สอ่ื การเรยี นการสอน E – Book
เร่อื ง เศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื การพฒั นา
โดย
นางสาวสพุ ชิ ญา แกว้ วจิ ติ ร
ตาแหน่ง ครู
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
แนะนาครู
ครูสพุ ชิ ญา แกว้ วจิ ติ ร
สงั กดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
โรงเรยี นศรยี าภยั
เรอ่ื ง หนา้
1
คำนำ สารบญั 2
3
มำตรฐำน/ตวั ชวี้ ดั 4
คำชแ้ี จงกำรใชส้ ื่อกำรสอน E-Book 5-11
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 7
ระบบเศรษฐกจิ 12 - 13
สอ่ื วีดโี อ เร่ืองระบบเศรษฐกจิ 14
ใบงำน เร่ือง ระบบเศรษฐกจิ 15-20
แบบทดสอบ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ 21
การกระจายทรพั ยากรในโลกท่ีสง่ ผลต่อความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ 22
แบบฝึ กหดั เรื่อง กำรกระจำยทรพั ยำกรในโลกท่ีสง่ ผลตอ่ ควำมสมั พนั ธท์ ำงเศรษฐกิจระหว่ำงประเทศ 23-50
แบบทดสอบ เร่ือง กำรกระจำยทรพั ยำกรในโลกทีส่ ง่ ผลตอ่ ควำมสมั พนั ธท์ ำงเศรษฐกิจระหว่ำงประเทศ 37
การพึ่งพาทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคเอเชีย 39
สอื่ วีดโี อ เรื่อง APEC :รว่ มแกป้ ัญหำ ชว่ ยเหลอื จำกภำวะเศรษฐกจิ ถดถอย (วิกฤตโิ ควิด-19) 51
สอ่ื วีดโี อ เร่ือง อำเซียน 52-61
กิจกรรมตอบคำถำม เรื่อง กำรพึ่งพำทำงเศรษฐกจิ ในภมู ภิ ำคเอเชยี 58
การแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคเอเชีย 62
ส่อื วีดโี อเรื่องกำรแขง่ ขนั สินคำ้ และบริกำรในประเทศ 63
ใบงำน เรื่อง กำรพึ่งพำ และกำรแขง่ ขนั ทำงเศรษฐกิจในภมู ิภำคเอเชยี 64
ใบงำน เรื่อง กำรแขง่ ขนั ทำงกำรคำ้ ในประเทศท่ีสง่ ผลตอ่ คณุ ภำพ รำคำสินคำ้ และปริมำณกำรผลติ
แบบทดสอบหลงั เรียน
คำนำ
• ส่อื กำรสอน E-Book เรื่อง เศรษฐศำสตรเ์ พ่ือกำรพฒั นำ รหสั วิชำ ส22103 รำยวิชำ สงั คมศึกษำ4 กลมุ่ สำระกำรเรียนรสู้ งั คมศึกษำ
ศำสนำและวัฒนธรรม สำหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 2 จัดทำข้ึนเพื่อประกอบกำรเรียนกำรสอน สำระที่ 3 เศรษฐศำสตร์ ซึ่งได้
กำหนดสำระกำรเรียนรู้ 4 เร่ือง ไดแ้ ก่
➢ ระบบเศรษฐกิจ
➢ กำรกระจำยทรพั ยำกรในโลกที่สง่ ผลตอ่ ควำมสมั พนั ธท์ ำงเศรษฐกจิ ระหว่ำงประเทศ
➢ กำรพ่ึงพำและกำรแขง่ ขนั ทำงเศรษฐกจิ ในภมู ิภำคเอเชีย
➢ กำรแขง่ ขนั ทำงกำรคำ้ ในประเทศและตำ่ งประเทศท่ีสง่ ผลตอ่ คณุ ภำพ รำคำสินคำ้ และปริมำณกำรผลติ
โดยจัดเนื้อหำสำระกำรเรียนรจู้ ำกง่ำย ไปหำยำก มีสื่อวีดีโอ รปู ภำพ และ ใบงำน เสริมทักษะกำรเรียนรขู้ องผเู้ รียน มี กำรวัดและ
ประเมินผลที่หลำกหลำย โดยผเู้ รียนและผสู้ นใจสำมำรถศึกษำเนื้อหำและประเมนิ ผลกำรเรียนรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง ตำมขน้ั ตอนท่ีกำหนดไว้
ผจู้ ัดทำหวังว่ำส่ือกำรสอน E-Book เรื่อง เศรษฐศำสตร์เพื่อกำรพัฒนำ รหัสวิชำ ส22103 รำยวิชำ สงั คมศึกษำ4 กล่มุ สำระกำร
เรียนรสู้ งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม สำหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษำปี ท่ี 2 คงจะเป็ นประโยชนแ์ ก่ผเู้ รียนและผสู้ นใจนำไปพัฒนำกำร
เรียนรตู้ อ่ ไป
เศรษฐศำสตรเ์ พอ่ื กำรพฒั นำ
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มำตรฐำน ส 3.2 เขำ้ ใจระบบและสถำบนั ทำงเศรษฐกิจตำ่ งๆ ควำมสมั พนั ธท์ ำงเศรษฐกจิ และควำมจำเป็ นของกำร
ร่วมมอื กนั ทำงเศรษฐกิจในสงั คมโลก
ตวั ชว้ี ดั
ม.2/1 อภปิ รำยระบบเศรษฐกจิ แบบตำ่ งๆ
ม.2/2 ยกตวั อยำ่ งท่ีสะทอ้ นใหเ้ ห็นกำรพ่ึงพำอำศยั กนั และกำรแขง่ ขนั กนั ทำงเศรษฐกจิ ในภมู ิภำคเอเชีย
ม.2/3 วิเครำะหก์ ำรกระจำยของทรพั ยำกรในโลกที่สง่ ผลตอ่ ควำมสมั พนั ธท์ ำงเศรษฐกิจระหว่ำงประเทศ
ม.2/4 วิเครำะหก์ ำรแขง่ ขนั ทำงกำรคำ้ ในประเทศและตำ่ งประเทศที่สง่ ผลตอ่ คณุ ภำพสนิ คำ้ ปริมำณกำรผลิต และ
รำคำสินคำ้
คาช้ีแจงการใช้ E-Book
1. ศึกษำคมู่ อื กำรใชส้ ื่อกำรสอน E-Book ใหเ้ ขำ้ ใจ
2. ศึกษำมำตรฐำน ตวั ชว้ี ดั และสำระกำรเรียนรใู้ หเ้ ขำ้ ใจ
3. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน จำนวน 10 ขอ้
4. ศึกษำเนอ้ื หำควำมรู้ ทำใบงำน ทำกิจกรรมเสริม แตล่ ะสำระกำรเรียนรหู้ ำกไมเ่ ขำ้ ใจให้
ทบทวนใหม่ หรือ ปรึกษำ ครผู สู้ อน
5. ทำแบบทดสอบหลงั เรียน จำนวน 10 ขอ้ จำกนน้ั นำคะแนนเปรียบเทียบคะแนนแบบทดสอบ
กอ่ นเรียน เพือ่ ทรำบควำมกำ้ วหนำ้ ของตนเอง
แบบทดสอบก่อนเรียนก่อนนะคะ เพ่อื วดั ระดับความรูพ้ ้นื ฐาน
กอ่ นเริม่ ศกึ ษาบทเรยี นไดเ้ ลยจา้
แบบทดสอบก่อนเรียน
ระบบเศรษฐกิจ
นักเรียนรู้หรือไม่ว่าประเทศของเรามรี ะบบเศรษฐกจิ แบบใด ?
ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง ความสัมพันธ์ ของหน่ วย
เศรษฐกิจต่างๆที่รวมตัวกันดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ภายใต้กฎเกณฑ์รูปแบบของการปกครอง สังคม ประเพณี
และวัฒนธรรมอย่างมแี บบแผน
ระบบเศรษฐกิจมีกี่ประเภท?
แต่ละประเภทมีลกั ษณะเป็นอยา่ งไรบา้ งน่ะ?
เล่นวดิ ีโอ
ลกั ษณะระบบเศรษฐกิจรูปแบบต่างๆ
ขอ้ ดี – ขอ้ เสีย
ของระบบเศรษฐกิจทุนนิยม
ขอ้ ดี – ขอ้ เสีย
ของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
ขอ้ ดี – ขอ้ เสีย
ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม
>>วัดระดับความรู้ เร่ือง ระบบเศรษฐกิจ
หลังจากการศกึ ษาบทเรยี นมาแล้วได้เลยจ้า
ใบกจิ กรรม เรื่อง ระบบเศรษฐกจิ
การกระจายของทรัพยากรในโลกที่ส่งผลต่อความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ทรัพยากรท่ีใชใ้ นการผลิต ซ่ึงแต่ละประเทศลว้ นมีทรัพยากรที่
ใช้ในการผลิตแตกต่างกนั จึงทาให้เกิดความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในรูปแบบการ
แลกเปลี่ยนพ่ึงพา ความร่วมมือ ขอ้ ตกลงต่างๆเพื่อรักษาสมดุลเศรษฐกิจของแต่ละประเทศให้มากที่สุด
ทรัพยากรในการผลิตไดแ้ ก่ ที่ดิน แรงงาน ทุน ผปู้ ระกอบการ
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรที่ไม่ใช่
มนุษย์
ผปู้ ระกอบการ แรงงาน ท่ีดินและ ทุน
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรกบั ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ
ทรัพยากรธรรมชาติ
นา้ มนั ปิ โตรเลยี ม เป็ นทรัพยากรทส่ี าคญั อย่างยงิ่ ต่อการผลติ สินค้าและบริการ แหล่งผลติ สาคญั ของ
โลกอยู่บริเวณตะวนั ออกกลาง ซึ่งประเทศเหล่านีร้ วมกล่มุ กนั ชื่อว่า “โอเปก”
ประเทศทไี่ ม่มนี า้ มันจงึ ต้องนาเข้าเพื่อใช้ภายในประเทศ
ท่ีดนิ ในการเพาะปลกู ประเทศทม่ี ีดนิ และนา้ อุดมสมบูรณ์ จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้ดี
แร่ แร่ที่สาคญั ท่สี ุด คือ ทองคา เพราะใช้ทาเครื่องประดบั อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และ
ถ่านหนิ ใช้เป็ นทุนสารองระหว่างประเทศ
ป่ าไม้
เป็ นเชื้อเพลงิ สาคญั ในอตุ สาหกรรมต่างๆ และสามารถใช้แทนปิ โตรเลยี มทม่ี ี
ราคาแพงได้
ใช้ในการก่อสร้างอาคารสถานท่ี ต่อเรือ ทาเฟอร์นิเจอร์ ทากระดาษ ปัจจุบันป่ าไม้
ทั่วโลกถูกทาลายมาก จงึ พยายามปลกู ป่ าเศรษฐกจิ ทดแทน
ทรัพยากรทุน
• ทุน ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถงึ ส่ิงก่อสร้าง เคร่ืองมือ เคร่ืองจกั รทีใ่ ช้ในการผลติ สร้างขนึ้
โดยมนุษย์ มมี ูลค่า สามารถนาไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ทางเศรษฐกจิ ได้
• ประเทศทีม่ ที รัพยากรทุนมาก มักมคี วามถนัดในการผลติ สินค้าอตุ สาหกรรม ซ่ึงจะได้เปรียบ
ทางเศรษฐกจิ มากกว่าประเทศท่ีขาดแคลนทรัพยากรทุน และต้องนาเข้าสินค้าอุตสาหกรรม
ทรัพยากรมนุษย์
➢ เป็ นแรงงานสาคญั ในการผลติ ➢ ประเทศทม่ี ีแรงงานมีฝี มือและมคี วามรู้ความเชี่ยวชาญ
ในการผลติ จะสามารถผลติ สินค้าที่มคี ุณภาพดี ตรง
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ แรงงานมีฝี มือ และ ตามความต้องการของตลาดได้ ทาให้เศรษฐกจิ มีการ
แรงงานไม่มีฝี มือ แรงงานก่อให้เกดิ ความสัมพันธ์ทาง พฒั นาอย่างรวดเร็ว
เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ เพราะบางประเทศต้อง
พงึ่ พาท้งั แรงงานมีฝี มือ และแรงงานไร้ฝี มือ
ผู้ประกอบการ
ผู้ประกอบการ คือผูท้ ี่เป็ นเจ้าของกิจการ หวงั ผลกาไรและมี
เงินทุนหลกั เป็นของตนเอง การกระจายตวั ของผปู้ ระกอบการจึง
นอ้ ยกวา่ จานวนแรงงาน ผปู้ ระกอบการแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
ผปู้ ระกอบการราบใหญ่ส่วนใหญอ่ ยใู่ นประเทศพฒั นาแลว้ และ
ผปู้ ระกอบการรายยอ่ ยจะมีเงินทุนไม่มากนกั ผูป้ ระกอบการทา
ให้เกิดความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เพราะ ตอ้ ง
นาเขา้ วตั ถุดิบมาจากประเทศอ่ืน หรือเขา้ ไปลงทุนประเทศอื่น
เม่ือผลิตสินคา้ แลว้ ตอ้ งการส่งออกไปยงั ประเทศอ่ืนดว้ ย
2
1. .................................................................. ...............................................................
.................................................................. ...............................................................
............................ .................................................................. ...............................................................
. .................................................................. ...............................................................
...............................................................
2.
............................ .................................................................. ...............................................................
. .................................................................. ...............................................................
.................................................................. ...............................................................
................................................................. ...............................................................
...............................................................
>>วดั ระดับความรู้ เรือ่ ง การกระจายทรพั ยากรในโลกทสี่ ง่ ผลต่อ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ
หลงั จากการศึกษาบทเรียนมาแล้วได้เลยจา้
แบบทดสอบ เร่อื ง การกระจายทรพั ยากรในโลกทส่ี ง่ ผล
ตอ่ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ
การพง่ึ พาทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคเอเชีย
การค้าระหว่างประเทศ
การเปิ ดเสรีทางเศรษฐกจิ ของไทย
องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกจิ
ทสี่ าคญั ในภูมิภาคเอเชีย
การค้าระหว่างประเทศ
เกิดข้ึนมาจากการท่ีประเทศท้งั หลายในโลกมีทรัพยากร มาก-นอ้ ย
แตกต่างกนั การผลิตสินคา้ ของแต่ละประเทศจึงมีตน้ ทุนการผลิตแตกต่างกนั
ประเทศใดสามารถผลิตสินคา้ ที่เป็นที่ตอ้ งการและจาหน่ายในราคาที่
แขง่ ขนั กบั ประเทศอ่ืนได้ กส็ ามารถสร้างรายไดเ้ ขา้ ประเทศมาก ซ่ึงการจะขาย
สินคา้ ไดม้ ากนอ้ ยเพียงใดสิ่งสาคญั ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั การผลิตท่ีมีอยขู่ องแต่ละ
ประเทศ
ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
• ช่วยเปิ ดโอกาสใหแ้ ตล่ ะประเทศสามารถบริโภคสินคา้ และบริการไดห้ ลากหลายข้ึน
• สร้างรายไดเ้ ขา้ ประเทศจานวนมหาศาล
• พฒั นาเศรษฐกิจใหม้ ีการขยายตวั อยา่ งรวดเร็ว
• ผผู้ ลิตมีการพฒั นาคุณภาพสินคา้ และบริการใหด้ ีข้ึนอยเู่ สมอ
• ตน้ ทุนในการผลิตสินคา้ และบริการจะลดลง
• ราคาของสินคา้ และบริการจะถูกลง
• ผบู้ ริโภคสามารถเลือกซ้ือสินคา้ และบริการไดห้ ลากหลาย มีราคาถูก และคุณภาพดี
นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
นโยบายการค้าเสรี
• เป็นนโยบายท่ีเปิ ดใหม้ ีการติดต่อคา้ ขายไดโ้ ดยเสรี
• ไม่มีอุปสรรคในเร่ืองของภาษี ในการคา้ ขายระหวา่ ง
ประเทศ
นโยบายคุ้มครอง
• เป็นนโยบายท่ีรัฐเขา้ มาแทรกแซงในอุตสาหกรรม
บางประเภท
• มีการใชม้ าตรการต่างๆ เพ่ือรักษาเสถียรภาพทาง
เศรษฐกิจ
• การดาเนินการของรัฐมีหลายลกั ษณะ เช่น การจดั เกบ็
ภาษนี าเขา้ -ส่งออก การหา้ มนาเขา้ การกาหนดโควตา
นาเขา้
ววิ ฒั นาการการเปิ ดเสรีทางเศรษฐกจิ ของไทย
• เริ่มข้ึนภายหลงั จากการทาสนธิสญั ญาเบาวร์ ิง กบั องั กฤษในสมยั รัชกาลที่ 4
• การทาสนธิสัญญาเบาวร์ ิง ส่งผลใหไ้ ทยตอ้ งยกเลิกการผกู ขาดทางการคา้ ของ
พระคลงั สินคา้
• มีการเปิ ดใหช้ าวต่างชาติเขา้ มาลงทุนอยา่ งเสรี ส่งผลใหไ้ ทยเขา้ เป็นส่วนหน่ึงของ
เศรษฐกิจโลกจนถึงปัจจุบนั
ปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อการเปิ ดเสรีภาพทางเศรษฐกจิ ของไทย
นโยบายส่ งเสริมการลงทุน
• รัฐบาลออก พ.ร.บ. ส่งเสริมการลงทุนเพื่อกิจกรรอุตสาหกรรม พ.ศ. 2503 เงินลงทุนจาก
ต่างประเทศจึงหลง่ั ไหลเขา้ มามากข้ึน
• การเริ่มใชแ้ ผนพฒั นาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 เมื่อ พ.ศ. 2504 ท่ีมุ่งส่งเสริมการลงทุน
ภายในประเทศและลดการพ่ึงพาสินคา้ จากตา่ งประเทศลง
• นบั ต้งั แต่แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 3 เป็นตน้ มา รัฐมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนเพอ่ื ส่งออก
มีการกาหนดพ้ืนท่ีลงทุนที่จะไดร้ ับสิทธิประโยชนก์ ารลงทุนจากตา่ งชาติจึงเพมิ่ มากข้ึน
การมีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกจิ และการเมืองของโลก
• การเข้าร่วมเศรษฐกจิ โลกระดบั พหุภาคี เช่น
ธนาคารโลก
กองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ
• การเข้าร่วมกล่มุ ระดบั ภูมิภาค เช่น ประชาคมอาเซียน
เขตการคา้ เสรีอาเซียนหรืออาฟตา
สมาชิกความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย – แปซิฟิ กหรือเอเปก
• การเข้าร่วมกลุ่มระดบั อนุภูมภิ าค เช่น
กลุ่มเศรษฐกิจ 3 ฝ่ าย อินโดนีเซีย – ไทย – มาเลเซีย
โครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง
ผลดจี ากการเปิ ดเสรีการค้าต่อเศรษฐกจิ ไทย
1. ช่วยใหเ้ ศรษฐกิจมีการเจริญเติบโต
2. ทาใหม้ ีการติดต่อคา้ ขายและการลงทุนมากข้ึน
3. ก่อใหเ้ กิดการจดั สรรทรัพยากรอยา่ งมีประสิทธิภาพ
4. ช่วยเพ่ิมการผลิตและการส่งออกมากข้ึน
5. มีการจา้ งงานเพ่มิ ข้ึน ประชาชนมีรายไดเ้ พิ่มข้ึน
ผลกระทบจากการเปิ ดเสรีการค้าต่อเศรษฐกจิ ไทย
1. เกิดการพ่ึงพาทางเศรษฐกิจอนั ส่งผลต่อราคาสินคา้ และอตั ราเงินเฟ้อในประเทศ
2. เกิดการครอบงาจากต่างชาติ ทาใหผ้ ปู้ ระกอบการไทยเสียเปรียบทางเศรษฐกจิ
3. เกิดความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้
4. เกิดความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
5. ส่งผลใหก้ ระทบต่อภาคเกษตรกรรมท่ีตอ้ งแขง่ ขนั กบั ประเทศอื่นๆ มากข้นึ
6. ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างการผลิตในภาคอุตสาหกรรม
7. ส่งผลต่อภาคการคา้ และบริการท้งั ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ
มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือประโยชนท์ างการคา้ เพือ่ ความร่วมมือใน
การแกไ้ ขปัญหา และรักษาผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจ มีเป้าหมายสาคญั
เพ่อื ลดและเลิกอุปสรรคทางการคา้ ระหวา่ งกนั ท้งั ดา้ นภาษีและไม่ใช่ภาษี
ศุลกากร
APEC :ร่วมแก้ปัญหาและช่วยเหลือกนั จากภาวะ
เศรษฐกจิ ถดถอย (วกิ ฤตโิ ควดิ -19)
เลน่ วดิ ีโอ
กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟิ ก APEC
ความเป็ นมา นโยบายทางเศรษฐกจิ
• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2532 • พฒั นาและส่งเสริมระบบการคา้ พหุภาคี
• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื • สนบั สนุนการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของ
- ส่งเสริมความเจริญเติบโตทาง ภูมิภาคและของโลก
เศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิ ก • ลดอุปสรรคและอานวยความสะดวก
-พฒั นาและส่งเสริมระบบการคา้ หลาย ดา้ นการคา้ การบรอการ และการลงทุน
ระหวา่ งประเทศสมาชิก โดยใหส้ อดคลอ้ ง
ฝ่ าย
- ขยายความร่วมมือในสาขาเศรษฐกิจท่ี กบั กฎเกณฑข์ อง WTO
สนใจร่วมกนั • ส่งเสริมความร่วมมือทางดา้ นการเงิน
- ลดอุปสรรคดา้ นการคา้ และการลงทุน การคลงั ในการแกไ้ ขวกิ ฤติเศรษฐกิจ
ระหวา่ งกนั
ASEAN คืออะไร?
เลน่ วดิ ีโอ
ประชาคมอาเซียน นโยบายทางเศรษฐกจิ
• มุ่งใหเ้ กิดการไหลเวยี นอยา่ งเสรีของสินคา้
ความเป็ นมา
• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2510 การบริการ การลงทุน เงินทุน การพฒั นา
• เดิมอาเซียนเนน้ ความร่วมมือดา้ น เศรษฐกิจ
• ลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้า
การเมืองเป็นหลกั ต่อมาจึงเปลี่ยนไป ทางสงั คม
เนน้ ความร่วมมือดา้ นเศรษฐกิจ • จดั ต้งั ใหอ้ าเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐาน
• มีประเทศสมาชิก 10 ประเทศ การผลิต
• ในปี พ.ศ. 2558 จะมีการจดั ต้งั เป็น • ช่วยเหลือประเทศสมาชิกใหม่
ประชาคมอาเซียน เพ่ือลดช่องวา่ งระดบั การพฒั นา
• ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงิน
การพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐาน
และการคมนาคม การพฒั นาความร่วมมือ
ดา้ นการเกษตร พลงั งาน
เขตการคา้ เสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area)
หรือ อาฟตา้ (AFTA)
• เขตการคา้ เสรี (FTA) น้นั คือ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศต่างๆ เพ่ือใหม้ ีการเกบ็ ภาษี
ศลุ กากรระหวา่ งกนั ในอตั ราที่นอ้ ยท่ีสุด หรือ ในอตั ราร้อยละ 0 ซ่ึงประเทศท่ีมีการรวมกลุ่มเขตการคา้ เสรี
น้นั จะไดเ้ ปรียบทางการคา้ มากกวา่ ประเทศที่อยนู่ อกกลุ่มในเรื่องของอตั ราภาษี โดยการเปิ ดเสรีทางการคา้
น้นั ไม่เพียงแต่เฉพาะดา้ นสินคา้ เท่าน้นั แต่ยงั รวมถึงดา้ นบริการและการลงทุนดว้ ย
เป้าหมายและวตั ถุประสงค์
เพือ่ ใหอ้ าเซียนเป็นภูมิภาคที่มีศกั ยภาพทางดา้ นเศรษฐกิจ และเพม่ิ อานาจในการต่อรองทางดา้ นเศรษฐกิจ
ในเวทีโลก พร้อมกนั น้ีอาเซียนยงั มีความตอ้ งการท่ีจะดึงดูดประเทศต่างๆใหเ้ ขา้ มาลงทุน เพื่อความเจริญเติบโต
อยา่ งต่อเนื่องภายในภูมิภาค โดย AFTA น้นั จะทาใหก้ ารคา้ ขายสินคา้ ในอาเซียนเป็นไปอยา่ งเสรี มีการคิด
อตั ราภาษีระหวา่ งกนั ในระดบั ท่ีต่า และปราศจากขอ้ กาหนดทางการคา้ อนั จะส่งผลใหป้ ระเทศสมาชิกจะมี
ตน้ ทุนการผลิตสินคา้ ท่ีลดลง อีกท้งั เป็นการเพมิ่ ปริมาณทางดา้ นการคา้ ในภูมิภาคใหม้ ีมากข้ึน ทาใหอ้ าเซียน
เป็นภูมิภาคท่ีมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอยา่ งรวดเร็วและมนั่ คง
ธนาคารเพื่อการพฒั นาเอเชีย ADB
ความเป็ นมา ประเทศไทยกบั ธนาคารเพื่อการพฒั นาเอเชีย
• ก่อต้งั ในปี พ.ศ. 2509 • ไทยเป็นผรู้ ่วมก่อต้งั ธนาคาร
• มีวตั ถุประสงค์ เพ่อื เพอ่ื การพฒั นาเอเชีย และเป็นผถู้ ือหุ้น
รายใหญอ่ นั ดบั ที่ 17
- เป็นแหล่งเงินทุนสาหรับประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิ ก • ไทยใหค้ วามร่วมมือในรูปแบบต่างๆ เช่น
- มุ่งใหค้ วามสาคญั กบั การแกไ้ ขปัญหา การสมทบเงินทุน การใหค้ วามช่วยเหลือทาง
ความยากจนและพฒั นาคุณภาพชีวติ เป็น เทคนิค การพฒั นาลุ่มน้าโขง เป็นตน้
เป้าหมายหลกั
- คานึงถึงการพฒั นาเศรษฐกิจควบคู่กบั
การพฒั นาสงั คม
เขตเศรษฐกจิ สามฝ่ ายอนิ โดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย
• มุ่งพฒั นาเศรษฐกิจบริเวณ 8 จงั หวดั ภาคใต้
ของไทย ตอนเหนือและตะวนั ตกของมาเลเซีย
และเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย
• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื
- ส่งเสริมความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจของ 3
ประเทศ ใหม้ ีการใชท้ รัพยากรร่วมกนั อยา่ งมี
ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
- มุ่งเนน้ ใหม้ ีการพฒั นาการเช่ือมโยงดา้ น
โครงสร้างพ้นื ฐาน
โครงการส่ีเหลย่ี มเศรษฐกจิ หรือโครงการความร่วมมืออนุภูมภิ าคล่มุ นา้ โขงตอนบน
• เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ระหวา่ งมณฑลยนู นานของจีน พม่า
ลาว และไทย
• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื
- ร่วมมือกนั พฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน
ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเสน้ ทาง
คมนาคมทางบก ทางน้า ทางอากาศ
- พฒั นาการท่องเท่ียว การคา้ และการ
ลงทุนร่วมกนั
ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในอนุภาคลุ่มแม่นา้ โขง(หกเหลยี่ มเศรษฐกจิ )
• เป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ ที่แม่น้าโขง
ไหลผา่ นไดแ้ ก่ พม่า ลาว ไทย กมั พชู า
เวยี ดนาม และมณฑลยนู นานของจีน
• มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื
- ส่งเสริมใหเ้ กิดการขยายตวั ทางดา้ นการคา้
การลงทุน อตุ สาหกรรม การเกษตร
- สนบั สนุน การจา้ งงานและยกระดบั ความ
เป็นอยขู่ องประชาชนใหด้ ีข้ึน
- ส่งเสริมและพฒั นาความร่วมมือทาง
เทคโนโลยแี ละการศึกษาระหวา่ งกนั
ลกั ษณะการพงึ่ พาทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าคเอเชีย
ปัจจุบนั การพ่ึงพาทางการคา้ ระหวา่ งประเทศในภูมิภาคเอเชียมี
ความสะดวกและมีกาแพงภาษีลดลง เช่น มีการเปิ ดเสรีการคา้
และการลงทุนในกลุ่มอาเซียน หรือกลุ่มอาเซียนกบั จีนและ
ญ่ีป่ ุน เป็นตน้
เป็นการคา้ ภายในอุตสาหกรรมเดียวกนั มากข้ึน คือ มีการผลิต
ที่ผลู้ งทุนอาศยั ประเทศหน่ึงผลิตชิ้นส่วน แลว้ นาส่วนประกอบ
เหล่าน้นั ไปประกอบในอีกประเทศหน่ึง ซ่ึงช่วยลดตน้ ทุนการ
ผลิตลงได้ เช่น ผลิตชิ้นส่วนตุก๊ ตาในไทย ไตห้ วนั และจีน
จากน้นั จึงนาไปประกอบเป็นตวั ที่สิงคโปร์ เป็นตน้
เมื่อประเทศหน่ึงมีเศรษฐกิจดี ประเทศอื่นๆ
กจ็ ะมีเศรษฐกิจดีตามไปดว้ ย ขณะเดียวกนั เม่ือ
ประเทศหน่ึงมีเศรษฐกิจแย่ กอ็ าจส่งผลกระทบ
ทางเศรษฐกิจต่อประเทศอื่นดว้ ย เช่น เม่ือจีนมี
เศรษฐกิจดี ชาวจีนกม็ ีกาลงั ซ้ือและนาเขา้ สินคา้
จากประเทศอ่ืนมากข้ึน แต่เม่ือสหรัฐอเมริกามี
ปัญหาทางเศรษฐกิจ ประเทศจีน อินเดีย และไทย
ไม่สามารถส่งออกสินคา้ ไปจาหน่ายยงั
สหรัฐอเมริกาได้ ทาใหก้ ารจา้ งงานไดร้ ับ
ผลกระทบ เป็นตน้
การพง่ึ พาและการแข่งขันทางเศรษฐกจิ ในเอเชีย
การพงึ่ พาทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าคเอเชีย
หลกั การพง่ึ พาทางเศรษฐกจิ
• การคา้ ระหวา่ งประเทศ เม่ือประเทศหน่ึงมี • การคา้ และการลงทุนระหวา่ งประเทศ ประเทศผลู้ งทุน
รายไดเ้ พ่ิมข้ึน ความตอ้ งการสินคา้ กจ็ ะเพิ่มดว้ ย ท่ีมีแหล่งเงินทุนมากและมีความเช่ียวชาญดา้ นบริหาร
หากเป็นสินคา้ ท่ีตอ้ งนาเขา้ จากต่างประเทศ จดั การ มีเทคโนโลยกี ารผลิตที่มีประสิทธิภาพ แต่มี
ประเทศท่ีผลิตน้นั กส็ ามารถส่งออกสินคา้ คา่ จา้ งแรงงานสูงหรือขาดทรัพยากรสาคญั กอ็ าจจะไป
ไดม้ ากข้ึน ลงทุนในประเทศอ่ืนที่มีสภาพเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ
และสินคา้ ท่ีเหมาะสมกบั การลงทุนของตน ประเทศ
ผรู้ ับการลงทุนกไ็ ดพ้ ่ึงพาเงินทุนจากประเทศท่ีเขา้ มา
ลงทุน เช่น ประเทศไทยพ่ึงพาการลงทุนจากญี่ป่ ุน
เมียนมาร์พ่ึงพาการลงทุนจากสิงคโปร์ เป็นตน้