FTI e-journal
@chonburi#3
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี
Editor
สวัสดีครับ พบกันอีกคร้ังกับวารสารอิเล็กทรอนิกส์ จากสภาอุตสาหกรรม จ.ชลบุรี ในโอกาสนี้ ผมขอแนะนําาผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้เกียรติมาร่วมเป็น กองบรรณาธิการ สร้างสรรค์งานมาเผยแพรแ่ ด่
Talk
ทกุ ทา่ นผอู้ า่ น ในฉบบั ท#่ี 3 น้ี ผมขอแนะนําา คุณณัฏฐ์ธน สาตรจีนพงษ์ รองประธานสภา อุตสาหกรรม จ.ชลบุรี หนึ่งในผู้ทรงคุณวุฒิของ กองบรรณาธิการ FTI E- journal@Chonburi ครับ
สวัสดีครับ ผมในฐานะบรรณาธิการร่วมของ กองบรรณาธิการท่ีรับผิดชอบในหัวข้อนานาทรรศน์ และมุมมองทางอุตสาหกรรม สร้างสรรค์งานเพ่ือ เผยแพร่แด่ทุกท่าน เพ่ือนําาเสนอแนวทัศนคติ จากหลาย ๆ ท่าน ในมุมของอุตสาหกรรมและ ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อเป็นผู้นําาทาง อุตสาหกรรม
ในฉบับนี้ เรายังมีการพูดถึง BCG ในแนวคิดของกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์และนวัตกรรม (อว.) แนวทางการพัฒนาสนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs ในภาคตะวันออกของศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี ๙ และยังมี ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ จากสําานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม ยังอัดแน่น ไปด้วยข่าวสารความเคล่ือนไหวของสภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในการทําาบันทึกข้อตกลงทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมในยุคดิจิทัล ยังชวนติดตามข่าวสารท่ีสําาคัญของ young FTI ท่ีเป็นนักอุตสาหกรรมรุ่นใหม่
การพัฒนาอุตสาหกรรมมี 2 แนวทางในการพัฒนา คือ
1. การพัฒนาภายในอุตสาหกรรมนั้น ๆ ที่ต้องพ่ึงพิงปัจจัยต่าง ๆ ภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างพื้นฐาน การขนส่ง เงินทุน ซึ่งจะมีความสามารถในการ แข่งขันในระดับภูมิภาค 2. การพัฒนาอุตสาหกรรมโดยการจับคู่กับประเทศอ่ืน ๆ ที่มีความรู้ความสามารถสูงกว่า ซ่ึงจะมีขีดความสามารถในการแข่งขันได้ดีกว่า และตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลก แต่เม่ือพิจารณาในรายละเอียด ของศักยภาพอุตสาหกรรม พบว่า อุตสาหกรรมโดยส่วนใหญ่ของไทยมีความ เชี่ยวชาญในการผลิตสินค้า และสามารถส่องออกได้ตรงความต้องการของตลาด แต่อุตสาหกรรมไทยกลับสร้างมูลค่าเพิ่มจากการผลิตสินค้าได้ไม่ดีเท่าท่ีควร
วารสารอิเล็กทรอนิคส์จากสภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี จะเป็นอีก แนวทางหนึ่งท่ีจะช่วยเป็นสื่อท่ีนําาเสนอองค์ความรู้ ทิศทางการพัฒนาธุรกิจ การ พัฒนาทางด้านการศึกษา การพัฒนาทักษะความสามารถ การเพิ่มศักยภาพของ แรงงาน ข่าวสารและสาระต่าง ๆ ในแวดวงอุตสาหกรรม เครือข่ายทั้งภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกด้วยการ พึ่งพาตนเอง
คณะบรรณาธิการ
FTI e-journal@chonburi
ที่ปรึกษา :
คุณสมบูรณ์ ตรีพรเจริญ
ประธานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี
ดร.บุษบา ชัยจินดา รองอธิการบดี ม.ศรีปทุม ชลบุรี Executive Editor : คุณถิรวัฒน์ เธียรธนะรัตน์ Editors :
ผศ.ดร.จิราพร ระโหฐาน
ผู้ช่วยอธิการบดี ม.ศรีปทุม ชลบุรี
คุณบุษกร ชีวะธรรมานนท์
รองประธานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี
คุณณัฏฐ์ธน สาตรจีนพงษ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี
คุณพยัพ แจ้งสวัสด์ิ
รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี
คุณจักรพงศ์ ประภากรสกุล ผู้อําานวยการสําานักงาน สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี Treasurer :
คุณณัฐวุฒิ เหล่าพูลกิจ
ติดต่อ ประสานงาน
สําานักงานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี
FTI@Chon News
ร่วมประชุม เพื่อคัดเลือกสมาชิกสภาเมืองพัทยาทดแทนชุดเดิม
วนั ท่ี 28 ตลุ าคม 2564 เวลา 14.00 น. นายสมบรู ณ์ ตรพี รเจรญิ ประธานสภาอตุ สาหกรรม จังหวัดชลบุรี ในฐานะคณะกรรมการคัดเลือกตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ข้อ 5 ท่ี 85/2557 ลงวันท่ี 10 กรกฎาคม 2557 ร่วมประชุมกับผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี ในฐานะประธานคณะกรรมการทม่ี อี าํา นาจตามกฎหมาย เพอ่ื คดั เลอื กสมาชกิ สภาเมอื งพทั ยา ทดแทนชดุ เดมิ เนอ่ื งจากสมาชกิ สภาเมอื งพทั ยาชดุ เดมิ ลาออกและทาํา ใหส้ มาชกิ สภาทเ่ี หลอื อยู่จําานวน 4 คน ซ่ึงไม่ถึงก่ึงหนึ่งของสมาชิกสภาเมืองพัทยาทั้งหมดซ่ึงมีจําานวน 12 คน จึงทําาให้สมาชิกสภาเมืองพัทยาที่เหลืออยู่นั้นส้ินสุดลงท้ังคณะ ตามกฎหมายเพื่อให้การ ได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถ่ินเป็นการช่ัวคราว จึงจะต้องมีการคัดเลือก
สมาชิกสภาเมืองพัทยาใหม่ทั้งคณะ โดยมีคณะกรรมการคัดเลือกตามที่ กฎหมายกําาหนด ทาบทามบุคคลท่ีมี คุณสมบัติและจําานวนเพื่อดําาเนินการ ให้ได้มาซ่ึงสมาชิกสภาเมืองพัทยา ตามประกาศของคณะรักษาความ สงบแห่งชาติที่85/2557 ต่อไป
DAIDONG ELECTRONICS
(THAILAND) CO., LTD
Mold Manufacturing
Daidong makes best efforts to realize high-tech mold manufacturing based on accumulated know-how and the best technology. Through unifying operation process from 3D CAD design to test-production and through process management system, Daidong pursues to shorten cycle time and remove any defect from any process Injection Mold
Daidong manufactures products which always satisfies various client’s needs based on continuous technology development and operation cutting-edge equipment. We adopted HI-cycle system for
- Small ultra-precision engineering plastic injection - Big and small parts of various electronic products - Automobile parts
- Double-colored injection
- Micropore formation
- Gas injection molding - In-mold injection
Daidong also has the process from painting in perfect clean rooms with automated equipment to ultrasonic deposition and vacuum evaporation coating. Etc.
DAIDONG ELECTRONICS (THAILAND) CO., LTD
63/2 MU5, Banbung Bankai Rd., Banbung Chonburi 2070 Tel : +66-38-443981-3 Fax : 66-38-444080-1
E-mail : [email protected] , URL http//www.daidong.com
“ การพัฒนาประเทศ
จําาเป็นต้องทําาตามลําาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้
ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน
โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้อง ตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคง พร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว
จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะ ทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลําาดับต่อไป ”
พระราชดําารัส พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระราชทานไว้เมื่อ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗
เขตประกอบการอุตสาหกรรมไทยอีสเทิร์น คือ เขตประกอบการอุตสาหกรรมเกษตรชีวภาพเศรษฐกิจหมุนเวียนเชิงนิเวศน์ชั้นนําาแห่งเอเซีย Asia Leading BCG Complex
ตั้งอยู่ในทําาเลศักยภาพ บนที่ดินกว่า 725 ไร่ ตําาบลเขาซก อําาเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี
https://youtu.be/_kJdRkVE4yM
Please click here to watch this video on
www.erppolymers.com
FTI Connext
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จับมือ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช ยกระดับสมรรถนะผู้ประกอบการ ภาคอุตสาหกรรม
วันจันทร์ที่ 18 ตุลาคม 2564 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ร่วมกัน พัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในยุคดิจิทัล เพ่ือยกระดับสมรรถนะ ผู้ประกอบการและบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม โดยมี นายสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธาน สภาอุตสาหกรรมประเทศไทย และ รองศาสตราจารย์ ดร.มานิตย์ จุมปา กรรมการสภา มหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นผู้ลงนาม ณ ลาน ThaiBev ช้ัน 10 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อาคารปฏิบัติ การเทคโนโลยีเชิงสร้างสรรค์ (มทรก.)
นายสุพันธ์ุ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมประเทศไทย กล่าวว่า สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทยมีพันธกิจหลัก ในการส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอุตสาหกรรม ส่งเสริม สนับสนุนการศึกษา วิจัย อบรม เผยแพร่วิชาการและเทคโนโลยีเกี่ยวกับ
อุตสาหกรรม และพร้อมที่จะอยู่เคียงข้างผู้ประกอบการ เพื่อช่วย แก้ปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมในฐานะ “เพื่อนร่วม
เศรษฐกิจมิตรร่วมสร้าง” สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงพยายามหาแนวทางและพันธมิตรในการพัฒนาความรู้ และทักษะที่จําาเป็นให้กับสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมฯ เพื่อ สร้างสมรรถนะการแข่งขันในตลาดโลก และสามารถนําาพา อุตสาหกรรมไทยก้าวไกลสู่สากลอย่างเต็มภาคภูมิ จึงเล็งเห็น ถึงโอกาสในการร่วมมือกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยเปิดชั้นนําาของโลกผู้ริเริ่มด้านการเรียนการสอนทาง ไกลเพื่อส่งเสริมโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์หลักที่มุ่งเน้นพัฒนา
สมาชิกให้มีความรู้ สร้างความเข้มแข็งและความสามารถทางการแข่งขันให้ผู้ประกอบการ รายย่อย และ/หรือผู้ประกอบการใหม่ และสร้างมาตรฐานสมรรถนะคุณวุฒิวิชาชีพผู้ประกอบ การอุตสาหกรรม
รองศาสตราจารย์ ดร. มานติ ย์ จมุ ปา กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ รกั ษาการ แทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผู้นําาและผู้ริเริ่มการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาทางไกล เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ ด้วยตนเองตลอดชีวิต นอกเหนือจากหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญา โท ปริญญาเอก แล้วยังมีหลักสูตรในระดับต่ําากว่าปริญญา (Non-degree Programs) ระบบ โมดูลการเรียน (Modular System) ที่มุ่งเน้นการพัฒนาสมรรถนะในการทําางานควบคู่กับ คุณภาพชีวิตด้านต่าง ๆ เพ่ือเสริมสร้างทักษะใหม่ (Re-Skill) และยกระดับทักษะเดิมให้ดี
ขึ้น (Up-Skill) ตอบสนองการเรียนรู้ตามความต้องการของแต่ละบุคคลและหน่วยงาน ตาม คําาขวัญว่า มสธ. ท่ีไหน เวลาใด ใครก็เรียนได้
สําาหรับการจัดหลักสูตรเพื่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรม เป็นการจัดการเรียนการสอนให้ กับสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้มีความรู้ ทักษะและเจตคติท่ีจําาเป็นเพ่ือ สร้างความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน โดยหลักสูตรมีความสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพและ คุณวุฒิวิชาชีพตามกลุ่มอุตสาหกรรม ที่สําาคัญสมาชิกสภาอุตสาหกรรมที่เข้าเรียนผ่านโครงการ ความร่วมมือน้ีจะสามารถเก็บสะสมหน่วยกิตสําาหรับการศึกษาต่อในหลักสูตรการศึกษาของ มสธ. ไดอ้ กี ดว้ ย นบั เปน็ มติ ใิ หมก่ ารพฒั นาบคุ ลากรภาคอตุ สาหกรรมสาํา หรบั ยคุ Next Normal เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและสร้างโอกาสความสําาเร็จที่สูงย่ิงข้ึน
FTI Connext
FTI Connext
FTI Connext
Automotive Yard
หนึ่งในบริการที่ได้รับความสนใจและนิยมอย่างมาก จาก ปลาวาฬ กรุ๊ป คือการให้บริการพื้นที่ลานสําาหรับ อุตสาหกรรมยานยนต์ (Automotive Yard) อาทิ เช่น รถยนต์, ชิ้นส่วนประกอบยานยนต์ต่างๆ เป็นต้น
เนื่องจากประเทศไทยมีฐานการผลิตและ ประกอบรถยนต์จําานวนมากอีกทั้งยังมีศักยภาพ ในเรื่องการส่งออกที่มากเป็นอันดับต้นของโลก เราจึงเล็งเห็นถึงโอกาสที่จะช่วยผลักดันและส่ง เสริมธุรกิจด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ให้พัฒนา และเติบโตต่อไปในอนาคต
โดยเราได้มีการให้บริการพื้นที่ลานสําาหรับ จอดรถยนต์มากกว่า 100,000 ตารางเมตร สําาหรับรองรับกลุ่มลูกค้าทั้งเขตพื้นที่ปลอดอากร (Free zone Yard) และพื้นที่ทั่วไป (General Yard) ในเขตเศรษฐกิจพัฒนาพิเศษ EEC พื้นที่อยู่ใกล้พื้นที่ท่าเรือแหลมฉบัง ใช้เวลา การเดินทางเพียง 5 นาทีเท่านั้น ใกล้กับพื้นที่ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศ ทั้งนิคม อุตสาหกรรมปิ่นทอง, นิคมอีสเทรินซีบอร์ด,
นิคมอมตะนครซิติ้และอมตะนคร ระยอง เป็นต้น เรามีผู้เชี่ยวชาญและดําาเนินการด้วยประสบการณ์ การจัดการและดูแลสินค้ามามากกว่า 10 ปี ทําาให้ ลานสินค้าของปลาวาฬได้รับการตอบรับเป็นอย่าง ดีมาโดยตลอด และปัจจุบันเรามีการขยายโครงการ มาในเขตพื้นท่ีแหลมฉบังเพื่อตอบสนองความ ต้องการที่มากขึ้นจากลูกค้าและรองรับการเติบโต ของธุรกิจรถยนต์และรถยนต์ไฟฟ้า (EV) ในอนาคต
ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ปลาวาฬ กรุ๊ป มุ่งมั่นตั้งใจ เพื่อให้ธุรกิจด้านโลจิสติกส์ในประเทศไทยเป็นที่ ยอมรับในระดับสากล ....
POF Pacific Co., Ltd.
บริษัท พี โอ เอฟ แปซิฟิ ค จํากัด
บรษิ ัท พีโอเอฟ แปซิฟิค จากดั คร่าหวอดในแวดวงอตุ สาหกรรมโพลีเมอรม์ าเป็นเวลานานกว่า 20ปีจงึไดใ้ชค้วามชานาญของบรษิัทในการวิจยัและพฒั นาสนิคา้รูปแบบใหมภ่ายใตค้อนเซ็ป ท่ีตอ้งการจะแกไ้ขปัญหาใหก้บัผใู้ชง้านหลงัคาและไมอ้ดัท่วัไปในทอ้งตลาดจึงไดต้่อยอดแตก ไลนก์ารผลติสนิคา้หลงัคาและไมอ้ดัสงัเคราะหแ์บบพิเศษเป็นเจา้แรกในประเทศไทย
สินค้ําของบริษัท
หลังคําไฮบริดหลงัคาอล+ูโพลีเมอร์ไมร่อ้น ไม่เสียงดงันา้หนกัเบาไม่เป็นสนิมตลอดอายกุาร ใชง้าน
ไฮบริดบอรด์ แผ่นแบบอเนกประสงค์ทดแทน ไมอ้ดันากลบัมาใชไ้ดห้ลายครงั้ประหยดัตน้ทนุ ไม่บวมนา้ ง่ายตอ่การติดตงั้และรอื้ถอน
POF Pacific Co., Ltd (Factory)
9/1หมู่1ถ.บา้นบงึ-บา้นไร่ต.หนองบอนแดงอ.บา้นบงึ จ.ชลบรุี20170เบอรโ์ทรศพัท์038159818-20
POF Pacific Co., Ltd (HQ)
335/34 ถ. ศรนี ครนิ ทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 เบอรโ์ ทรศพั ท์ 02 366 0838-45
www.hybrid-roof.com
HybridRoofหลงัคาไฮบรดิ @hybridroof
Industrial Guest การขับเคลื่อน BCG
โดย ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์
ผู้อําานวยการ สอวช.
บทบาทของ สอวช
ผลการดําาเนินงานด้านนโยบายของ สอวช. ทผ่ี า่ นมา อาทิ รปู แบบของหนว่ ยสนบั สนนุ ทนุ วจิ ยั (Funding Agency, FA) และเป็นหน่วยงานท่ี ทําาหน้าที่ช่วยในการปลดล็อคในด้านกฎหมาย และกฎระเบียบเพื่อรองรับ การพัฒนาผู้ ประกอบการด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม อย่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการ ใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรมท่ีสามารถ ช่วยให้เกิดจําานวน startup และ SME ใช้ เทคโนโลยีประกอบธุรกิจได้
ในขณะนี้เห็นได้ว่า BCG เป็นวาระ แห่งชาติที่จะเป็นฐานท่ีสําาคัญในการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศไทย โดยใช้ความได้ เปรียบเร่ืองความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลายทางวัฒนธรรม สร้าง creative economy ซึ่งที่ผ่านมาทรัพยากร ทางชีวภาพของประเทศไทยมีการใส่นวัตกรรม เข้าไปน้อย ความสามารถในการแข่งขันที่ผ่าน มาเป็นในลักษณะ comparative advantage โดยใช้ resource based แต่ ต่อไป การใช้ in- novation based จะทําาให้เกิดความได้เปรียบ ในการแข่งขัน competitive advantage
สอวช. ทําาการสําารวจและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าจีดีพีของประเทศที่ครอบคลุม 4 กลุ่ม รายสาขาของ BCG อยู่ที่ประมาณ 3.4 ล้านบาทหรือร้อยละ 21 ของจีดีพี และสามารถเติบโต ภายในห้าปี โดยต้ังเป้าหมายเป็น 4.4 ล้านบาท หรือเติบโตข้ึนได้เป็นร้อยละ 24% ภายใน
ปี พ.ศ. 2569 จากโมเดลเศรษฐกิจ BCG เม่ือมองด้านการจ้างงานปัจจุบัน มีการจ้างงานท่ี เก่ียวข้องกับ BCG จําานวน 16.5 ล้านคน ภายในห้าปีจะสามารถเพิ่มข้ึน 3.5 ล้านคน เป็น จําานวนทั้งหมดประมาณ 20 ล้านคน ใน sector ต่างๆ ได้แก่ เกษตรและอาหารมูลค่าสูง สุขภาพและการแพทย์ พลังงานและวัสดุ การท่องเที่ยวและบริการ
การขับเคลื่อน BCG
BCG มีรูปแบบการทําางานแบ่งออกเป็น 2 ส่วนของพีระมิด โดยส่วนท่ี 1 เป็นส่วนท่ีก่อ ให้เกิดมูลค่าเพิ่มสูง อยู่ด้านยอดของพีระมิด ซึ่งต้องใช้เทคโนโลยีข้ันสูงในการผลิตและมีผู้ เล่นน้อย ส่วนที่ 2 เป็นส่วนที่เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอยู่ส่วนฐานของพีระมิด ซึ่งต้องใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม และจะเกี่ยวข้องกับเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และ SME หากทําา BCG ไปส่งเสริมตรงฐานล่างของพีระมิด จะช่วยลดความเหลื่อมล้ําาได้มาก และขจัดความยากจน ของประชาชนด้วย
ปัจจุบัน สอวช. ดําาเนินการส่งเสริมผู้ประกอบการในพ้ืนที่และส่งเสริมการถ่ายทอด เทคโนโลยี เพื่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรม สนับสนุนให้รัฐบาลจัดตั้ง กองทุนวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เข้าไปช่วยเกษตรกร ชุมชน และผู้ประกอบการรายย่อย รวมทั้งส่งเสริมมหาวิทยาลัยต่างๆ ให้ มีส่วนร่วมในการขับเคล่ือน
สําาหรับ BCG ในขณะนี้ สอวช. ได้ดําาเนินการการออกแบบนโยบายและเน้นที่ ตัว C คือ Circular Economy หรือ เศรษฐกิจหมุนเวียนโดยเฉพาะในภาคการค้าระหว่างประเทศ ที่เน้น ในเร่ือง C และ G โดยทาง สอวช. มีการจัด CE Innovation Policy forum เป็นแพลตฟอร์ม ท่ีสามารถรวบรวมผู้เล่นทั้ง value chain เช่น สมาคมส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่ ยั่งยืน (ประเทศไทย) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดย forum น้ี มีบทบาทสร้างแนวทา งการทําางานร่วมกันทั้งทางภาครัฐและภาคเอกชน เช่น การทําา Reverse Logistics & Recy- cle ของวัสดุเหลือใช้เพื่อให้เกิดการนําากลับมาผลิตใหม่อย่างเป็นระบบ
นอกจากนี้ สอวช. ยังออกแบบ Solution Platform สําาหรับเศรษฐกิจหมุนเวียน ซึ่ง หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ หรือ บพข. (Program Management Unit Competitiveness, PMU C) ได้นําาแนวคิดน้ีไป เป็นโปรแกรมปักหมุด (Anchor Program) ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจหมุนเวียน เช่น
Food Loss & Food Waste เป็นต้น และ บพข. จัดทุนวิจัยเข้าไปสนับสนุน โดย สอวช. ดําาเนินการให้เห็นโจทย์ว่าภาคเอกชนมีโจทย์แบบใด และงานอีกส่วนที่ดําาเนินการคือ หากประเทศไทยติดกฎระเบียบใด ในส่วนนี้ สอวช. จะทําาหน้าท่ีประสานกับหน่วยงานที่ เก่ียวข้อง เช่น เรื่องของการใช้ของเสีย/วัสดุเหลือใช้จากโรงงานหนึ่งไปเป็นวัตถุดิบของอีก โรงงานหนึ่ง ในปัจจุบันยังไม่สามารถดําาเนินการได้อย่างที่ ต่างประเทศดําาเนินการ เช่น การ ขนส่งจนถึงนําาของเสียเข้ากระบวนการผลิตใหม่ด้วยโรงงานอื่น เนื่องจากข้อจําากัดของกฎ
ระเบียบ จะเห็นได้ว่าถ้ายังทําาภาพใหญ่ไม่ได้ สามารถทําาเป็น Innovation Sandbox ได้ และหากมองไปในอนาคตที่สุดแล้วประเทศไทย อาจจะต้องมีกฎหมายเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy Law) เหมือนหลายประเทศที่ดําาเนินการ เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศสิงคโปร์ ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ ได้ดําาเนินการสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบ การ สิ่งที่เริ่ม คือ Circular Design การทําาธุรกิจท่ีคําานึงตลอด Value Chain วางแผนให้ครบ ถ้วนสมบูรณ์ ผลิตอย่างไรให้ประหยัดทรัพยากรมากที่สุด และทําาอย่างไรให้เกิดประโยชน์และ เกิดรายได้มากที่สุด
SME กับ Circular Economy
ไม่ใช่ว่า SME จะไม่สามารถสร้างรายได้จากเศรษฐกิจหมุนเวียนได้ อาจเริ่มจาก Design Thinking ของ SME เช่น นําาไปคิดและออกแบบร่วมกับสมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็ก แห่งประเทศไทย (Global Compact Network Thailand, GCNT) ที่ร่วมมือกับที่ปรึกษา
CIRCO Netherland ซ่ึงตอนน้ีเปิดให้ผู้ประกอบการเข้ามา workshop และ boot- camp และพัฒนาเป็นแพลตฟอร์ม “CE Design และ Solutions Platform” โดย บพข. ให้การสนับสนุนกลุ่มที่เป็น Startup หรือบริษัทท่ีมีแนวคิด และต้องการทําา เศรษฐกิจหมุนเวียน หรือเข้าไป service ให้กับผู้อ่ืน เนื่องจากผู้ประกอบการบางที่อาจ จะไม่มีแนวคิดของตนเองและต้องการส่งเสริมคนที่มีไอเดีย ให้ start up หรือบริษัทที่ มีไอเดียเข้ามาสนับสนุนเสมือนการเป็น Service Provider เกิดการ matching กันได้ ในการพัฒนานวัตกรรมและ Proof of Concept ก็จะมีหน่วยงานลักษณะอย่าง บพข. ให้การสนับสนุน
สาํา หรบั การวจิ ยั และพฒั นา โดยหนว่ ย Funding Agency ซง่ึ ทาง สอวช. ไดด้ าํา เนนิ การแกก้ ฏระเบยี บวา่ หนว่ ยงานใหท้ นุ ของรฐั สามารถใหท้ นุ กบั ภาคเอกชนไดโ้ ดยตรง
นอกจากนี้ สอวช. ยังทําางานร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จัดตั้ง กองทุนนวัตกรรม โดยจะ RaiseFunds จากบริษัทขนาดใหญ่และรัฐบาลจะสมทบเพิ่ม ซ่ึงกรมสรรพากรให้สิทธิสามารถขอหักลดหย่อนภาษีได้การดําาเนินการน้ีบริษัทใหญ่ สนับสนุน SME ท่ีสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ให้กับบริษัทใหญ่ได้
สําหรับ Technology Transfer เช่น ไบโอเทคในต่างประเทศจะมอง เรื่อง Technology Transfer จําาพวกพลังงานสะอาด ประเทศเหล่าน้ันจะมีวัตถุประสงค์ อยู่ 2-3 อย่าง จากในปัจจุบันได้มีมาตรการและนโยบายท่ีต้ังกฎเกณฑ์ข้ึนมา และ Apply มาตรการเหล่านี้ในการค้า Cross Border เก็บค่าธรรมเนียมปริมาณการปล่อย คาร์บอนของสินค้าเพื่อบังคับให้เกิด Carbon Neutral หรือต้องมี Innovation ต่างๆ ของเทคโนโลยีในการทําา Carbon Capture ซึ่ง สอวช. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมเหล่านี้ นอกจากน้ีต้องมี Eco System ในการส่งเสริม เช่น กฎหมายกฎระเบียบท่ีต้องปลดล็อค หรือมีมาตรการส่งเสริมของ BOI
กลุ่มรายสาขา (Sector) ที่ต้องขับเคลื่อนสําาหรับ BCG ได้แก่ เกษตรและอาหาร สุขภาพและการแพทย์ พลังงานและวัสดุ และท่องเที่ยวและบริการ ว่าแต่ละด้านพวก น้ีจะส่งเสริมอย่างไร ซึ่งขณะน้ีมีกรรมการ 2 ชุด คือคณะกรรมการบริหาร BCG ของ ประเทศ ทั้งในเชิงทิศทางและนโยบาย และคณะกรรมการขับเคลื่อน BCG ท่ีมอบให้ รัฐมนตรีกระทรวงอุดมศึกษามาขับเคลื่อน
ในการสร้าง competitive Adventure ของ BCG อีกส่วนคือ ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ ท่ีผลิตด้วยนวัตกรรม เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีได้มาตรฐาน และต้องมีมาตรฐานเศรษฐกิจ หมุนเวียนด้วย
เราจะสามารถติดตามข้อมูลข่าวสาร ของ BCG จากกระทรวง อว. โดยมี สวทช. เป็นเลขา คณะกรรมการ และมีคณะอนุกรรมการ 11 คณะ ขับเคล่ือนแต่ละเร่ืองต่อไป
Editor: ผศ.ดร.จิราพร ระโหฐาน
บริษัท พรเทพ อินเตอร์กรุ๊ป จําากัด
Pornthep Intergroup Co., Ltd.
บริษัท พรเทพ อินเตอร์ กรุ๊ป จําากัด เป็นหนึ่งในผู้นําาด้านการ ผลิตพาเลทไม้ และบรรจุภัณฑ์ไม้ ในประเทศไทย และเป็น หนึ่งในผู้นําาเข้าไม้มากที่สุดของประเทศด้วยโดยนําาเข้าไม้
จากทั่วทุกมุมโลก และใช้ร่วมกับไม้ในประเทศเพื่อขาย และ เป็นวัตถุดิบเพื่อสนับสนุนกระบวนการผลิตของเรา โกดังเก็บ วัตถุดิบของเรามีขนาดความจุที่ประมาณ 64,000 ลูกบาร์ต เมตร (หรือ 1,600 คอนเทนเนอร์) และมีโรงผลิตอยู่รอบๆ โกดัง 3 โรงผลิต โดยมีกําาลังการผลิตพาเลทไม้และหรือ บรรจุภัณฑ์ไม้ (กล่อง) อยู่ที่ 10,000 ชิ้นต่อวัน
บริษัท พรเทพ อินเตอร์ กรุ๊ป จําากัด ผลิตและจําาหน่าย พาเลทไม้ และบรรจุภัณฑ์ ในประเทศไทยมากว่า 20 ปี และมีการขยายอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด จากผู้ผลิตและ จําาหน่ายพาเลทไม้และบรรจุภัณฑ์ไม้ในประเทศไทย เราได้ ขยายการจําาหน่ายออกสู่ตลาดต่างประเทศในแถบภูมิภาค เอเชียแปซิฟิก และประเทศแถบตะวันออกกลาง นอกจาก พาเลทไม้และบรรจุภัณฑ์ที่เราส่งออกไปขายต่างประเทศแล้ว ยังมีผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับไม้ เช่น ไม้อัด MDF (Medium- Density Fiberboard) กระดาษอัด หรือแผ่นใยไม้อัดแข็ง (Particle Board) เกล็ดไม้อัดเรียงชิ้น (OSB) เปน็ ตน้ ในขณะเดยี วกนั เรายงั เปน็ หนง่ึ ในจาํา นวนผจู้ ดั จาํา หนา่ ยรายใหญ่ สําาหรับไม้แปรรูปทุกชนิด โดยเฉพาะไม้อุตสาหกรรมที่ใช้ สําาหรับทําาพาเลทและบรรจุภัณฑ์ ในประเทศไทย
ที่อยู่ : 67/2 ม.4 ต.บึง อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20230 โทร : 081-4296644
อีเมล์ : [email protected]
พิกัด : 13.063866, 100.992314
Thai Summit PK Group “We are the World Class Manufacturer of
Chassis Frame and Axle for Pick-up Truck”
เป็นผู้นําาระดับโลกด้านการผลิตโครงตัวถังและตัวเรือนเพลาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
เราเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่าง บริษัท ไทยซัมมิทโอโตพาร์ทอินดัสตรี จําากัด (ผู้ผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ชั้นนําาของประเทศไทย) และ บริษัท Press Kogyo จําากัด (ผู้นําาด้านโครงตัวถัง และตัวเรือนเพลาของประเทศญี่ปุ่น)
ผลิตภัณฑ์หลัก
การผลิตแบบต่อเนื่องและการตรวจสอบโดยใช้หุ่นยนต์ทําางานแบบอัตโนมัติ
การผลิตโครงตัวถังรถโดยใช้หุ่นยนต์เชื่อมแบบต่อเน่ืองอัตโนมัติ ช่วยลดเวลาในการผลิตลง มีการตรวจสอบด้วย Sensor เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการผลิต ตลอดท้ังในกระบวนการโอนชิ้นงานแบบอัตโนมัติ เราติดตั้ง iRVision ซึ่งสามารถถ่ายโอน ชิ้นงานด้วยความเร็วสูงในระบบที่ปรับให้เหมาะสม และการตรวจสอบช้ินงานด้วย การมองเห็นแบบอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีท่ีได้รับการพัฒนาและล้ําาสมัย
กลุ่มบริษัท ไทยซัมมิท พีเค THAI SUMMIT PK GROUP
TSPK : บริษัทไทยซัมมิท พีเค คอร์ปอเรชั่น จําากัด 500/9 หมู่ 3 ต.ตาสิทธิ์ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง 21140 โทร. 0-3895-3400
TSPK-L : บริษัทไทยซัมมิท พีเคเค จําากัด 206 หมู่ 3 นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20230 โทร. 0-3849-0580~5
TSPK-BP : บริษัทไทยซัมมิท พีเคเค บางปะกง จําากัด 700/409 หมู่ 7ถ.บางนา-ตราด ต.ดอนหัวฬ่อ อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000 โทร. 0-3845-4390~5
TSPK-E : บริษัทไทยซัมมิท พีเคเค เอนจิเนียริง จําากัด 206/1 หมู่ 3 นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20230 โทร. 0-3849-0580~5
industrial move
นายถิรวัฒน์ เธียรธนะรัตน์ บรรณาธิการบริหาร FTI E-Journal@Chonburi
วารสารอิเล็กทรอนิคส์ สภาอุตสาหกรรม จ.ชลบุรี เข้าพบเพื่อแสดงความยินดี กับ นายบรรจง สุกรีฑา เน่ืองในโอกาสเข้าดําารงตําาแหน่งเลขาธิการสําานักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ในโอกาสเดียวกันได้รับเกียรติจากท่านเลขาฯ สมอ. กรุณาให้สัมภาษณ์ ถึงประเด็นสาระสําาคัญ ที่น่าสนใจ ในบทบาทของ เลขาธิการ สมอ.
1. ภาพรวมนโยบายและทิศทางของ สมอ.นับจากนี้ต่อไป
สําานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ในฐานะสถาบันมาตรฐานแห่งชาติ ดําาเนินงานด้านการมาตรฐานของประเทศ เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการ
แข่งขันให้กับภาคอุตสาหกรรมของไทยให้สูงขึ้นด้วยการมาตรฐาน และคุ้มครองผู้บริโภค ให้ปลอดภัยจากการใช้สินค้าท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน โดยมีทิศทางการดําาเนินงาน ดังนี้
• การส่งเสริมด้านการมาตรฐานให้กับผู้ประกอบการทุกระดับ ทั้งผู้ประกอบการรายใหญ่ รวมถึงวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) เพ่ือเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับ ภาคอุตสาหกรรม และผลักดันให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาล โดยการจัดทําามาตรฐานต้องสอดคล้องตาม ความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ครอบคลุมตามกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ดังนี้
- กลุ่มเอสเคิร์ฟ (S-curve) ได้แก่ ยานยนต์สมัยใหม่, อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ, การท่องเท่ียวกลมุ่ รายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ และการแปรรูปอาหาร
- กลุ่มนิวเอสเคิร์ฟ (New S-curve) ได้แก่ เช้ือเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ, ดิจิทัล และการ แพทย์ครบวงจร
- กลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆ
- มาตรฐานตามนโยบาย
- มาตรฐานเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการ
• การส่งเสริมความรู้ด้านการมาตรฐาน โดย
บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีการนําา มาตรฐานไปใช้ให้มากย่ิงขึ้น อาทิ
- สมอ. ร่วมกับ สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) จัดการอบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมในหลักสูตร มาตรฐานสากลต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งสอดคล้องตาม ความต้องการของภาคอุตสาหกรรม เช่น การจัดทําา ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/ IEC 17025:2017, ข้อกําาหนดมาตรฐานระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015, ข้อกําาหนด มาตรฐานระบบการจัดการต่อต้านการให้และรับ สินบน ISO 30071:2016, ข้อกําาหนดมาตรฐานระ การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO 45001:2018, มอก.9999 นําาอุตสาหกรรมไทยสู่ ความยั่งยืน เป็นต้น
- สมอ. ร่วมกับภาคเอกชนจัดกิจกรรม “พี่ สอนน้อง” เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ปตท. SCG เดินสายให้ความรู้กับผู้ประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมและทุกภาคส่วนใน 4 ภูมิภาค ทั่วประเทศ ได้แก่ จังหวัดระยอง ขอนแก่น เชียงใหม่ และนครศรีธรรมราช เพื่อส่งเสริมให้มี การนําามาตรฐาน Circular Economy ไปประยุกต์ ใช้ในองค์กร
- ให้ความรู้เร่ืองการมาตรฐานและ เคร่ืองหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) แก่ครู อาจารย์ ให้สามารถบูรณาการเข้า สู่การเรียนการสอนให้แก่นักเรียนของตนเอง เพ่ือ ให้นักเรียนมีความรู้และเป็นสื่อกลางในการสื่อสาร กับผู้ปกครอง สังคมและชุมชนใกล้เคียง สามารถ
เลือกเลือกซ้ือเลือกใช้สินค้าที่มี มอก. เพื่อความ ปลอดภัยและสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีมีมาตรฐาน
- ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าท่ีองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ซ่ึงกระจายอยู่ทุกตําาบลท่ัวประเทศ เพื่อ ให้มีความรู้เร่ืองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) และกฎหมายที่เก่ียวข้อง ให้สามารถนําาไป ใช้ในการปฏิบัติงาน และถ่ายทอดให้แก่ประชาชน ในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อปกป้องและรักษาสิทธิของ ตนเองได้ ตลอดจนเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังและ แจ้งเบาะแสกรณีพบผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐานใน ชุมชน เพ่ือให้ผู้บริโภคในชุมชนได้ใช้ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมที่มีคุณภาพและความปลอดภัย
• การบูรณาการการทําางานร่วมกับหน่วย งานภาครัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทาง ในการป้องกันสินค้าไม่ได้มาตรฐานถึงมือประชาชน โดยเฉพาะหน่วยงานด่านหน้า เช่น กรมศุลกากร เพื่อร่วมกันสกัดกั้นสินค้าที่ได้มาตรฐานเข้ามา จําาหน่ายในราชอาณาจักร นอกจากนี้ ยังมีหน่วย งานเครือข่าย เช่น สําานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ท่ัวประเทศ ท้ัง 76 จังหวัด ท่ี สมอ. จะต้องบูรณา การการทําางานด้วย
• ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านค้าราย ย่อยให้มีความรู้ในการจําาหน่ายสินค้าท่ีได้มาตรฐาน โดยเฉพาะสินค้าท่ี สมอ. ควบคุม ซึ่งปัจจุบันมี จําานวน 126 รายการ ท่ีจะต้องจําาหน่ายอย่างถูก ต้องตามกฎหมาย เพื่อจะไม่ให้เกิดการกระทําา ความผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ โดยจะนําาร่องกับ ภาคีเครือข่ายตลาดสดน่าซ้ือในจังหวัดปทุมธานี เป็นแห่งแรก และจะขยายผลไปจังหวัดอื่นๆ ต่อไป
• สมอ. จะเพิ่มความถี่ในการตรวจติดตาม เม่ือผู้รับใบอนุญาตได้นําาสินค้าเข้ามาจําาหน่ายใน ประเทศ โดยบูรณาการความร่วมมือกับสําานักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดท่ัวประเทศในการตรวจ ติดตามอย่างเข้มข้นทุกพ้ืนที่
2. บทบาทของ สมอ. ที่จะมีส่วนช่วย สนับสนุนและส่งเสริม BCG Thailand ท่ีเป็นนโยบายหลักของรัฐบาล
สมอ. มีการดําาเนินการสอดคล้องตามนโยบาย กระทรวงอุตสาหกรรม และนโยบายรัฐบาลด้าน บซี จี ี (BCG : Bio economy, Circular economy, Green economy) ท่ีมุ่งแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ระดับฐานราก หรือเศรษฐกิจชีวภาพ มุ่งเน้น การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า คําานึงถึงการนําาวัสดุ ต่างๆ กลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด และมุ่ง แก้ไขปัญหามลพิษ ลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความ เจริญเติบโตอย่างมั่นคง ควบคู่ไปกับการรักษา สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ โดย สมอ. ทําาหน้าท่ีใน ๒ กิจกรรมหลักที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การกําาหนดมาตรฐาน และการตรวจสอบ และรับรอง
- การกําาหนดมาตรฐาน
สมอ. มีการกําาหนดมาตรฐาน ท่ีเกี่ยวข้องกับ BCG ดังนี้
- การตรวจสอบและรับรอง
สมอ. ให้การรับรองระบบงานแก่ผู้ประกอบการ ตรวจสอบและรับรองในสาขาต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น สาขาการตรวจสอบความใช้ได้และทวนสอบ ก๊าซเรือนกระจก สาขาจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน และอยู่ระหว่างการจัดทําาเกณฑ์สําาหรับให้การ รับรองหน่วยรับรองในสาขาระบบการจัดการ เศรษฐกิจหมุนเวียนองค์กร โดย สมอ. จะผลักดัน ให้ทุกภาคส่วนนําามาตรฐานท่ีเก่ียวข้องดังกล่าว มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในองค์กร และ การดําาเนินธุรกิจ เพื่อขับเคล่ือนนโยบายรัฐบาลให้ บรรลุเป้าหมาย นอกจากนี้ยังมีการตรวจสอบและ รับรองเพ่ือสร้างความเช่ือมั่นให้แก่ผู้บริโภค รวมถึง ผู้มีส่วนได้เสียท่ีเก่ียวข้อง
3. CBAM กับผลิตภัณฑ์ไทย ในอนาคตท่ีใกล้จะมาถึงในปี 2566 ในปี 2566 มีสินค้านําาร่อง 5 กลุ่มสินค้า ที่ต้อง เข้าสู่มาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน (Carbon border Adjustment Mechanism:
CBAM) ของสหภาพยุโรป (EU) ได้แก่ เหล็ก อลูมิเนียม ซีเมนต์ ปุ๋ย และกิจการผลิตไฟฟ้า ประเทศไทยมีสินค้าที่ต้องเข้า สู่กลไกดังกล่าว คือ เหล็ก และ อลูมิเนียม โดยในปี 2566-2568 ผสู้ ง่ ออกสนิ คา้ เหลก็ และอลมู เิ นยี ม มีเฉพาะภาระหน้าที่ในการจัดส่ง รายงานข้อมูลปริมาณก๊าซเรือน กระจกเฉพาะการปล่อยแบบ ทางตรงเท่าน้ัน ไม่มีการกําาหนด ภาระผูกพันทางการเงิน สําาหรับ รายงานที่จัดส่งต้องดําาเนินการ โดยผู้ทวนสอบอิสระท่ีสามารถ ทําาการทวนสอบข้อมูลปริมาณ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของสินค้า ผู้ทวนสอบ ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนภายใต้ระบบ EU ETS หรือผู้ทวนสอบท่ีได้รับการข้ึนทะเบียนโดยหน่วย รับรองระบบงาน (National accreditation body) ของประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป ทั้งนี้ สําานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ในฐานะประเทศสมาชิกขององค์การระหว่าง ประเทศว่าด้วยการรับรองระบบงาน (IAF) จะ ดําาเนินการร่วมกับองค์การบริหารการจัดการก๊าซ เรือนกระจก (องค์การมหาชน) กระทรวงการ ต่างประเทศ และกระทรวงพาณิชย์ เพ่ือเจรจา ขอทําาความตกลงกับสหภาพยุโรปให้สามารถใช้ รายงานท่ีเป็นไปตามหลักเกณฑ์ภายใต้มาตรการ CBAM ที่ออกโดยหน่วยตรวจสอบความใช้ได้และ ทวนสอบก๊าซเรือนกระจกของไทยที่ได้รับการ
รับรองระบบงานจาก สมอ. ต่อไป และในบทบาทของ การเป็นหน่วยรับรองระบบ งานของประเทศไทย ขณะ น้ี สมอ. มีความพร้อมรับ มาตรการดังกล่าว โดยได้ เปิดให้บริการรับรองระบบ งานแก่หน่วยตรวจสอบและ ทวนสอบความใช้ได้ของ ก๊าซเรือนกระจก หรือผู้ทวน สอบ อีกท้ังยังได้ขอทําาความ ตกลงเพ่ือการยอมรับร่วม ในผลการรับรองระบบงาน กับองค์การภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิกว่าด้วยการรับรอง ระบบงาน (APAC) และ องค์การระหว่างประเทศ ว่าด้วยการรับรองระบบ งาน (IAF) ในสาขาหน่วย ตรวจสอบความใช้ได้และ ทวนสอบก๊าซเรือนกระจก
ขณะนี้อยู่ระหว่างรอลงนาม MRA ผลที่ได้จากการ ดําาเนินงานตามข้างต้น ทําาให้รายงานผลการตรวจ สอบความใช้ได้และทวนสอบก๊าซเรือนกระจก หรือ รายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกท่ี ออกโดยหน่วยทวนสอบของไทยภายใต้การรับรอง ระบบงานจาก สมอ. เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้ประกอบการไทยที่ ต้องใช้ผู้ทวนสอบของต่างประเทศซ่ึงมีค่าใช้จ่าย สูงและอําานวยความสะดวกทางการค้าให้กับผู้ ประกอบการไทยที่ส่งออกไป EU หรือประเทศ คู่ค้าที่เป็นสมาชิก IAF
ขอบคณุ ทา่ นเลขาธกิ าร สมอ. นายบรรจง สกุ รฑี า ที่กรุณาให้สัมภาษณ์พิเศษแก่ FTI E-Journal@ Chonburi ในครั้งนี้
Editor: ผศ.ดร.จิราพร ระโหฐาน
Industrial perspective ป้ัน ปรุง เปลี่ยน
เอสเอ็มอีให้ดีพร้อม (DIProm)
DIProm ซึ่งย่อมาจาก Department of Industrial Promotion หรือชื่อภาษาอังกฤษของกรม ส่งเสริมอุตสาหกรรมน่ันเอง สามารถอ่านออกเสียงได้ว่า “ดีพร้อม” (DIProm) เป็นชื่อย่อ ผนวกกับนโยบายที่กรมต้องเร่งดําาเนินการ จึงเป็นท่ีมาของนโยบายการดําาเนินงานปี 2565 ที่ชื่อว่า “ปั้น ปรุง เปลี่ยน เอสเอ็มอีให้ดีพร้อม (DIProm)” หรือ เอสเอ็มอีดิสรับเตอร์ (SMEs Disrupter) พัฒนาศักยภาพเอสเอ็มอี วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการบุคลากรในภาค อุตสาหกรรมและผู้ให้บริการธุรกิจอุตสาหกรรม เกิดการปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม อย่างทันท่วงที และขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจในแต่ละภูมิภาคได้อย่างเต็มศักยภาพ
โดยเร่ิมจากการ “ปั้น” ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ใน 3 มิติ คือ
มิติท่ี 1 ป้ันเอสเอ็มอีเกษตรอุตสาหกรรม โดย พัฒนาจากเกษตรดั้งเดิมไปสู่เกษตรสมัยใหม่ ที่ ใช้การบริหารจัดการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
เพื่อเปลี่ยนเกษตรกรให้เป็น นักธุรกิจเกษตร โดยนําาระบบ การผลิตและบริหารจัดการ ในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มาประยุกต์ใช้ในธุรกิจเกษตร และนําานวัตกรรม เทคโนโลยี ดิจิทัล มาสร้างมูลค่าเพ่ิมให้ กับผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป นอกจากนี้ ยังรวมถึงการป้ัน ธุรกิจเอสเอ็มอีด้วยเครื่องจักร กลการเกษตรที่ยังขาดแคลน ตลอดจนการปั้นเอสเอ็มอีผู้ให้ บริการเครื่องจักรกลทางการ เกษตร การส่งเสริมการพัฒนา สินค้าเกษตรแปรรูปผ่านศูนย์
ปฏิรูปอุตสาหกรรม 4.0 (ITC 4.0) ในทุกภูมิภาค ซึ่งจะช่วยเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลผลิต เพิ่ม produc- tivity ในการปรับปรุงกระบวนการผลิต และยก ระดับเกษตรกรให้เป็น agro genius
มิติที่ 2 ป้ันเอสเอ็มอีให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยการขับเคล่ือนเศรษฐกิจยุคใหม่บนพื้นฐาน ของการใช้องค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และ ทรัพย์สินทางปัญญา เชื่อมโยงกับทุนทางวัฒนธรรม เทคโนโลยี และนวัตกรรมสมัยใหม่ จนเกิดเป็น อัตลักษณ์และมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ของชุมชน เน้นความโดดเด่นของสินค้าและบริการท่ีส่งเสริม การท่องเท่ียว รองรับ creative economy และ แนวคิด BCG economy ท่ีเน้นระบบเศรษฐกิจ หมุนเวียน CE (CIRCULAR ECONOMY)
มิติที่ 3 ปั้นเอสเอ็มอีให้มีประสิทธิภาพ ผ่านการ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอัจฉริยะ โดยจะส่งเสริมให้ผู้ ประกอบการใช้ซอฟต์แวร์และแอพพลิเคช่ัน นําา ดิจิทัลไปปรับปรุงกระบวนการในการทําาธุรกิจ (Business Software & Application) และการ เข้าสู่ตลาดออนไลน์ด้วย Digital Marketing ซ่ึงใน ขณะเดียวกัน จะเป็นการช่วยส่งเสริมผู้ผลิตแอพพลิ เคชั่น หรือสตาร์ตอัพที่มีศักยภาพไปพร้อมๆ กัน แนวทางตอ่ มา คอื “ปรงุ ” ระบบนเิ วศในการสนบั สนนุ เอสเอ็มอี ด้วยการบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยเฉพาะสภา อุตสาหกรรม สภาหอการค้า สมาพันธ์เอสเอ็มอี สภาเกษตรกร และผู้นําาพื้นที่ต่างๆ เพ่ือช่วยกันปรุง มาตรการส่งเสริมอุตสาหกรรมสู่ภูมิภาค ตอบสนอง ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และแก้ปัญหา ของผู้ประกอบการได้อย่างตรงประเด็น โดยเน้น จุดแข็งของกรม คือ เครือข่ายผู้ประกอบการท่ีมี ความหลากหลายในทุกประเภทธุรกิจ ทุกพื้นที่ และทุกระดับ จึงเปรียบเสมือนการนําาข้อดีของ แต่ละหน่วยงานมาปรุงเป็นสูตรเด็ด ที่จะช่วยให้ ธุรกิจของเอสเอ็มอีมีความกลมกล่อมยิ่งขึ้นโดยศูนย์ ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 9 ได้ปรุงการทําางาน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ในการทําางานร่วมกัน การ พัฒนาผ่าน คพอ. NEC คลัสเตอร์ต่างๆ เช่น การ สร้างเครือข่ายคลัสเตอร์ผลไม้ภาคตะวันออก โดย มีทีมท่ีปรึกษาเข้าไปช่วยเหลือ ไปช่วยทําางานท้ังใน ส่วนคลัตเตอร์สมุนไพร คลัสเตอร์ดิจิทัล คลัสเตอร์
โลจิสติกส์ โดยเช่ือมโยงคลัสเตอร์ ให้ครบท้ัง
ต้นน้ําา กลางน้ําา และปลายน้ําา และแนวทางสุดท้าย คือ “เปลี่ยน” วิธีทําางานเพ่ือพัฒนาเอสเอ็มอีในทุกๆ อุตสาหกรรม โดยกรมจะเปล่ียนตัวเองโดยการปรับ โครงสร้างหน่วยงานภายใน และเปลี่ยนบทบาท ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคเป็นทีมที่ดีพร้อม ให้
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทําางานและการให้ บริการเอสเอ็มอีให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มขึ้น มุ่งเน้นการส่งเสริมเกษตรอุตสาหกรรมควบคู่ กับการพัฒนาด้านอื่นๆ อย่างเต็มประสิทธิภาพ รวม ถึงเปล่ียนวิธีการทําางานให้สามารถส่งเสริมและพัฒนา SMEs ให้เข้าถึงบริการของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้สะดวกรวดเร็วข้ึน ผ่านแพลตฟอร์มต่างๆ เช่น I-in- dustry BigData ของกระทรวงอุตสาหกรรม ให้สอด รับกับนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงอุตสาหกรรม ท่ีได้ปรับระบบการให้บริการในรูปแบบดิจิทัลเซอร์วิส นโยบาย “ปั้น ปรุง เปลี่ยน เอสเอ็มอีให้ดีพร้อม” นั้น มีใจความสําาคัญ คือ การปรับกลไกการดําาเนิน งานและบูรณาการความร่วมมือกันทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อร่วมพัฒนา ศักยภาพของผู้ประกอบการในทุกจังหวัด ทุกพ้ืนที่ ทุกชุมชน อันเป็นการสร้างเสริมเศรษฐกิจให้แข็งแรง จากฐานรากอย่างยั่งยืนและมั่นคง โดยกรมส่งเสริม อุตสาหกรรมเช่ือว่าผู้ประกอบการทุกรายล้วนมี “ดี” อยู่แล้วทั้งสิ้น และกรมของเราก็พร้อมที่จะปั้น ปรุง และเปล่ียนทุกท่านให้ไม่ใช่แค่ “ดี” แต่ต้อง “ดีพร้อม” ไปด้วยกัน
Editor: คุณณัฏฐ์ธน สาตรจีนพงษ์
Member visit
บริษัท สยาม ดี.เค.เอ็นจิเนียริ่ง จําากัด ก่อตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2547 เริ่มต้นจากการดําาเนิน ธุรกิจโรงกลึงขนาดเล็ก มีพนักงานเพียงไม่ก่ีคน ต่อมา ทางบริษัทของเราเล็งเห็นว่ามีโอกาสท่ีจะขยายกิจการ ประกอบกับสถานที่ต้ังของบริษัทอยู่ในจังหวัดชลบุรี ซึ่งมีนิคมอุตสาหกรรมอยู่หลายแห่ง และเป็นศูนย์กลาง ของการคมนาคมขนส่ง จึงน่าจะเป็นปัจจัยหลักท่ีทําาให้ ประสบความสําาเร็จในการทําาธุรกิจได้เป็นอย่างดี วัตถุประสงค์เพื่อดําาเนินงาน การผลิต รับกลึงงาน ตามแบบ กลึงโลหะทุกชนิด Design และผลิต Jig & Fixture เพื่อให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจในรูปลักษณ์ และคุณภาพของงานตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการด้วย ทีมงานคุณภาพที่มีประสบการณ์ทางด้านนี้มากกว่า 15 ปี บริษัทของเราได้รับการสนับสนุนและไว้วางใจ จากลูกค้าให้เติบโตขึ้นมาอย่างน่าภาคภูมิใจในด้านงาน Design และผลิต Die, Jig & Fixture, Automation
จากประสบการณ์และการบริหารจัดการบริษัทจึง ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ (Quality Manage- ment System-QMS) ISO 9001:2015 และ ISO 14001:2015 จาก URS
วิสัยทัศน์ของบริษัทเราจะก้าวสู่ความเป็นเลิศของ องค์กรไทยด้านผู้นําาการออกแบบ ผลิตเครื่องมือ และ เครื่องจักร โดยนําาเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาประยุกต์
ใช้ในธุรกิจให้มีมูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง ภายฺใต้ Brand สินค้าของเราเอง ภายใน 5 ปี ตอบสนองความต้องการ ลูกค้าด้วยมาตรฐานระดับสากล ภายใต้ระบบบริหาร จัดการคุณภาพ พร้อมเป็นต้นแบบในการสร้างคนที่มี คุณค่าแก่สังคมไทย และพร้อมก้าวต่อไปอย่างมั่นคง และย่ังยืน
สําาหรับหลักการบริษัท บริษัทของเราให้ความสําาคัญ กับบุคลากร การบริหารงานอย่างมีคุณภาพและให้ บุคลากรทั่วทุกส่วนมีส่วนร่วม ด่ังคําาท่ีว่า “บุคลากร เป็นบุคคลสําาคัญที่สุด” บริษัทเชื่อมั่นในคุณค่าของ บุคคลในองค์กรทุกระดับช้ัน จึงสนับสนุนและพัฒนา ความรู้ ความสามารถและจิตสําานึกให้เป็นบุคลากร อย่างมืออาชีพ
ด้านการบริหารงานและการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ บริษัทได้มีการปรับปรุง พัฒนา และต่อยอดให้มีระบบ การจัดการท่ีดี และมีความทันสมัยอย่างต่อเนื่อง สร้าง ความผูกพันธ์ท่ีแข็งแกร่งให้แก่สินค้าและบริการเพื่อ สนับสนุนธุรกิจให้มีความม่ันคงและยั่งยืนด้วยนวัตกรรม คุณภาพระดับมาตรฐานสากลท่ีลูกค้าสัมผัสได้ สร้าง ความภาคภูมิใจด้วยการเป็นองค์กรสถาบันที่มีจิตสําานึก ในการรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม พัฒนา ธุรกิจบนหลักบริษัทบริบาล
Editor: คุณบุษกร ชีวะธรรมานนท์
บริษัท สยาม ดี.เค. เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
SIAM D.K. ENGINEERING CO.,LTD.
เรามุ่งมั่นพัฒนาผลิตสินค้าที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ส่งมอบสินค้าตรงเวลา เพื่อสร้าง ความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าสูงสุด โดยเรามีการรับรองโดยระบบมาตรฐานบริหารงาน คุณภาพระดับสากล และระบบมาตรฐานสากลสําาหรับระบบการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมขององค์กร (ISO 9001 : 2015 / ISO 14001 : 2015) ด้วยทีมงาน คุณภาพและประสบการณ์มากกว่า 15 ปี เพื่อพัฒนาและผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ เพื่อตอบรับความต้องการของลูกค้าทุกท่าน
- รับผลิตและออกแบบ Jig & Fixture ทุกประเภท รวมไปถึงงาน Automation & Solution ผลิตเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์จับยึดในโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท
- งานเชื่อม งานโครงสร้าง งานในสายงานอุตสาหกรรมต่างๆ
- ผลิตแม่พิมพ์และงาน Stamping, Punch & Die
- รับผลิตงาน Press Part / Welding Part / Machine Part รวมไปถึงงาน Finish goods รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ (Reward)
- รางวัลอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมดีเด่น
ประจําาปี 2563 ประเภทการจัดการเทคโนโลยีเชิงนวัตกรรม
- รางวัลวิสาหกิจต้นแบบดีเด่น (ระดับทอง)
- รางวัลองค์กรแห่งความสุข ในงาน Happy Workplace
Centre ระดับประเทศ
- รางวัลองค์กรแห่งความสุข ในงาน Happy Workplace
Centre ระดับภาคตะวันออก
ช่องทางการติดต่อ
15/18 ม.1 ต.หนองซ้ําาซาก อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี 20170
Tel: 038-161 072-4 Fax: 038-161 072 #107
E-mail: [email protected] , [email protected] , [email protected] Web site: www.siamdk.co.th Line Account: @siamdk
FTI Expo 2022
FTI EXPO 2022 : Northern Chapter
เพื่อขานรับนโยบายของรัฐบาลในการเปิดประเทศ และสอดคล้อง กับการขับเคลื่อนเพื่อความย่ังยืนในระดับสากล
FTI Expo 2022 เป็นการนําาเสนอศักยภาพของอุตสาหกรรม เพ่ือจุดประกายการเปล่ียนแปลง ครั้งใหญ่ของวงการอุตสาหกรรมไทย ประกอบด้วย งานแสดงสินค้า การประชุมสัมมนา และการ เจรจาธรุ กจิ จดั งานเปน็ เวลา 5 วนั ตง้ั แตว่ นั ท่ี 2-6 กมุ ภาพนั ธ์ 2022 บนพน้ื ทก่ี วา่ 30,000 ตารางเมตร ของศนู ยป์ ระชมุ และแสดงสนิ คา้ นานานาชาติ เชยี งใหม่ ครอบคลมุ 11 คลสั เตอรธ์ รุ กจิ ผปู้ ระกอบการ มากกว่า 700 ราย จากทั่วประเทศ หน่วยงานพันธมิตร และสถาบันการศึกษาเข้าร่วมกว่า 20 แห่ง FTI Expo สนับสนุนแนวคิดเน้นการทําางานกับภูมิภาค และ SMEs ในพื้นท่ี
FTI Expo 2022
สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี
ที่อยู่ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9 ชั้น 6 ถนนสุขุมวิท ตําาบลเสม็ด อําาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000
โทรศัพท์/ โทรสาร : 038-288507 มือถือ : 098-8307658 , 081-0026776 วันทําาการ : จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30 น.
E-mail : [email protected]
Website : www.ftichonburi.org