ก
ค ำน ำ
ข
สำรบัญ
ค ำน ำ .................................................................................................................................. ก
สำรบัญ ............................................................................................................................... ข
ที่มำและควำมส ำคัญ ............................................................................................................. 1
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย ....................................................................................................... 2
ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจัย ........................................................................................................ 2
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ...................................................................................................... 2
ประชำกร ............................................................................................................................. 3
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย ......................................................................................................... 3
ขั้นตอนในกำรสร้ำงเครื่องมือ ............................................................................................. 4
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล .......................................................................................................... 4
กำรวิเครำะห์ข้อมูล .............................................................................................................. 4
สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ............................................................................................. 5
1
ทมำและควำมส ำคัญ
ี่
การจัดการศึกษาส าหรับผที่มีความต้องการพิเศษเป็นการให้โอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ และให้
ู้
ความเสมอภาคทางการศึกษาเช่นเดียวกับคนทั่วไป ดังทบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
ี่
ิ
ิ
ึ
ึ
้
่
2550 ไดกลาวถึงความเสมอภาคกันทางการศกษา และพระราชบัญญัต การศกษาแห่งชาต พ.ศ. 2542 แก้ไข
ี่
ี่
ิ
ิ
เพิ่มเตม (ฉบับท 2) พ.ศ. 2545 และแก้ไขเพิ่มเตม (ฉบับท 3) แก้ไขเพิ่มเตม 2553 มาตรา 10 ก าหนดไว้ว่า
ิ
ั
การจัดการศึกษาต้องจดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาส เสมอกันในการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12
ี่
ิ
ึ
ุ
ั่
ั
้
ปีทรัฐตองจดให้อย่างทวถึงและมีคณภาพ โดยไม่เก็บคาใชจาย (สานักงานคณะกรรมการการศกษาแห่งชาต.
้
่
่
ิ
้
ึ
2553) นอกจากนี้พระราชบัญญัต การจดการศกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ไดก าหนดสทธิและหน้าท ี่
ิ
ั
่
ี
้
่
ั้
่
้
ึ
ิ
ึ
ทางการศกษาว่า คนพิการ มีสทธิไดรับการศกษาโดยไม่เสยคาใชจายตงแตแรกเกิด หรือพบความพิการจน
ึ
ตลอดชีวิต พร้อมทั้งได้รับเทคโนโลยีสิ่งอ านวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศกษา
ื
ึ
ึ
ึ
เลอกบริการทางการศกษา สถานศกษา ระบบและรูปแบบการศกษาโดยคานึงถึงความสามารถ ความสนใจ
ความถนัดและความตองการจาเป็นของบุคคลนั้น รวมไปถึงได้รับการศกษาที่มีมาตรฐาน และประกันคณภาพ
้
ุ
ึ
ู
ึ
ั
ั
ึ
้
การศกษา รวมทงการจดหลกสตร กระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศกษาทเหมาะสมสอดคลองกับ
ี่
ั้
็
ิ
่
่
้
ความตองการจาเปนของคนพิการแตละประเภทและบุคคล มาตรา 8 ในพระราชบัญญัตดงกลาวก าหนดไว้ว่า
ั
ึ
ั
้
้
ุ
สถานศกษาในทกสงกัดจดทาแผนการจดการศกษาเฉพาะบุคคล โดยให้สอดคลองกับความตองการจาเป็น
ั
ึ
ั
ั
ึ
้
พิเศษของคนพิการ และตองมีการปรับปรุง แผนการจดการศกษาเฉพาะบุคคลอย่างน้อยปีละครั้ง ให้
สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดสภาพแวดล้อม ระบบสนับสนุน การเรียนการสอน ตลอดจนบริการเทคโนโลยี
ื
ิ่
่
ื่
สงอ านวยความสะดวก สอ บริการและความชวยเหลออื่นใดทางการศกษาทคนพิการสามารถเข้าถึงและใช ้
ึ
ี่
ู้
ประโยชน์ได และก าหนดให้สถานศกษาหรือหน่วยทเกี่ยวข้องสนับสนุนผดแลคนพิการและประสานความ
ู
ี่
ึ
้
ร่วมมือจากชมชนหรือนักวิชาชพเพื่อให้คนพิการไดรับการศกษาทกระดบ หรือบริการทางการศกษาท ี่
ึ
้
ี
ึ
ุ
ุ
ั
สอดคล้อง กับความต้องการจ าเป็นของคนพิการ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 4)
่
ั
ิ
ั
ั
ึ
จากรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัตการจดการศกษาดงกลาวทาให้เห็นถึงความสาคญของ การให้
ึ
ี่
โอกาสทางการศกษาทเทาเทยมกันโดยไม่เลอกปฏิบัต ประกอบกับการศกษาในสมัยใหม่ในปัจจบัน คอใน
ิ
ื
ึ
ี
่
ื
ุ
ี่
ศตวรรษท 21 ทเน้นให้ผเรียนต้องมีทกษะเพื่อการดารงชวิตทามกลางความเปลยนแปลง ดงนั้นการสนับสนุน
ี่
่
ี
ั
ี่
ั
ู้
้
ั
้
้
ี่
ู้
็
ิ
ให้ผทมีความตองการพิเศษไดเรียนรวมกับเดกปกต จะสงผลตอการพัฒนาศกยภาพของผทมีความตองการ
่
ี่
่
ู้
ู้
ั
ั
ี
พิเศษและเพิ่มทกษะการดารงชวิตอยู่กับสงคมปกตซึ่งรวมไปถึงการมีปฏิสมพันธ์กับผอื่น ความสามารถในการ
ิ
ั
ี
ท างานในทมที่มีความหลากหลาย ที่ผู้เรียนที่มีความบกพร่องจะต้องเผชิญเมื่อถึงวัยท างาน
ั่
ั
ี่
เป็นทยอมรับกันโดยทวไปว่าการวิจยเป็นเครื่องมือสาคญในการพัฒนาและแก้ปัญหา การ
ั
ดาเนินงานทกสาขา และเป็นพื้นฐานสาคญของการพัฒนาประเทศ รวมทงเป็นเครื่องชน าสงคม ผไดรับ
ั
ู้
ั้
้
ั
ี้
ุ
ุ
ี่
ั
ึ
ี
็
ั
การศกษาจงเปนบุคลากรทมีคณภาพและเปนกาลงสาคญในการพัฒนาประเทศให้เจริญ ก้าวหน้าเทยบเทา
่
็
ึ
นานาอารยประเทศ เนื่องจากการวิจัยเป็นกระบวนการที่จะน ามาซึ่งข้อค้นพบใหม่ ๆ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์หากมี
ึ
การนาผลการวิจยทคนพบมาใชจะเป็นประโยชน์ตอวงการการศกษา อย่างมาก โดยในพระราชบัญญัต ิ
่
้
ั
ี่
้
2
้
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 24 (5) ระบุให้ใช การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
ู้
ู้
ั
และมาตรา 30 ระบุให้ผสอนทาวิจยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผเรียน (สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติ. 2542) การวิจัยจึงเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาการศึกษามากขึ้น
ั
ึ
ู้
ดงนั้นผวิจยจงมีความสนใจทจะสงเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการการจดการเรียนรวม โดยผล ทไดจาก
ั
ั
้
ี่
ั
ี่
การสังเคราะห์งานวิจัยจะเป็นประโยชน์ส าหรับโรงเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนผ ู้
ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลนักเรียนพิการเรียนรวม สามารถน าข้อมูลผลการสังเคราะห์ ไปเป็นแนวทางในการพัฒนา
ึ
ั
ระบบการจดการเรียนการสอน การพัฒนารูปแบบการจดการเรียนรวม ในสถานศกษา และเพื่อประโยชน์ท ี่
ั
ส่งผลต่อนักเรียนพิการเรียนรวมต่อไป
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
ั
ั
ั
เพื่อสงเคราะห์งานวิจยเกี่ยวกับการการจดการเรียนรวม การบริหาร และการพัฒนารูปแบบในการ
ด าเนินการจัดการเรียนรวม ปี พ.ศ. 2558 – 2560 ในด้านระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย และ การน าผลการวิจย
ั
ไปใช้ประโยชน์
ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจัย
้
ั
ประชากรทใชในการวิจัย ไดแก่ รายงานการวิจัยเกี่ยวกับการจดการเรียนรวม การบริหาร และการ
้
ี่
พัฒนารูปแบบในการด าเนินการจัดการเรียนรวม ปี พ.ศ. 2558 – 2560 จ านวน 13 เรื่อง
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการสังเคราะห์งานวิจัยครั้งนี้ คือ
ี่
ึ
ั
ผลจากการสงเคราะห์ สามารถเป็นข้อมูลและแนวทางของสานักงานเขตพื้นทการศกษา
ื
ู
ึ
่
ประถมศกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ในการน ามาเป็นข้อมูลประกอบในการชวยเหลอดแลโรงเรียน ใน
สังกัดด้านการจัดการเรียนรวม
3
ประชำกร
ั
้
ี่
ั
ั
้
ประชากรทใชในการวิจย ไดแก่ รายงานการวิจยเกี่ยวกับการจดการเรียนรวม และการพัฒนารูปแบบ
การจัดการเรียนรวมในสถานศึกษาและส านักงานเขตพื้นที่ ปี พ.ศ. 2558 – 2560 จ านวน 13 เรื่อง
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบตรวจสอบรายการเพื่อสรุปการวิจัย ที่ผู้วิจัยสร้าง
ขึ้นมี 2 ตอน ได้แก่
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของงานวิจัย
4
ตอนที่ 2 วิธีการวิจัย ได้แก่
่
่
ั
ิ
้
ั
2.1 ดานแบบแผนการวิจย ไดแก่ สดสวนแบบแผนการวิจย สดสวนกรอบแนวคดในการ
ั
ั
้
วิจัย
้
2.2 ด้านเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สัดส่วนเครื่องมือที่ใชในการวิจัย สัดส่วนวิธีการหา
คุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
2.3 ด้านประชากรเป้าหมายในการวิจัย ได้แก่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เทคนิค
การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
ขั้นตอนในกำรสร้ำงเครื่องมือ
ี่
้
ั
ั
ู้
ี่
เครื่องมือทใชในการวิจยครั้งนี้ เป็นแบบตรวจสอบรายการเพื่อสรุปการวิจย ทผวิจยสร้างขึ้น โดยมี
ั
ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือดังต่อไปนี้
ั
1. ศกษาเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานของการวิจยเพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดประเดน
็
ึ
ส าหรับสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรวม รูปแบบและการพัฒนา
2. เลือกประเด็นที่เหมาะสมกับการด าเนินการวิจัยของผู้วิจัย ซึ่งแบ่งเป็น 2 ตอน
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของงานวิจัย
ตอนที่ 2 วิธีการวิจัย ได้แก่
ั
้
ั
่
ั
้
2.1 ดานแบบแผนการวิจย ไดแก่ สดสวนแบบแผนการวิจย สดสวนกรอบแนวคดใน
ั
ิ
่
การวิจัย
้
ั
ั
่
ี่
้
้
ั
้
่
2.2 ดานเครื่องมือทใชในการวิจย ไดแก่ สดสวนเครื่องมือทใชในการวิจย สดสวน
ั
ี่
วิธีการหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
2.3 ด้านประชากรเป้าหมายในการวิจัย ได้แก่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจย
ั
เทคนิคการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
3. สร้างแบบตรวจสอบรายการเพื่อสรุปการวิจัย
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรวม ปี 2558 – 2561 จ านวน 13 เรื่อง
2. ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ชื่อผู้วิจัย ปีที่พิมพ์เผยแพร่ และศึกษาระเบยบวิธีวิจย
ั
ี
่
ประกอบดวย สดสวนแบบแผนการวิจย สดสวนกรอบแนวคดในการวิจยสดสวนเครื่องมือทใชในการวิจย
ิ
้
่
ั
ี่
ั
ั
้
ั
ั
่
ั
สัดส่วนวิธีการหาคณภาพเครื่องมือทใช้ในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ุ
ี่
ั
ในการวิจย เทคนิคการสมกลมตวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปและอภิปรายผลการวิจย จาก
ั
ุ่
ั
ุ่
วิทยานิพนธ์ แล้วบันทึก ข้อสรุปลงในแบบตรวจสอบรายการ เพื่อสรุปงานวิจัย
3. สรุปงานวิจัยที่ท าการเก็บรวบรวมข้อมูล 13 เล่ม
กำรวิเครำะห์ข้อมูล
1. การสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของงานวิจัย โดยจ าแนกตามปีที่พิมพ์เผยแพร่ ซึ่งใช้สถิต ิ
5
การแจกแจงความถี่และร้อยละ
ั
่
่
ั
ั
ั
ั
้
ิ
2. การสงเคราะห์ระเบียบวิธีวิจย ประกอบดวย สดสวนแบบแผนการวิจย สดสวนกรอบแนวคดในการ
ี่
้
วิจัย สัดส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย สัดส่วนวิธีการหาคุณภาพเครื่องมือทใชในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เทคนิคการสุ่มกลมตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์
ุ่
ข้อมูล และการสรุปและอภิปรายผลการวิจัย ซึ่งใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยการน าเนื้อหา
ั
ี่
ึ
ั
ทเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจยทบันทกไว้ใบแบบตรวจสอบรายการมาจดประเภท (Sort) เป็นหมวดหมู่ตามหัวข้อ
ี่
ิ
จากนั้นจึงสังเคราะห์เนื้อหาในแต่ละชุด โดยใช้สถิต การแจกแจงความถี่และร้อยละ
สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่และร้อยละ
ี่
้
่
1. ความถี่ (Frequency) คือ การแจงนับจ านวนของสิ่งทเราตองการศึกษาว่ามีจานวนเทาใด
ื
้
ี่
ี
ั้
2. ร้อยละ (Percentage) คอ การเปรียบเทยบจานวนทตองการหากับจานวนทงหมดท ี่
่
ก าหนดให้เป็น 100 นิยมเรียกว่า เปอร์เซ็นต์ ใชสญลกษณ % การใชสตรในการคานวณหาคาร้อยละมีดงนี้
ั
ั
์
ั
้
ู
้
(ไพศาล วรคา. 2555 :104)