู ระจำช้นั

2) กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ วัดและประเมินผลโดยกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น โดยมีสมดุ

บันทึกกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนเ์ ปน็ ร่องรอยหลักฐาน

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 34

ระเบยี บขอ้ บงั คบั
สำหรบั นกั เรียนโรงเรียนนาจานศกึ ษา

หมวดทวั่ ไป
ขอ้ 1 ระเบียบนี้วา่ ดว้ ย “ระเบียบขอ้ บงั คับสำหรบั นกั เรยี นโรงเรียนนาจานศึกษา”
ข้อ 2 ใหเ้ ริม่ ใช้ระเบยี บนี้ต้ังแตว่ ันท่ี 1 พฤษภาคม 2564 เปน็ ต้นไป
ข้อ 3 จดุ มงุ่ หมายของระเบียบนี้

3.1 เพอ่ื สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมีระเบยี บวนิ ัยในตนเอง
3.2 เพอื่ ใหน้ ักเรียนจดั การเป็นผูน้ ำและผู้ตามในสังคม
3.3 เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเปน็ ผู้มศี ลี ธรรมและวฒั นธรรมอันดี
3.4 เพอ่ื สง่ เสริมการอยรู่ ่วมกนั โดยวิธีของประชาธปิ ไตย
3.5 เพอ่ื ให้รูจ้ กั การเสยี สละเพื่อส่วนรวมและชุมชน
3.6 เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ผู้ท่ีมีความภูมใิ จ หย่ิงในศกั ดิ์ศรแี ละเกยี รตภิ ูมขิ องสถาบนั
3.7 เพอ่ื สรา้ งความเชื่อมน่ั ในหลักการและเหตผุ ล โดยวิธีการแห่งปัญญา
3.8 เพอื่ สรา้ งความสามัคคี กลมเกลียว ความเป็นนำ้ หนงึ่ ใจเดยี วกนั ทงั้ ในและนอก
สถาบนั การศึกษา
ข้อ 4 ให้ผูอ้ ำนวยการ โรงเรียนนาจานศกึ ษา เป็นผูร้ ักษาการเปน็ ไปตามระเบยี บน้ี ตลอดการ
พิจารณาตัดสนิ ลงโทษ อนั เกิดจากความผดิ ทร่ี ะเบียบนี้ไดร้ ะบุไวด้ ว้ ยความยตุ ิธรรม
ขอ้ 5 การลงโทษนักเรียนแบ่งเป็นขัน้ ตอนดงั น้ี
5.1 วา่ กลา่ วตักเตือน ให้ใช้กบั นักเรียนท่ีมคี วามผดิ ไม่รา้ ยแรง โดยจะตอ้ งชแี้ จงอยา่ งมี
เหตุผลใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจถึงผลเสยี ท่นี กั เรยี นปฏิบตั ิ หรือเว้นการปฏิบตั ิและใหน้ ักเรยี นปฏิบัติในส่ิงท่นี กั เรยี นเคย
ปฏิบตั ิ แตน่ กั เรียนละเลยไมป่ ฏิบตั ิ
5.2 ทำกจิ กรรมเพอื่ ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม
5.3 ตดั คะแนนความประพฤติ และบนั ทึกข้อมูล ตามหลักเกณฑ์การลงโทษ และตดั คะแนน
ความประพฤติของโรงเรยี น
ขอ้ 6 การลงโทษนักเรียนทุกครั้งตอ้ งบนั ทึกไวเ้ ป็นหลกั ฐาน และแจ้งผู้ปกครองของนักเรยี นทราบ
เมื่อนกั เรียนถกู ตัดคะแนนความประพฤติตั้งแต่ 40 คะแนนข้นึ ไป
ข้อ 7 ผู้ปกครองนักเรยี น หมายถงึ บุคคลตอ่ ไปน้ี
7.1 ผปู้ กครองคนท่ี 1 หมายถงึ บดิ ามารดา หรอื ผอู้ ุปการะเลี้ยงดูนกั เรียน แต่จะต้องไม่เป็น
นักเรียนนกั ศึกษา
7.2 ผปู้ กครองคนท่ี 2 หมายถงึ ผู้ท่ีพกั อาศัยบา้ นเดยี วกันกบั นักเรยี นต้องมีช่อื ในทะเบยี น
บ้านทนี่ ักเรียนอาศยั อยู่ และควบคมุ ดูแลความประพฤติของนกั เรียน ในกรณีท่นี กั เรียนอยู่ในหอพัก บา้ นพัก
ผ้ปู กครองคนท่ี 2 ต้องเช่นเดยี วกบั ขอ้ 1

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 35

ข้อ 8 ผู้ปกครองนักเรยี นตอ้ งมตี ัวอย่างลายเซ็นในทะเบียนความประพฤติของนักเรียนการ
ลงช่ือหรือการติดตอ่ กบั ทางโรงเรียนต้องเป็นผู้ปกครองคนที่ 1 หรอื คนที่ 2 เทา่ น้นั

ขอ้ 9 นกั เรียนทกุ คนตอ้ งมบี ตั รประจำตวั นกั เรยี น การติดต่อทางโรงเรยี นต้องแสดงบัตรทุก
ครง้ั

หมวดภายในโรงเรยี น
ข้อ 10 การแต่งกาย

ในวันทโ่ี รงเรยี นเปิดการสอนตามปกติ นักเรียนต้องแตง่ กายเป็นระเบียนเรยี บร้อย
ครบถว้ นตามข้อบงั คับในระเบียบเคร่อื งแตง่ กายนักเรียนโรงเรียนนาจานศกึ ษา

ข้อ 11 การปฏบิ ตั ิ
11.1 นกั เรยี นจะต้องเว้นจากการประพฤติไมด่ ี ไมเ่ หมาะสมกบั สภาพการเป็นนกั เรยี น

ทุกข้อในหมวดภายนอกโรงเรียน
11.2 นกั เรียนจะต้องเปน็ ผทู้ ่ีมีมารยาทดี จะต้องปฏบิ ตั หิ รือเวน้ จากการปฏิบัติดังน้ี
11.2.1 เมอื่ เดินผ่าน เดนิ สวนหรอื ตดิ ตอ่ กับครูทกุ ระดับช้ัน ตอ้ งแสดงความ

เคารพพดู จาสภุ าพออ่ นน้อม
11.2.2 ไม่สง่ เสียงดังหรือพูดจาหยาบคาบ หรอื กระทำดว้ ยวธิ ีใดๆ กต็ ามท่ีก่อ

ความเดือดร้อนรำคาญแกผ่ ้อู ่ืน
11.2.3 นกั เรยี นชายต้องปฏิบัติตนเยีย่ งสุภาพบุรุษ นักเรยี นหญงิ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ น

เยี่ยงกลุ สตรี ไมว่ ่าเดนิ นง่ั การพูด หรืออ่ืนๆ
11.3 นกั เรยี นตอ้ งอยูร่ ่วมกัน และปฏิบัตติ ่อกนั อย่างสันติวิธี ไม่ทะเลาะววิ าท กลั่น

แกล้งด้วยประการทง้ั ปวง ผูฝ้ ่าฝนื จะได้รับโทษข้ันรา้ ยแรง
11.4 นกั เรยี นจะต้องไมล่ ะเมดิ สทิ ธใิ นร่างกายและทรัพย์สินของคนอ่ืน
11.5 การออกนอกบริเวณโรงเรยี น ทกุ คนต้องไดร้ ับอนญุ าตจากฝ่ายบริหารกจิ การ

นกั เรยี นก่อน และต้องมีบัตรออกนอกบริเวณติดตัวให้สามารถตรวจเช็คได้
11.6 หา้ มสูบบหุ รี่ กญั ชา เสพสรุ า ของมนึ เมาหรือยาเสพติดให้โทษทุกชนดิ หรอื พกพา

หรอื ครอบครอง หรือซ่อนเรน้
11.7 หา้ มนกั เรยี นหญิง นกั เรียนชาย อย่ใู นที่ลบั ตาสองต่อสองหรือแสดงเจตนาชู้สาว

ด้วยวิธีการใดๆก็ตาม
11.8 ห้ามเล่นการพนนั ทุกชนิด
11.9 ห้ามพกอาวธุ วตั ถุระเบิด หรืออปุ กรณท์ เ่ี จตนาให้เป็นอาวุธทกุ ชนิด
11.10 ห้ามคบเพ่อื นอนั ธพาล หรือชกั นำเข้ามาในบรเิ วณโรงเรยี น
11.11 หา้ มนกั เรยี นใช้โทรศัพท์มอื ถือในเวลาเรยี น หากพบวา่ มีใชใ้ นเวลาเรยี น

โรงเรยี นจะยึดได้เปน็ เวลา 1 สัปดาห์ เมอ่ื ครบกำหนดใหผ้ ู้ปกครองนักเรยี นมาติดต่อรบั คืน
ข้อ 12 ความสะอาด

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 36

นักเรยี นต้องช่วยกนั รกั ษาความสะอาดของบรเิ วณโรงเรียน ภายในอาคารเรยี นโดยไมท่ ิ้ง
เศษกระดาษหรอื วสั ดุทกุ ชนดิ ทุกชิ้นท่กี ่อให้เกิดความสกปรกหรือกีดขวาง

ข้อ 13 การรกั ษาสมบัติของโรงเรยี น
นักเรยี นตอ้ งช่วยกันรกั ษาสมบตั ิของโรงเรียน ไม่วา่ จะเป็นโตะ๊ เก้าอี้ หรือวัสดุใด ๆ ท่เี ปน็

สมบตั ิของโรงเรยี น รวมทั้งต้องช่วยกนั ประหยัดไฟฟ้า น้ำดื่ม น้ำใช้ ดแู ลต้นไม้ ไม้ดอก ไม้ประดบั
ทีอ่ ยใู่ นบรเิ วณโรงเรยี น

ข้อ 14 การรับประทานอาหาร
14.1 นกั เรยี นรบั ประทานอาหารได้เฉพาะในบริเวณโรงอาหาร และบรเิ วณทีท่ าง

โรงเรยี นกำหนดใหเ้ ทา่ นัน้
14.2 หา้ มนกั เรียนนำอาหารทกุ ชนดิ เขา้ ไปรับประทานในห้องเรยี น ไมว่ า่ จะเป็นเวลา

เรยี นหรอื นอกเวลาเรียน กรณีนักเรยี นนำอาหารมารับประทานเอง ใหร้ บั ประทานได้ตามที่โรงเรียนกำหนดให้
เทา่ นั้น

14.3 หา้ มนกั เรยี นซอื้ หาอาหารและเครอื่ งด่ืมท่ีพ่อค้าเร่ขายในโรงเรียน
14.4 การรบั ประทานอาหารและเคร่ืองด่ืม ให้นกั เรียนรบั ประทานอาหารและเครื่องดื่ม
ใหเ้ ปน็ ระเบียบเรียบร้อย และรักษาความสะอาดต่อพน้ื ที่ ไม่ท้งิ เศษอาหารลงบนพ้นื โตะ๊
ข้อ 15 การเขา้ แถวในตอนเช้า
เมอื่ นักเรยี นไดย้ นิ เสยี งสญั ญาณ ใหน้ ักเรยี นรีบไปเข้าแถวหนา้ เสาธงตามสถานท่ีทางโรงเรยี น
กำหนดให้ การเข้าแถวให้หวั หนา้ ห้องเปน็ ผู้ควบคุมช่วยเหลอื ครูประจำชัน้ นักเรียนตอ้ งเขา้ แถวอย่างเปน็ ระเบียบ
งดการพูดและเลน่ กัน การเคารพธงชาติใหร้ อ้ งเพลงชาติอย่างเต็มเสียง และให้ตง้ั ใจฟงั ข่าวและอบรมในตอนเช้า
และการเดินแถวเขา้ ห้องเรียนตอ้ งเดนิ อยา่ งมรี ะเบียบ ไมเ่ ล่นขณะเดินแถว
ขอ้ 16 การออกนอกบริเวณโรงเรยี น
นักเรยี นทีม่ คี วามจำ เป็นต้องออกนอกบริเวณโรงเรียน ใหป้ ฏบิ ัตติ ามขนั้ ตอนดังนี้
16.1 ขออนุญาตครูประจำ วิชาในชวั่ โมงเรยี นและชวั่ โมงตอ่ เนื่อง
16.2 ขออนุญาตครปู ระจำชนั้
16.3 ขออนุญาตครเู วรประจำวัน
16.4 รบั หนงั สือหรอื บตั รขออนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นท่ีกลมุ่ งานกจิ การ
นักเรียนจงึ ออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นได้
16.5 เมอ่ื กลบั มาใหน้ ำบัตรหรือหนังสอื อนุญาตคนื ท่ีกล่มุ งานกิจการนกั เรียน
จะตอ้ งแสดงบตั รออกนอกบริเวณโรงเรยี นต่อเจา้ หน้าที่ทเี่ ฝ้าประตู หรือครูเวรสวสั ดกิ ารเสียกอ่ น เมื่อได้รับอนุญาต
จึงออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นได้ ถ้านกั เรยี นไม่มาคืนบตั ร หรือทำบัตรหาย นอกจากจะได้รับโทษตาม
ระเบยี บแล้ว ยงั ต้องชดใชค้ ่าบตั รอีกด้วย
ข้อ 17 หอ้ งสมุด
นกั เรยี นทุกคนต้องมีบตั รสมาชิกห้องสมดุ เพ่อื สะดวกในการยืม-ส่งหนงั สอื นกั เรียนท่ี

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 37

อยใู่ นหอ้ งสมุดต้องสำรวมท้งั กาย วาจา และใจ ทุกคน ในหอ้ งสมุดต้องการสมาธิในการอ่านหนงั สือ ฉะน้ัน
นักเรยี นจะต้องไม่คุยกัน หรอื กระทำการดว้ ยวิธใี ด ๆ กต็ ามใหเ้ กดิ เสียงรบกวนสมาธขิ องผู้อนื่ และให้ปฏิบตั ติ ามกฎ
หอ้ งสมดุ อย่างเคร่งครดั

ขอ้ 18 ห้องน้ำหอ้ งสว้ ม
นักเรยี นชายห้ามเข้าไปในบริเวณห้องนำ้ หอ้ งส้วมนักเรยี นหญงิ เด็ดขาด หา้ มขีดเขยี นฝา

ผนังให้รักษาความสะอาดห้องนำ้ ห้องสว้ มใหม้ ากที่สดุ เม่ือทำกจิ เสรจ็ แล้วให้ราดนำ้ ให้สะอาดทกุ คร้ัง
ข้อ 19 การซื้อสนิ ค้าที่รา้ นคา้ สหกรณ์โรงเรียน
นักเรยี นทกุ คนควรเปน็ สมาชกิ สหกรณ์โรงเรยี น การซอ้ื สินค้าทุกชนดิ ที่สหกรณจ์ ะซ้ือได้

เฉพาะในเวลาที่กำหนดเท่านั้น ห้ามซอื้ ในขณะทม่ี ีการเรยี นการสอนอย่นู อกจากจะมคี ำส่งั เปน็ อย่างอนื่ เปน็ กรณี
ขอ้ 20 หลังเลิกเรียนหรือวันหยดุ
เม่ือเลกิ เรยี นแลว้ ใหน้ ักเรียนรบี กลับบา้ น นักเรยี นท่ีทำกิจกรรมต่าง ๆ อยูใ่ นโรงเรยี น

เกนิ เวลา 17.00 น. หรอื ในวนั หยดุ จะตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากกลุม่ งานกจิ การนักเรยี นเสยี กอ่ น
ขอ้ 21 ในตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรยี น
ให้เวรทำความสะอาดของแต่ละวันทำความสะอาด ตกแตง่ ปรับปรงุ ห้องเรยี น เช่น

กวาดพนื้ ห้อง ฝาผนัง เพดาน เกบ็ เศษกระดาษรอบบรเิ วณ จดั โต๊ะ เก้าอี้ จดั ภาพ และข่าวสาร ปรบั ปรุงบรเิ วณ
รอบ ๆ ห้องเรียน ปลูกไม้ดอกไมป้ ระดบั นำขยะไปทงิ้ เมื่อได้ยนิ เสียงกร่ิงก็ใหร้ ีบไปเขา้ แถวทนั ที นอกจากจะมี
คำส่ังอืน่ เปน็ คราว ๆ ไป

ข้อ 22 ในตอนเขา้ ห้องเรยี นชั่วโมงแรก
เมอื่ นักเรียนเดนิ แถวเขา้ ห้องเรียนเรียบร้อยแล้ว ให้หวั หนา้ ห้องเขยี นชอ่ื นักเรียนทม่ี ีอยู่

ในหอ้ งเรียนทุกคนลงใน “แบบบันทึกการมาเรยี น” แล้วนำไปให้ครูประจำชัน้ หรือประจำ วิชาลงชื่อรบั รองแลว้
นำส่งท่หี อ้ งกจิ การนักเรียนทันที นักเรียนทเี่ ข้าห้องหลังจากหวั หน้าสง่ ใบเชค็ นักเรยี นแล้วให้ไปแจ้งการมาสายท่ี
ห้องกจิ การนักเรียน ถ้านกั เรยี นคนใดไมแ่ จง้ ถือว่าขาดเรียนในวนั น้ัน และถา้ นกั เรียนขาดเรยี น 3 ครงั้ โรงเรียน
จะแจง้ ผ้ปู กครองทราบทนั ที ในกรณีทน่ี ักเรยี นมาสายแต่ไม่แจง้ ถอื ว่าเปน็ ความผิดจะไดร้ ับโทษ

ขอ้ 23 ในขณะท่คี รูอยใู่ นห้องเรียน
นกั เรียนจะต้องปฏิบัตติ ามคำสัง่ หรอื ข้อตกลงเก่ยี วกบั การเรียนการสอนแต่ละวชิ าอย่าง

เครง่ ครัด การลุกจากโต๊ะเรียน หรือการออกจากห้องเรยี นทกุ ครง้ั ต้องไดร้ ับอนุญาตจากครูประจำวชิ าเสยี กอ่ น ไม่
ตอ้ งสง่ เสยี งดังหรือทำกจิ กรรมท่ีทำให้เกดิ เสียงดงั รบกวนห้องใกล้เคียง

ข้อ 24 ขณะทคี่ รูไม่อยูใ่ นห้องเรยี น
ให้นักเรยี นปฏบิ ัติตนเหมือนท่ีครอู ยู่ในหอ้ งเรียน ไม่ส่งเสยี งดงั หรือวง่ิ เล่น หรอื ออกนอก

โตะ๊ เรียน ใหห้ วั หนา้ ชน้ั รบั ผิดชอบดูแลความเป็นระเบยี บในหอ้ งเรียน ช่วงทคี่ รปู ระจำวิชาไม่อยู่
ข้อ 25 ในหอ้ งเรียนวชิ าพิเศษ
วชิ าพิเศษตา่ ง ๆ ที่นักเรยี นไม่ไดเ้ รียนอย่ใู นห้องเรียน ให้นกั เรยี นปฏิบัตเิ หมอื นอยู่ใน

หอ้ งเรยี นประจำ หรือข้อตกลงเก่ยี วกบั ระเบยี บการเรียนวิชานน้ั ๆ ไว้อยา่ งเครง่ ครดั การเปล่ยี นห้องเรยี นแต่ละ
วิชาใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ิอยา่ งเร่งรบี ท่ีสุด

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 38

, หมวดทำความเคารพ
ขอ้ 26 ในห้องเรียนหรือห้องทำงานครู

26.1 ขณะทคี่ รเู ดนิ เข้าหอ้ งเรียน ให้หัวหน้าช้นั หรือรองหวั หน้าช้นั บอกทำความเคารพ
ดว้ ยคำว่า “นกั เรยี น-เคารพ” ใหน้ กั เรยี นทกุ คนยนื ตรง พร้อมยกมือไหว้ แล้วนักเรียนชายกล่าว คำวา่
“สวัสดคี รบั ” นักเรียนหญิงกลา่ วคำวา่ “สวสั ดีคะ่ ” พร้อมกนั ในกรณที ี่เปน็ ภาษาต่างประเทศหรือวชิ าพเิ ศษอื่นๆ
ใหเ้ ปน็ ไปตามทค่ี รูประจำวชิ ากำหนด

26.2 เมือ่ ครูกำลงั จะออกจากห้องสอนใหห้ ัวหนา้ ชน้ั หรอื รองหัวหน้าช้ัน บอกทำความ
เคารพดว้ ยคำวา่ “นักเรยี น-เคารพ” ใหน้ ักเรียนทุกคนยนื ตรง พร้อมยกมือไหว้ แลว้ นักเรียนชายกล่าวคำวา่
“ขอบคณุ ครบั ” และนักเรียนหญิงกล่าวคำว่า “ขอบคุณค่ะ” พรอ้ มกนั ในกรณที เ่ี ป็นภาษาต่างประเทศ หรือวชิ า
พเิ ศษอืน่ ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามทคี่ รูประจำวชิ านนั้ ๆ กำหนด

26.3 ขณะทคี่ รเู ข้าและออกหอ้ งสอนในกิจกรรมพเิ ศษ ลกู เสือ-เนตรนารี ยุวกาชาด
ผ้บู ำเพญ็ ประโยชน์ ใหห้ วั หนา้ บอกทำความเคารพว่า “นักเรียน – เคารพ” ใหท้ ้ังหมด คือ ลกู เสอื – เนตรนารี
ยืนตรง และกลา่ วคำวา่ สวัสดีครับ/ค่ะ พร้อมกัน เม่ือครูจะออกห้องสอนก็ใหห้ ัวหน้าหรือรองหัวหนา้ ช้นั บอกทำ
ความเคารพดว้ ยคำวา่ “นกั เรียนเคารพ” ใหท้ ้ังหมดยืนตรง และกล่าว พรอ้ มกนั วา่ “ขอบคณุ ค่ะ/ครบั ”

26.4 การเข้าไปหาครูที่โตะ๊ ทำงาน นักเรียนชายเม่ือเขา้ ไปใกลโ้ ตะ๊ ครปู ระมาณ 1-2 กา้ ว ให้หยุด
ยืนตรงแลว้ โค้งคำนบั ถา้ มเี ร่ืองปรกึ ษาให้พูดในลักษณะสำรวม หา้ มยืนชิดโต๊ะ หรือสมั ผัสครู หรอื เอามือกอดอก
หรือไขวห้ ลงั เม่ือจะกลับให้โค้งคำนับอีกคร้งั หน่ึง นกั เรยี นหญิงเมื่อเดนิ มาโต๊ะครู ประมาณ 2-3 กา้ ว ให้ยกมือไหว้
และยืนในลักษณะสำรวม เมอ่ื จะกลับควรกล่าวคำว่า “ขอบคุณค่ะ” ถ้าไม่ส่งงานไมต่ อ้ งกลา่ วขอบคณุ

ขอ้ 27 นอกห้องเรยี นภายในบริเวณโรงเรยี น
27.1 บนระเบยี งหรือบนั ได ถา้ นกั เรยี นนง่ั อย่ตู ามระเบยี งเมื่อครเู ดนิ ผ่าน ใหน้ ักเรียนทง้ั ชายและ

หญงิ ทำความเคารพ โดยการยนื ตรง ในกรณีที่นักเรียนเดนิ สวนกับครทู ่บี ันได ถา้ นกั เรียน เดนิ ตามปกติใหย้ ืนตรง
ถ้าเดินแถวใหเ้ ดนิ ตามปกตกิ ้มศีรษะเล็กน้อย

27.2 ครูนง่ั อยู่ที่ระเบียง เมอื่ นกั เรยี นเดินผ่านใหก้ ้มเลก็ น้อยจนผ่านครู จึงเดนิ ตามปกติ
27.3 ตามถนนหรือบริเวณโรงเรียน เมื่อเดนิ สวนกบั ครูหรือครเู ดินผ่าน ให้นกั เรยี นชายโค้งคำนับ
นกั เรียนหญิงยกมอื ไหว้ แตถ่ ้าถือของหนักใหย้ นื ตรง
27.4 โอกาสท่ีไมต่ ้องทำความเคารพ

27.4.1 ขณะท่ีอยใู่ นแถวหรือขณะเดนิ แถว
27.4.2 ขณะถือของหนัก
27.4.3 ขณะทำงานเรง่ ด่วน
27.4.4 ขณะอยใู่ นโรงอาหาร รบั ประทานอาหาร ในหอ้ งประชุมท่ีมีการประชมุ
ข้อ 28 ทำความเคารพครเู วรประตูโรงเรียน
ก่อนเข้าประตูโรงเรียนให้หยุดยืนหันไปทำความเคารพพระพุทธรูป แล้วหันมาทางครูเวร นักเรียนชายให้
โค้งคำนับ นักเรียนหญิงให้ยกมือไหว้ ถ้ามีของทั้งสองมือให้ย่อตัวเล็กน้อย ในกรณีที่ข่ีจักนยานยนต์ให้จอด

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 39

รถแล้วลงจากรถเสียก่อน นักเรียนที่มารถยนต์ หรือเดินผ่านไป ถ้าครูเวรเรียกให้หยุดรถทันที เมื่อจอดรถ
เรียบรอ้ ยแล้ว ให้นกั เรยี นชายยืนโค้งคำนับ นกั เรียนหญงิ ใหย้ กมอื ไหว้

ข้อ 29 ขณะท่ีอยู่ในเคร่ืองแบบอ่นื ๆ
นักเรยี นที่อยู่ในเครื่องแบบลูกเสือ-เนตรนารี ให้นกั เรยี นทำเคารพตามระเบยี บของเคร่ืองแบบนน้ั ๆอยา่ ง
เครง่ ครดั
ข้อ 30 อยู่นอกบรเิ วณโรงเรียน
เมือ่ นกั เรยี นเดินผา่ นหรือพบครนู อกบรเิ วณโรงเรยี น ไมว่ ่านักเรยี นจะอยใู่ นเครื่องแบบ หรือนอก
เครื่องแบบนกั เรียนใหย้ กมือไหว้ และกล่าวคำว่า“สวัสดีคะ่ /ครบั ”ทงั้ นักเรียนชายและนักเรยี นหญงิ (นักเรยี น
ชายอาจโคง้ คำนับได้) และทักทายอยา่ งสภุ าพตามควรแก่เหตกุ ารณแ์ ละโอกาส

หมวดเครอ่ื งแตง่ กาย

ขอ้ 31 เครอ่ื งแบบนกั เรยี นชาย ม.ตน้ และ ม.ปลาย
31.1 เสอ้ื เป็นแบบเช้ิตคอต้งั ขาวเกล้ยี ง ไม่บางจนเกินไป ผ่าอกตลอด คอเสอื้ กวา้ ง 3 ซ.ม. ใช้

กระดุมขาว เส้นผา่ ศูนย์กลางไมเ่ กิน 1 ซ.ม. แขนสัน้ เพยี งข้อศอก มีกระเป๋าติด ราวนมเบื้องซา้ ย 1 กระเปา๋ ขนาด
กว้างตัง้ แต่ 8-12 ซ.ม. และ ลกึ ตั้งแต่ 10-15 ซ.ม. พอเหมาะกบั ขนาดเสอื้ และ ให้ปกั อกั ษรเครื่องหมายโรงเรียน
น.จ.ศ. (นาจานศึกษา) และปักชือ่ – นามสกลุ ขนาดสูง 1 ซ.ม. ใต้เครอื่ งหมาย น.จ.ศ. ตามแบบท่ีโรงเรยี นประทบั
ให้ทอ่ี กเบอ้ื งขวาเหนอื ราวนม และปกั เลขไทย ตรงอกด้านซ้ายตามระดับชั้น

31.2 ตราสญั ลักษณโ์ รงเรยี น ตดิ อกเส้ือด้านขวา โดยให้จุดกึง่ กลางเขม็ อยเู่ หนืออกั ษร น.จ.ศ.
สงู 1.5 ซ.ม. อยู่ระหวา่ งอักษร

31.3 กางเกง เป็นกางเกงสกี ากี (นักเรยี นชาย ม.ตน้ ) และสดี ำ (นกั เรยี นชายม.ปลาย) แบบ
กางเกงไทย มจี บี ด้านหนา้ ขาสัน้ เหนอื เพยี งเขา่ นบั จากลกู สะบา้ ประมาณ 3-4 ซ.ม. เม่ือยืนตรงสว่ นกว้างในกางเกง
ห่างจากขาต้ังแต่ 8-12 ซ.ม. ตามส่วนขนาดของขาปลายขาพับเขา้ ข้างในกวา้ ง 3-5 ซ.ม. ผา่ ตรงสว่ นหนา้ มีกระเปา๋
ตามแนวตะเข็บขา้ งละกระเป๋า (ไม่มีกระเป๋าหลงั ) เวลาสวมทับชายเส้ือให้เรียบร้อย

หมายเหตุ กางเกงใหม้ ีขนาดพอเหมาะกับขนาดเอวของนักเรยี น
31.4 เขม็ ขดั หนงั เข็มขัดสนี ้ำตาล ขนาดตงั้ แต่ 3-4 ซ.ม. ตามขนาดของตัวนักเรยี น หวั เขม็ ขัด
เป็นโลหะสีเหลอื งรปู สีเ่ หลยี่ มผนื ผา้ ชนิดหัวกลดั มีปลอกหนังสเี ชน่ เดียวกบั เขม็ ขัด กวา้ ง 1.5 ซ.ม. สำหรับสอด
ปลายเข็มขดั เข็มขดั ทว่ี ่าน้ีใช้คาดทับกางเกง และใช้เป็นเข็มขัดในเคร่ืองแบบลกู เสือไดด้ ้วย ปลายเข็มขดั ห้ามตดั
ตกแตง่
31.5 รองเทา้ ใช้รองเทา้ ห้มุ ส้นผา้ ใบสีนำ้ ตาลไม่มลี วดลาย ใชป้ ระกอบกับถุงเท้าสีนำ้ ตาลแบบ
ธรรมดา ยาวไม่เกนิ ครึง่ แข้ง ห้ามใช้ถงุ เท้าทใ่ี ช้กับเคร่ืองแบบลกู เสือมาใช้กับเคร่ืองแบบนักเรยี น
31.6 ถงุ เท้า สีน้ำตาลแบบธรรมดายาวครง่ึ แข้ง ห้ามใชช้ นิดเป็นขนสัตว์หรือเปน็ ลูกฟูกหนา
เกนิ ไป ไมพ่ บั ปลาย

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 40

ขอ้ 32 เครอ่ื งแบบนกั เรยี นหญงิ ม.ตน้
32.1 เสอื้ ใชผ้ ้าขาวเกลีย้ งไม่บางจนเกินไป เปน็ เสื้อแบบคอพบั ในตวั ลกึ พอสวมศีรษะไดส้ ะดวก

ปกด้านหลงั แบบทหารเรือ วดั จากต้นคอลงไปไมเ่ กิน 12 ซ.ม. ใช้ผา้ สองช้นั แบบเข้าถำ้ แขนยาวเพยี งเหนือศอก
ปลายแขนจีบเล็กน้อย ประกอบดว้ ยผ้าสองช้ันกวา้ ง 3 ซ.ม. ความยาวของตวั เสื้อพอเหมาะกบั ลำตัว ไมร่ ดั เอว ริม
ของเอวด้านหนา้ ข้างขวาตดิ กระเป๋ามีขนาดพองาม ปากกระเปา๋ พับรมิ มีขนาดประมาณ 2 ซ.ม. ผูกโบวส์ ีกรมท่า
ปัก น.จ.ศ., ช่อื -สกลุ และปักเลขไทย ตรงอกด้านซา้ ยตามระดบั ช้นั

32.2 กระโปรง ใชผ้ ้าสกี รมท่า เนือ้ เกลี้ยง ตดั แบบธรรมดา ดา้ นหน้าและดา้ นหลังพับเป็นกลบี
ด้านละ 6 กลบี โดยพับกลีบออกดา้ นนอก ด้านละ 3 กลบี แต่ละขา้ งลึก 6-10 ซ.ม. เวน้ ระยะความกวา้ งตรงกลาง
พองาม กระโปรงยาวเพียงใต้เขา่ วดั จากกลางสะบา้ หวั เข่า ประมาณ 10 ซ.ม.

32.3 รองเทา้ แบบหนงั สดี ำหุ้มส้นปลาย มหี วั ลังไม่มีลวดลาย สน้ สงู ไมเ่ กนิ 3 ซ.ม. มสี ายรดั
รองเท้าชนดิ เช่อื มติดกบั รองเท้า สน้ เท้าตึกหนาห้ามใช้

32.4 ถงุ เทา้ สีขาวแบบธรรมดา ไม่มีพนื้ สีดำ ยาวไม่เกินครงึ่ แขง้ ผลิดด้วยด้านหรือสกั หลาดสี
ขาว ไมม่ ลี วดลาย ใหพ้ ับ 2 ทบ ระดบั ข้อเทา้

ขอ้ 33 เครอื่ งแบบนกั เรยี นหญงิ ม.ปลาย
33.1 เสอ้ื ผ้าขาวเกลีย้ งไม่บางเกินควร ผา่ อกเส้ือตลอด ที่อดเส้ือทำเป็นสาบหลบเขา้ ด้านใน

กว้าง 3 ซ.ม. มีกระดุมกลมแบบสีขาว 3 เมด็ แขนเสื้อยาวเหนือข้อศอกเล็กน้อย ต้นแขนและปลายแขนจบี
เลก็ นอ้ ย ประกอบด้วยผา้ 2 ชน้ั กวา้ ง 3 ซ.ม. สอดชายเสือ้ ไว้ใน กระโปรงให้มองเห็นเข็มขัด (นักเรียนหญงิ
ตอ้ งสวมเสือ้ ซับใน สีอ่อนไม่ฉูดฉาด) ปกั อักษรเคร่ืองหมายโรงเรียน น.จ.ศ. (นาจานศึกษา) และปกั ชื่อ – นามสกุล
ขนาดสูง 1 ซ.ม. ใต้เคร่ืองหมาย น.จ.ศ. ตามแบบทีโ่ รงเรยี นประทับให้ทอี่ กเบอ้ื งขวาเหนือราวนม และปักเลขไทย
ตรงปกเส้อื ด้านซ้ายตามระดบั ชนั้

33.2 กระโปรง ใช้ผา้ สีดำ เนอื้ เกลี้ยง ดา้ นหนา้ และด้านหลังพบั เปน็ กลีบ ดา้ นละ 6 กลบี โดยพบั
กลีบออกด้านนอก ดา้ นละ 3 กลีบ แตล่ ะขา้ งลึก 6-12 ซ.ม. ตัวกระโปรงหา้ มเห็นเอวทรงตำ่ และใหล้ ึกเลยคลมุ เขา่
ลงไปเลก็ น้อย (อยา่ ให้ลึกถึงกลางแข้ง)

33.3 รองเทา้ แบบหนังสีดำหุ้มส้นปลาย มีหวั ลังไม่มลี วดลาย สน้ สงู ไม่เกนิ 3 ซ.ม. มสี ายรดั
รองเท้าชนดิ เช่ือมติดกบั รองเท้า ส้นเทา้ ตึกหนาห้ามใช้

33.4 ถงุ เทา้ สขี าวแบบธรรมดา ไม่มีพนื้ สีดำ ยาวไมเ่ กนิ ครง่ึ แขง้ ผลดิ ด้วยด้านหรือสกั หลาดสี
ขาว ไม่มลี วดลาย ใหพ้ ับ 2 ทบ ระดับข้อเท้า

ข้อ 34 เครอ่ื งแบบลกู เสือ-เนตรนารี ชดุ ฝกึ งานอน่ื ๆ
34.1 เคร่ืองแบบลูกเสือ-เนตรนารี ใช้เคร่อื งแบบตามท่ีระเบียบของสังกดั นั้นๆ
34.2 ชดุ ฝกึ กีฬาใหใ้ ชเ้ ส้ือ กางเกงกีฬาตามแบบทโ่ี รงเรยี นกำหนด
34.3 ชุดชุมนมุ ให้ใชเ้ ครื่องแบบนักเรียน หรือเครื่องแต่งตัวแต่ละชมุ นุมกำหนด

ขอ้ 35 การปกั ช่ือและอักษรย่อของโรงเรยี น
นกั เรียนหญิงและชาย ปักชือ่ และนามสกลุ ของตนเอง สงู 1 ซ.ม. ด้วยดา้ ยหรือไหมสนี ำ้ เงินที่

หนา้ อกเสื้อด้านขวา แนวเดียวกับระดบั ปลายกระเปา๋ นักเรียนชาย (นักเรียนหญงิ ปกั แนวเดียวกบั นักเรียนชาย)

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 41

และปกั ตราสัญลักษณ์โรงเรียนไวด้ า้ นบน และปักอักษรย่อของโรงเรยี น (น.จ.ศ.) ไว้เหนือชือ่ และนามสกุล ดว้ ย
ขนาดตามท่ีโรงเรยี นกำหนด (ห้ามออกแบบเอง) สำหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ใหป้ กั ตัวเลขไทยตาม
ระดับช้นั ของตนเองดว้ ยไหมสีนำ้ เงนิ ตรงอกด้านซา้ ย ประมาณ 1 ซ.ม. สำหรบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาตอน
ปลาย ใหป้ กั ตวั เลขไทยตามระดบั ชัน้ ของตนเองดว้ ยไหมสีน้ำเงนิ ตรงปกเสอื้ ด้านซา้ ย ประมาณ 1 ซ.ม.

ขอ้ 36 ทรงผม
36.1 ทรงผมนกั เรยี นชาย
36.1.1 ม.ต้น ตัดผมทรงนกั เรยี น โดยตัดผมแบบรองหวี เบอร์ 2 ขา้ งหนา้ ยาวไมเ่ กิน

4 ซ.ม. ไมใ่ ชน้ ำ้ มันใสผ่ ม หรอื เครอ่ื งสำอางทุกชนิด
36.1.2 ม.ปลาย ตดั ทรงผมนักเรยี น โดยตัดผมรองทรงตำ่ ไม่ใชน้ ำ้ มันใส่ผม หรือ

เคร่ืองสำอางทุกชนิด
36.2 ทรงผมนักเรยี นหญิง
นกั เรยี นหญิงทัง้ ระดับ ม.ตน้ และ ม.ปลาย ไมท้ รงผมแบบเดียวกับระเบยี บเกา่ เพิ่มเติม

คือ นกั เรียนหญิง ม.ต้น ทีป่ ระสงคจ์ ะไว้ทรงผมยาว สามารถไว้ได้เชน่ เดียวกับนกั เรียนหญงิ ม.ปลาย โดยไมม่ ี
เงอื่ นไขใด ๆ

36.2.1 กรณีผมสนั้ ความยาววัดจากตง่ิ หไู มเ่ กิน 5 ซ.ม.
36.2.2 กรณผี มยาว หลงั รวบผมแล้ว วดั ความยาวจากต่ิงหไู ม่เกนิ 20 ซ.ม.
36.2.3 โบวผ์ ูกผมใช้สดี ำหรือสีกรมท่า ความกวา้ ง 2.50 ซ.ม. ความยาวสามารถกลดั
หรอื ผูกได้พองาม
ข้อ 37 ข้อหา้ มพิเศษสำหรับการแต่งกายนักเรยี น
37.1 ห้ามไวห้ นวดเคราหรือดัดผม หรอื ยอ้ มปนสอี ่นื นอกจากสดี ำ
37.2 ห้ามไวเ้ ล็บ หรือเครื่องสำอาง
37.3 ห้ามใช้เครอ่ื งประดับใดๆ ยกเว้นนาฬกิ าข้อมือและให้ใช้สภุ าพ
37.4 แตง่ กายที่ดูสภุ าพ และสะอาดสะอ้านอย่เู สมอ
ข้อ 38 นักเรยี นท่ีมาตดิ ต่อกับทางโรงเรียนทุกกรณี ไม่วา่ จะเปน็ วันเปดิ หรอื วนั หยดุ ใหแ้ ต่งกายเครื่องแบบ
นักเรยี น
ขอ้ 39 ชดุ พละ
นกั เรยี นตอ้ งมชี ดุ พละศกึ ษาตามแบบทโี่ รงเรยี นกำหนด และสวมใสไ่ ดเ้ ฉพาะวนั ที่ช่ัวโมงเรียนพล
ศึกษาเท่าน้ัน
ขอ้ 40 เครือ่ งประดับและของมีค่า
ห้ามประดับหรือตกแตง่ ร่างกายด้วยเคร่ืองประดบั ใด ๆ ยกเวน้ นาฬกิ า อนุญาตใหส้ วมมา
โรงเรียนเพือ่ ดูเวลาได้ แต่ต้องรักษาเอง โรงเรยี นไม่รับผิดชอบเมอื่ นาฬกิ าสญู หาย สว่ นเครื่องประดบั เช่น
สรอ้ ยทอง แหวน ต่างหูทอง ซึง่ ไม่เหมาะสมกับสภาพการเปน็ นกั เรยี น และทำให้เกิดความไม่ปลอดภยั ได้
โรงเรยี นจะยดึ และแจ้งให้ผปู้ กครองมารบั ภายหลงั

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 42

ขอ้ 41 การเสริมความงาม
ควรดูแลความสะอาดสะอ้านของเรือนผมและหน้าตาให้ถกู ระเบยี บ งดเวน้ การแต่งหน้าทาปากที่

ผิดวิสัยของนกั เรยี น
ข้อ 42 การแขวนพระเครื่องและวตั ถมุ งคล
ต้องเป็นในลักษณะสุภาพไมส่ ่อไปในทางทีใช้เครอ่ื งประดับและมลี ักษณะไม่สุภาพ ถา้ ผูกด้าย

มงคลข้อมือให้ผกู ไม่เกนิ 1 เสน้
ข้อ 43 เครอ่ื งใชป้ ระจำตวั นักเรยี น
นักเรยี นจำเปน็ ต้องมเี ครื่องใช้สำหรับประจำตวั นักเรยี น ดังต่อไปน้ี
43.1 เคร่อื งแบบนกั เรียน อย่างนอ้ ย 2 ชุด ในวนั แรกของการเปิดภาคเรยี น นกั เรยี นตอ้ งแต่ง

เครอ่ื งแบบโดยถกู ต้องเรยี บร้อย พร้อมจะเขา้ เรียนไดท้ นั ที
43.2 อปุ กรณ์การเรยี น นักเรียนตอ้ งเตรียมอุปกรณก์ ารเรยี น เชน่ หนังสือเรียนต่าง ๆ ไม้

บรรทัด ปากกา วงเวียน ยางลบ ดินสอ เพื่อเปน็ การเร่มิ ต้นที่ดี

หมวดภายนอกโรงเรียนหมวดภายนอกโรงเรยี น

นักเรียนจะต้องประพฤติตนใหเ้ หมาะสมกับสภาพการเปน็ นกั เรียน ความประพฤตติ ่อไปนี้ ถือว่าไม่
เหมาะสมกับสภาพการเปน็ นักเรยี น

ข้อ 44 การแต่งกายแบบนักเรียนส่วนใดส่วนหนึ่ง และหรือเคร่ืองแต่งเครื่องแบบปล่อยชายเสื้อในท่ี
สาธารณะ

ขอ้ 45 การใช้เคร่ืองสำอาง หรือสิ่งแปลกปลอม เพ่ือการเสริมสวย หรอื การแตง่ กายไม่สภุ าพ
ขอ้ 46 แต่งเครอ่ื งแบบนักเรียนเข้าไปในโรงมหรสพหรือสถานเริงรมย์ เวน้ แต่นักเรียนพักอยู่ในสถานที่นั้น
หรือโรงเรียนมีคำส่ังเปน็ อย่างอืน่ เป็นครัง้ คราวไป
ข้อ 47 เข้าไปตามสถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยการบรกิ ารหรอื สถานทีอ่ ื่นใดทีม่ ีลักษณะคล้ายกัน เช่น
บาร์ ไนต์คลับ ซุปเปอร์คลับ สถานอาบอบนวด บ่อนการพนัน สถานโบว์ลิ่ง สนามม้า บ่อนไก่ โรงจำนำเว้นแต่
นกั เรยี นจะอาศยั ในทนี่ ั้น
ข้อ 48 เข้าไปในสถานคา้ ประเวณี เวน้ แต่เป็นผูอ้ าศยั ในทน่ี ัน้ หรือเข้าไปเยย่ี มญาติทีพ่ ักอาศัยอยทู่ นี่ ้นั
ข้อ 49 เข้าไปในงานเพ่ือร่วมสังสรรค์ และงานนั้นมีการเต้นรำหรอื การแสดงที่ไม่สมควรกับสภาพการเป็น
นักเรียน เว้นแต่ไปกับบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง หรืองานนั้นบิดา มารดาหรือผู้ปกครอง หรือสถานศึกษาของ
นักเรียนเป็นผจู้ ดั
ข้อ 50 ประพฤติตนในทำนองชูส้ าว
ข้อ 51 มวี ตั ถรุ ะเบิด หรืออาวธุ หรอื อปุ กรณ์ที่เจตนาให้เปน็ อาวธุ หรอื ซอ่ นเร้นเพอ่ื ประทุษรา้ ย
ข้อ 52 หลบหนโี รงเรยี น หรือหลกี เล่ียงการเรียน
ขอ้ 53 แสดงกริ ยิ าวาจา หรอื กระทำอยา่ งหนึ่งอย่างใดท่ีไม่สภุ าพ
ขอ้ 54 เลน่ การพนันทต่ี ้องห้ามตามกฎหมาย
ข้อ 55 เที่ยวเตรเ่ รร่ ่อนอยู่ในท่สี าธารณะ ทำลายสมบัติสาธารณะ หรือทำความสกปรกแกส่ าธารณะ

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 43

ขอ้ 56 เท่ยี วกลางคืนในวนั อาทิตย์ถึงวันพฤหัสบดี ยกเวน้ วนั ศุกร์และวันเสาร์ และถ้างานบดิ า มารดา
หรือผู้ปกครองของนักเรียนเป็นคนจัดหรือสถานศกึ ษาเปน็ ผู้จัด อาจมกี ารยกเวน้ ตามกรณีเปน็ คราว ๆ ไป

ข้อ 57 ม่ัวสมุ และก่อความเดือดรอ้ นรำคาญแกผ่ อู้ ืน่ ดว้ ยวิธใี ด ๆ ก็ตาม
ขอ้ 57 สบู บหุ ร่ี สบู กญั ชา เสพสรุ าของมึนเมา หรือยาเสพตดิ ใหโ้ ทษทุกชนิด หรือมีไว้ในครอบครอง

ขอ้ 58 เมอื่ พบครูหรือเดนิ ผา่ นครูไม่แสดงความเคารพ หรือแสดงอาการแข็งกระดา้ ง
ข้อ 59 ดู ครอบครอง หรือซอ่ นเรน้ รปู ภาพหรอื หนังสือลามกอนาจาร
ขอ้ 60 ประพฤติตนให้เสื่อมเสยี เกยี รตชิ ื่อเสยี งของโรงเรียน
ขอ้ 61 กระทำผิดกฎหมายบ้านเมอื ง

หมวดสง่ เสริมและพฒั นาตนเอง

ข้อ 62 เพือ่ มงุ่ หวงั ให้โอกาสพัฒนาตนเองและสง่ เสรมิ พฤติกรรมตนเอง โดยการแต่งตั้งคะแนนความ
เหมาะสมดังนี้

62.1 คะแนนเพ่ิมรวมกนั ตั้งแต่ 80-100 คะแนน พิจารณาให้ได้รบั เกยี รติบตั ร
“คนดี ศรีนาจาน” จากโรงเรียน

62.2 คะแนนท่ีถูกลบจากคะแนนท่ถี ูกตัด เปน็ คะแนนครั้งละ 5-10 คะแนน
62.3 นักเรยี นทข่ี อแก้ไขพฤติกรรม ตอ้ งขอรับบตั รแก้ไขพฤติกรรมจากครทู ะเบียนฝ่ายบริหาร
กิจการนกั เรยี น ตามลำดับข้ันของตนเอง
62.4 เมื่อปฏิบัติตามที่ได้รบั มอบหมายแกไ้ ขพฤติกรรมแล้ว ต้องสง่ บัตรคนื ทฝ่ี ่ายกิจการบริหาร
กจิ การนักเรียน และต้องมีลายเซ็นครูผู้ตดิ ตามพฤติกรรมรับรองดว้ ย
62.5 นักเรียนสร้างความดี เช่น สรา้ งช่ือเสียงใหแ้ กโ่ รงเรียนและสังคม เปน็ ตัวอยา่ งท่ีดเี ป็นทยี่ ก
ยอ่ งสรรเสริญในดา้ นใดดา้ นหนึ่ง โดยคณะกรรมการนักเรียน และคณะกรรมการนักเรยี นเห็นชอบ เพิม่ คะแนน
พฤติกรรมตามความเหมาะสมทกุ คร้ังท่ีได้ปฏบิ ตั ติ ัง้ แต่ 5-10 คะแนน
ขอ้ 63 การเปล่ยี นแปลงข้อบังคบั ในหมวดใดหมวดหนึง่ หรือท้ังหมด ผ้อู ำนวยการโรงเรียนประกาศแก้ไข

เปลีย่ นแปลงเปน็ คร้งั คราวไป

ขอ้ ปฏบิ ตั ิ และ ขอ้ หา้ ม

1. นักเรยี นพงึ ประพฤตแิ ละปฏบิ ตั ดิ งั น้ี

1.1 ต้องแตง่ กายให้สะอาด และถูกต้องตามระเบียบของโรงเรยี นโดยเฉพาะนกั เรียนชายและนักเรียนหญิง
ชน้ั ม.ปลาย ต้องไมเ่ อาชายเสือ้ ออกนอกกางเกง ไม่ว่าในหรือนอกโรงเรียน

1.2 ต้องมาโรงเรียนให้ทนั เวลาเขา้ แถวเคารพธงชาติ
1.3 ต้องมีเครื่องแตง่ กาย เคร่ืองเรียน และอุปกรณ์การเรยี นครบตามทโี่ รงเรยี นกำหนด
1.4 เมื่อนักเรียนมาถึงโรงเรียนแล้ว ต้องอยู่ในความควบคุมดูแลของโรงเรียน จะออกนอกบริเวณไม่ได้
นอกจากได้รับอนญุ าตเป็นลายลักษณ์อักษรจากผอู้ ำนวยการโรงเรยี น รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นฝ่ายกิจการนักเรียน
และชุมชนสัมพันธ์ หรือผ้ทู ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
1.5 ต้องอยใู่ นโอวาทของครูทุกคน ต้องเช่ือฟังคำสัง่ สอน เม่อื พบครูต้องทำความเคารพทกุ คร้ัง

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 44

1.6 ประพฤติตนให้เหมาะสมกับสภาพที่เป็นนักเรียน เช่น ไม่สูบบุหรี่ ไม่เสพสิ่งเสพติดทกุ ชนิด ไม่เล่นการ
พนนั ไม่ประพฤติตนฐานชู้สาว ไม่พดู จาหยาบคาย ไม่กระทำตนเปน็ นกั เลงกอ่ การทะเลาะววิ าท ฯลฯ

1.7 นักเรียนต้องมีวัฒนธรรม รกั ษาทรัพย์สินสมบัติของโรงเรียน ถ้าทำสิ่งของเสยี หายตอ้ งรับผดิ ชอบชดใช้
คา่ เสยี หายให้ทางโรงเรยี น

1.8 ต้องมีความสุภาพอ่อนโยนต่อบุคคลทั่วไป รักษาความสามัคคีของหมู่คณะไม่ว่าการใด ๆ อันจะนำ
ความเส่อื มเสยี ชอื่ เสียงมาส่โู รงเรียน จะต้องชว่ ยเหลือกจิ กรรมของโรงเรียนใหเ้ จรญิ กา้ วหน้า

1.9 ความสามัคคี เป็นส่ิงท่ีโรงเรียนปรารถนาอย่างยิ่ง นักเรียนผู้ใดก่อการทะเลาะวิวาทจะได้รับการ
ลงโทษสถานหนัก

1.10 ไม่นำเอาอาวธุ สง่ิ เสพติด บหุ รี่ อปุ กรณก์ ารสูบ เสพ เครอ่ื งดองของเมาสารเสพติด อุปกรณ์การเลน่
การพนนั หนังสือลามก รูปภาพลามก หรือแบบพมิ พ์ทไี่ มเ่ ก่ียวกบั การเรียนเข้ามาในโรงเรียน

1.11 ต้องช่วยกนั ดูแลทรัพย์สมบัตขิ องโรงเรียน รวมถงึ ต้นไม้ ดอกไม้ นำ้ ประปา ไฟฟ้า ควรใช้โดย
ประหยัด เห็นเปิดทิ้งอยู่โดยไม่ใชป้ ระโยชน์ตอ้ งชว่ ยปดิ

1.12 ผู้ใดมนี ิสัยลักขโมย ถ้าจบั ไดโ้ ดยมหี ลกั ฐาน อาจตอ้ งคืนตัวใหผ้ ูป้ กครอง
1.13 ผปู้ กครองนกั เรียนต้องอาศยั อยู่บา้ นเดียวกนั เพ่ืออบรมดแู ล และสงั่ สอน ถา้ ผูป้ กครองหรือนักเรียน

ยา้ ยทอ่ี ยู่ต้องแจง้ ให้ทางโรงเรียนทราบโดยดว่ น โดยคดั หรือถา่ ยสำเนาทะเบยี นบา้ นมาแสดงดว้ ย

1.14 ถ้านกั เรียนต้องเปลี่ยนผู้ปกครองใหม่ ต้องแจ้งใหท้ างโรงเรยี นทราบ และพาผู้ปกครองมามอบตัวใหม่
1.15 เมื่อนักเรียนหยุดเรียน ต้องให้ผู้ปกครองลงลายมือช่ือรับรองการลานั้นด้วยตนเอง ถ้าลาติดต่อกัน
หลายวนั ต้องแจง้ ให้โรงเรยี นทราบเหตผุ ล
1.16 นักเรยี นทุกคนต้องมีบัตรประจำตวั และนำตดิ ตัวไปโรงเรียนทกุ วนั
1.17 ให้รบั ประทานอาหารและเครอื่ งดืม่ เฉพาะโรงอาหาร หรือสถานทีโ่ รงเรียนกำหนดเท่าน้ัน
1.18 ก่อนเข้าห้องพักครู ห้องผู้อำนวยการโรงเรียน ให้ขออนุญาตครูที่อยู่ในห้องพักน้ันก่อน ถ้าไม่มีครูอยู่
ห้ามเข้า
1.19 ไม่นัดเพ่ือนมาพบทีโ่ รงเรยี น
1.20 เม่ือโรงเรียนเลิกเรียนแล้วต้องเดินทางกลับบ้าน เว้นแต่ขออนุญาตเพื่อทำกิจธุระหรือซ้อมกีฬา แต่
ตอ้ งอยใู่ นความควบคุมของครู
1.21 การมาโรงเรียนในวันหยุด นกั เรยี นตอ้ งแตง่ เคร่อื งแบบนกั เรียน ชุดฝึกกีฬา ชุดฝึกวชิ าต่างๆ ถา้ มาทำ
กจิ กรรมของวชิ าใดๆ ตอ้ งได้รับอนญุ าตจากผูป้ กครองทุกครง้ั นอกจากครนู ดั มาทำงานหรอื เรยี นพเิ ศษ
1.22 เม่ือพบเหตุการณ์ พบสิ่งอันอาจเป็นภัยต่อตนเองหรือส่วนรวม ควรรีบแจ้งให้ครูที่ใกล้ท่ีสุด
ดำเนินการตามความเหมาะสมทนั ที
2. ขอ้ ตกลงรว่ มกนั วา่ ดว้ ยหลกั ความประพฤตขิ องนักเรยี น
นักเรียน คือ ผู้ท่ีกำลังอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน ย่อมถือการเรยี นเป็นสำคัญ ตอ้ งประพฤติตนให้มีสภาพของ
นักเรียน ผลของการเรียนจะเป็นหลักประกนั ในชวี ิตอนาคต ดังน้ันจึงสมควรท่ีจะยึดหลักต่อไปน้ีเป็นเคร่ืองควบคุม
ตนเอง
2.1 นกั เรยี นพงึ รักษามารยาทของสงั คม และไม่พึงกระทำในสง่ิ ตอ่ ไปน้ี

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 45

ก. เทย่ี วเรร่ อ่ นในสถานทีส่ าธารณะสถาน
ข. ทำความรำคาญให้แกผ่ สู้ ัญจรไปมา
ค. ประพฤตติ นไม่สมควรแก่วัย หรอื สภาพของนักเรียน
2.2 ความประพฤติทีไ่ มส่ มควรแก่สภาพนกั เรียนไดแ้ ก่
ก. สูบบุหรี่ หรือเสพสุราเมรัย หรือเสพของมนึ เมาอย่างอืน่
ข. เล่นการพนนั หรอื การเลน่ ท่ีมลี ักษณะคลา้ ยการพนนั
ค. เข้าไปในท่จี ำหน่ายสุรา สถานการณ์พนนั โรงรบั จำนำและโรงหญิงโสเภณี

ง. ประพฤติตนในทำนองชสู้ าว
จ. แสดงกิรยิ า วาจา หรือการกระทำอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดอันไมส่ ุภาพ
ฉ. เท่ยี วเตรใ่ นเวลากลางคืน
2.3 นักเรียนเปน็ ผดู้ ูกีฬาเป็น เล่นกฬี าเป็น รู้แพ้ รูช้ นะ รอู้ ภัย
2.4 นกั เรยี นย่อมเคารพยำเกรง บิดา มารดา ผู้ใหญ่ ครู และย่อมปรึกษาผใู้ หญ่เมื่อมีปัญหาเกดิ ข้ึน
2.5 นกั เรียนตอ้ งรักษาช่ือเสยี งของโรงเรียน และเคร่ืองแบบของโรงเรียนอยูเ่ สมอ
2.6 นักเรยี นยอ่ มเปน็ ผูม้ ีระเบียบวนิ ยั อนั ดงี าม และเคารพกฎหมาย
2.7 นักเรียนต้องเป็นผู้ประพฤติ ปฏิบัติ ตงั้ ใจศึกษาเล่าเรียน
2.8 นกั เรียนทกุ คนจะต้องเสริมสร้างคณุ ธรรมประจำจติ ให้ตดิ เป็นนสิ ัย

นกั เรียนผูใ้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามระเบียบขอ้ บงั คบั ของโรงเรียนตอ้ งไดร้ ับโทษนนั้ ๆ คอื

1. ความผิดขั้นร้ายแรง ได้แก่ ความผิดทั้งหลายที่นำความเส่ือมเสียมาสู่โรงเรียน และส่วนรวมอย่าง
รา้ ยแรง หรือเปน็ ความผิดตามประมวลกฎหมายลักษณะอาญา หรือความผดิ ท่ีกระทบกระเทือนตอ่ ระเบียบวินัยอัน
ดีงามของส่วนรวม เช่น

1.1 ประพฤติตนฐานช้สู าวข้นั ร้ายแรง
1.2 ลักทรัพย์
1.3 ทำรา้ ยร่างกายให้บาดเจบ็ หรือชกั ชวนบุคคลภายนอกมากอ่ ให้เกดิ ปัญหาในโรงเรยี น
1.4 เสพสรุ าหรอื ของมึนเมา เชน่ เฮโรอีน หรือสารเสพติดอ่ืน ๆ
1.5 สมาคมกบั คนช่ัว เทยี่ วสำนกั โสเภณี สถานเรงิ รมย์
1.6 เจตนาทำลายทรัพยส์ นิ ของส่วนรวมใหเ้ สยี หาย
1.7 แสดงกริ ยิ าลบหลู่ดหู มนิ่ ครู อยา่ งร้ายแรงผดิ วิสยั ของนกั เรียน
1.8 แสดงตนเป็นอันธพาล
1.9 ปฏิบัติตนผิดข้อบังคับระเบียบของโรงเรียน อันก่อให้เกิดความเสียหายต่อโรงเรียนและ
สว่ นรวม
1.10 เป็นปฏิปักษต์ ่ออำนาจการบริหารของโรงเรียน หรอื บังคบั ขูเ่ ข็ญ ยยุ ง สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้
นกั เรียนกระทำการกระดา้ งกระเดือ่ งตอ่ ทางโรงเรยี น
1.11 ทำลายชอ่ื เสียง เกียรติคุณของโรงเรียน

1.12 ลบหลดู่ หู มนิ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 46

1.13 พกอาวธุ มาโรงเรียน
1.14 ถูกตำรวจหรือเจ้าพนักงานส่งเสริมความประพฤตินักเรียนนักศึกษาจับ และมีส่วนร่วมใน
ความผดิ น้ันหรอื มคี ดเี ป็นภยั ตอ่ สงั คม
2. ความผดิ ขน้ั กลาง คือ ความผิดท่ที ำใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ สว่ นรวมแต่ไม่ร้ายแรง หรือความผิดท่ี
อาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดความผิดขนั้ รา้ ยแรงต่อไปนี้ได้ เชน่
2.1 การหนอี อกจากบ้าน หรือหนีเทย่ี วกลางคนื บอ่ ย ๆ ในเวลาไม่สมควร
2.2 ประพฤตติ นสอ่ ไปในทางช้สู าว แตไ่ มถ่ ึงขนั้ ร้ายแรง
2.3 ประพฤติตนไม่สภุ าพเรยี บร้อย
2.4 แต่งกายผิดระเบยี บโรงเรียนโดยเจตนา
2.5 หนีโรงเรียน ขาดโรงเรยี นนานโดยไม่ทราบสาเหตุ
2.6 สบู บหุ รี่ ด่ืมสรุ า สูดดมสารระเหย
2.7 แสดงกิริยา ไมค่ ารวะต่อครู แตไ่ มร่ า้ ยแรง
2.8 กอ่ การทะเลาะวิวาท หรือสนบั สนนุ ให้เกดิ การทะเลาะวิวาท
2.9 เข้าไปในสถานบริการตามกฎหมายว่าดว้ ยสถานบรกิ าร โดยไมม่ หี น้าทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
2.10 ก่อความเดือดร้อนให้เพ่ือนนักเรยี น หรือผู้อน่ื
2.11 เล่นการพนนั ทุกชนดิ
3. ความผดิ ขน้ั เบา ไดแ้ ก่ ความผิดทแี่ สดงถึงการเป็นผมู้ ีอปุ นิสัยไมด่ ี
3.1 หลีกเลยี่ งการเรียน ไม่ตงั้ ใจศึกษาเลา่ เรยี น
3.2 มาโรงเรยี นสายโดยไม่มสี าเหตอุ นั ควร
3.3 ไมร่ กั ษาความสะอาดของตน และหอ้ งเรยี น อาคารสถานท่ี
3.4 แตง่ กายผดิ ระเบียบ
3.5 ขดั คำสง่ั ของครู หรอื หลีกเล่ียงการทำงานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
3.6 แสดงกิรยิ าวาจาไมส่ ภุ าพ
3.7 ไม่ใหค้ วามร่วมมอื ต่อสว่ นรวม
3.8 ทำให้ทรัพย์สินของโรงเรยี นเสยี หายโดยไม่เจตนา
3.9 หลบหลีกการเขา้ แถว ไมเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรม
3.10 ออกนอกเขตโรงเรียนในเวลาเรยี นโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

การพิจารณาสภาพความผิดเปน็ เอกสทิ ธข์ิ องโรงเรยี น ท่ีจะเรมิ่ ต้นพจิ ารณาขนั้ และความผิดตามความ
เหมาะสม โดยไม่จำเปน็ ต้องเริ่มจากการว่ากล่าวตักเตือนเสมอไป ทง้ั นข้ี ้ึนอยู่กับความหนักเบาของความผดิ ท่ี
นกั เรยี นไดป้ ฏิบัติในขณะนัน้

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 47

ตามระเบยี บขอ้ บงั คบั สำหรับนกั เรยี นโรงเรยี นนาจานศกึ ษา
มีระดบั การลงโทษนกั เรยี น ดงั น้ี

1. วา่ กลา่ วตักเตอื น
2. ทำทัณฑบ์ น
3. ตดั คะแนนความประพฤติ และบันทึกข้อมูล
4. ทำกิจกรรมเพอื่ ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม

** ระเบยี บนใ้ี หใ้ ชก้ บั นกั เรยี นทกุ ระดบั

การทำกจิ กรรม
กรณนี ักเรยี นกระทำความผดิ ระเบยี บวนิ ยั ข้อบังคบั โรงเรียนได้ว่ากลา่ วตักเตอื นแลว้ หรอื โทษของการ

กระทำผิดมากกวา่ ขัน้ วา่ กล่าวตักเตอื น โรงเรยี นจะมอบให้ทำกจิ กรรมเพ่อื แก้ไขพฤติกรรม
ประเภทกจิ กรรม

กจิ กรรมประเภท ก. ได้แก่ การทำกจิ กรรมเพื่อพัฒนาตนเอง เช่น การออกกำลงั กาย การทำกิจกรรมเพื่อ
แกไ้ ขพฤตกิ รรมทีท่ ำความผดิ นัน้ ใชใ้ นกรณีท่ีความผดิ น้อย คะแนน 5-10 คะแนน เชน่ มาสาย ทำความสกปรก สง่
เสียงดัง กอ่ ความรำคาญแก่ผู้อน่ื ฯลฯ

กิจกรรมประเภท ข. ไดแ้ ก่ การทำกิจกรรมเพ่ือพัฒนาตนเอง หรือ บำเพญ็ ประโยชน์ต่อโรงเรียน เชน่ ออก
กำลงั กาย พฒั นาโรงเรียน บำเพ็ญประโยชน์ดา้ นอนื่ ๆ ปฏบิ ตั งิ านตามที่มอบหมาย ใช้กรณีความผิดที่ถูกตดั คะแนน
ถงึ 30 คะแนน

กิจกรรมประเภท ค. ได้แก่ การทำกิจกรรมเพ่ือประโยชนต์ อ่ โรงเรียน หรือสงั คม เชน่ การพฒั นาโรงเรยี น
พัฒนาสาธารณสถาน ปฏบิ ัติงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายตามระยะเวลาหรอื จำนวนคร้งั ท่ีกำหนด ใชใ้ นกรณีความผดิ
ทีถ่ ูกตดั คะแนนถงึ 50 คะแนน

กจิ กรรมประเภท ง. ไดแ้ ก่ การทำกจิ กรรมเพื่อประโยชน์ตอ่ โรงเรยี นหรอื สงั คม เช่น การเข้าค่ายอบรม
การเขา้ ค่ายพัฒนาจิต การมอบหมายงานให้ปฏบิ ตั ิ การมอบหมายกิจกรรมใหท้ ำเพ่ือพัฒนาโรงเรยี น พฒั นาชุมชน
ตามระยะเวลา และจำนวนคร้ังตามที่กำหนด โดยให้ผู้ปกครองได้ทราบและร่วมมือในการทำกิจกรรม ตรวจสอบ
ติดตามการปรบั ปรุงแก้ไข พฤติกรรมอย่างใกลช้ ิด ใชใ้ นกรณคี วามผดิ ท่ีถูกตัดคะแนนถงึ 70 คะแนน
มาตรการในการลงโทษระบบคะแนน

นักเรยี นทุกคน ใช้เกณฑ์ต้ังคะแนนความประพฤติ 100 คะแนนในระยะเวลา 3 ปี ในแต่ละชว่ งชนั้ เมอ่ื
นกั เรียนกระทำความผดิ จะถูกตดั คะแนนตามความหนัก เบา ของพฤติกรรม และการดำเนินการตามขั้นตอนการ
ลงโทษ ดังน้ี

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 48

คะแนนท่ีถกู ตดั การลงโทษ
10 คะแนน ทำกิจกรรมประเภท ก.
30 คะแนน ทำกิจกรรมประเภท ข. แจ้งผ้ปู กครองรับทราบ
40 คะแนน ทำกิจกรรมประเภท ค. เชญิ ผู้ปกครองรับทราบ
60 คะแนน ทำกิจกรรมประเภท ง. เชิญผ้ปู กครองทำสญั ญา
80 คะแนน ทำกิจกรรมประเภท ง. เชญิ ผ้ปู กครองทำทัณฑ์บน

หลักเกณฑก์ ารลงโทษและตดั คะแนนความประพฤติ

พฤตกิ รรมหรอื การกระทำทฝี่ า่ ฝนื คะแนนทีต่ ดั บทลงโทษ

1. การมาเรยี น

1.1 มาสายไมท่ นั เข้าเรียน 08.30 น. 5 1.1 ว่ากลา่ วตักเตือน/แจ้งผู้ปกครอง

1.2 มาโรงเรยี นแล้วไมเ่ ขา้ ช้ันเรยี น 10 1.2 ทำกิจกรรมพฒั นาตนเอง/ แจ้งผปู้ กครอง

ไม่เข้าร่วมกิจกรรม ถือว่าหนเี รยี น

2. การเข้าแถวเคารพธงชาติ

2.1 หลกี เลยี่ งไม่เข้าแถวเคารพ ธงชาติ 5 2.1 ทำกจิ กรรมพฒั นาตนเอง/ แจง้ ผปู้ กครอง/

(หลบอยใู่ นอาคารเรียน หรอื ในห้อง) แจง้ ครทู ปี่ รึกษา

3. การปฏิบตั ติ น

3.1 ไมร่ ักษาเวลาเช่น การเข้าชัน้ เรียนช้า 5 3.1 ว่ากลา่ วตักเตือน/แจ้งผู้ปกครอง

3.2 ขดี เขียน ฉีก หรอื ทำลาย ทรัพย์สมบัติ 10 3.2 ทำกจิ กรรมต่อโรงเรยี น/เชิญผู้ปกครอง/

ของโรงเรยี นหรอื สาธารณะ แจ้งครทู ีป่ รึกษาร่วมพจิ ารณาให้ นักเรียนชดใช้

3.3 พูดจาไม่สุภาพต่อครู หรอื บุคคลทัว่ ไป 10 ค่าเสยี หาย

3.4 ลักทรัพย์สิน ขโมยทรัพย์สมบตั ิ 10-20 3.3 ทำกิจกรรมพัฒนาตนเอง/แจง้ ผปู้ กครอง

ของผู้อนื่ หรอื ส่ิงของสว่ นรวม 3.4 ทำกจิ กรรมต่อสังคม/แจ้งครู

3.5 ท้ิงขยะไมถ่ ูกที่ หรือสรา้ งความสกปรก 5 ท่ีปรกึ ษา/แจ้งผู้ปกครองใหน้ กั เรียนทำทัณฑ์บน

ในหอ้ งเรียน หรอื บรเิ วณ โรงเรยี น 3.5 วา่ กล่าวตกั เตอื น/แจ้งครูท่ีปรึกษา

4. การออกนอกบรเิ วณโรงเรียน

4.1 ออกนอกบรเิ วณโรงเรียนโดย 10 4.1 ทำกิจกรรมตอ่ ตนเอง/แจ้งครู ทป่ี รึกษา/แจง้

มิไดร้ ับอนญุ าต หัวหน้าระดับ

4.2 หนเี รยี นชว่ั โมงใดชั่วโมงหนึง่ หรอื 10 4.2 ทำกจิ กรรมต่อตนเอง/แจง้ ครู

ตลอดทั้งวัน ที่ปรึกษา/แจ้งหัวหน้าระดบั

NACHANSUKSA SCHOOL หนา้ 49


Click to View FlipBook Version