The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chaiya District Public Library, 2021-03-15 00:38:40

วันปิยมหาราช

วันปิยมหาราช

วนั ปิยมหาราช

๒๓ ตุลาคม ๒๕๖๓

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอไชยา

ประวตั ิวนั ปิ ยมหาราช

เม่ือวนั ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ไดเ้ กิดเหตุการณท์ ่สี รา้ ง
ความเศรา้ โศกใหก้ บั ประเทศไทยครงั้ ใหญ่หลวง เม่ือพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี 5 ทงพระประชวรและเสด็จ
สวรรคต ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน พระราชวงั ดุสิต เนื่องด้วย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงเป็ นกษตั ริย์ที่เป็ นท่ี
เคารพรกั ของทวยราษฎร์ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอเนกประการ
ทงั้ ในการปกครองบา้ นเมืองและพระราชทานความรม่ เย็นเป็ นสุขแก่
ชนทกุ หมเู่ หลา่

ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ 6 ทางราชการไดป้ ระกาศใหว้ นั ท่ี 23 ตุลาคม
ซง่ึ เป็ นวนั สวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั เป็ น
วนั ทร่ี ะลกึ สาคญั ของชาตเิ รยี กวา่ "วนั ปิยมหาราช" และกาหนดใหเ้ ป็ น
วนั หยุดราชการ

ห้องสมุดประชาชนอาเภอไชยา

เ จ้า ห น้า ที่ ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ซึ่ ง ต่ อ ม า เ ป็ น
"กรุงเทพมหานคร" ร่วมดว้ ยกระทรวงวงั ซ่ึงต่อมาเป็ น "สานัก
พระราชวงั " ไดจ้ ดั ตกแตง่ พระบรมราชานุสาวรีย์ ตงั้ ราชวตั ฉิ ตั ร 5 ชน้ั
ประดบั โคมไฟ ทอดเครื่องราชสกั การะท่ีหนา้ พระบรมราชานุสาวรีย์
ตง้ั แตน่ น้ั มาจนถึงปัจจบุ นั

พระราชพิธีทรงบาเพ็ญพระราชกุศล วนั ปิยมหาราช ครงั้ แรก
เกิดข้ึนถดั จากปี ท่ีไดถ้ วายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั
ทรงบาเพ็ญพระราชกุศลทกั ษิณานุปทานถวายแลว้ เสด็จฯ ไปวางพวง
มาลา ทรงจดุ ธูปเทยี นเครอ่ื งราชสกั การะท่พี ระบรมราชานุสาวรยี ์

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

พระราชประวตั ิ

พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มีพระนามเดมิ วา่
สมเด็จเจา้ ฟ้ าจุฬาลงกรณ์ พระบรมราชสมภพเมื่อวนั ที่ 20 กนั ยายน
พ.ศ. 2396 เป็ นพระราชโอรสองคท์ ่ี 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอม
เกลา้ เจา้ อยู่หัว และพระนางเจา้ ฟ้ าราเพยภมราภิรมย์ (สมเด็จ
พระเทพศิรินทราพระบรมราชินี) เมื่อพระชนมายุได้ 9 พรรษา ทรง
ไดร้ บั สถาปนาข้ึนเป็ น "กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสงั กาศ" ต่อมาเมื่อ
พระชนมายไุ ด้ 13 พรรษา ทรงไดร้ บั สถาปนาข้นึ เป็น

ห้องสมุดประชาชนอาเภอไชยา

"กรมขุนพินิตประชานาถ“ จากนั้นได้ข้ึนครองราชย์เม่ือวันท่ี
1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 และบรมราชาภิเษกคร้ังแรกเม่ือวนั ท่ี
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 ทรงพระนามว่า "พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ์ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ”

เนื่องจากขณะนนั้ มีพระชนั ษาเพียง 16 ปี ยงั ไม่ทรงบรรลุ
นิติภาวะ สมเด็จพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) จึงเป็ น
ผู้สาเร็จราชการแผ่นดิน และสถาปนากรมหม่ืนบวรวิชัยชาญ
พระโอรสองค์ใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระป่ิ นเกลา้ เจา้ อยู่หวั เป็ น
กรมพระราชวงั บวรวชิ ยั ชาญพระมหาอปุ ราช

ระหวา่ งท่ีสมเด็จพระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ์ เป็ นผูส้ าเร็จ
ราชการอยูน่ น้ั สมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงใชเ้ วลาศึกษาเลา่
เรียนศิลปวิทยาเป็ นอนั มาก เชน่ โบราณราชประเพณี รฐั ประศาสน์
โบราณคดี ภาษาบาลี ภาษาอังกฤษ วิชาปื นไฟ วิชามวยปล้า
วชิ ากระบ่ีกระบอง และวชิ าวศิ วกรรม

ห้องสมุดประชาชนอาเภอไชยา

ในตอนน้ียังไดเ้ สด็จประพาสสิงคโปร์และชวา 2 ครั้ง
เสด็จประพาสอินเดีย 1 ครง้ั การเสด็จประพาสน้ีมิใชเ่ พ่ือสาราญพระ
ราชหฤทยั แต่เพ่ือทอดพระเนตรแบบแผนการปกครองท่ีชาวยุโรป
นามาใชป้ กครองเมืองข้ึนของตน เพ่ือจะไดน้ ามาแกไ้ ขการปกครอง
ของไทยใหเ้ หมาะสมแก่สมยั ยิ่งข้ึน ตลอดจนการแต่งตวั การตดั ผม
การเขา้ เฝ้ าฯ ในพระราชฐานก็ใชย้ ืน และน่ังตามโอกาสสมควร
ไมจ่ าเป็นตอ้ งหมอบคลานเหมือนแตก่ อ่ น

เม่ือพระชนมพรรษาบรรลุพระราชนิติภาวะ ไดผ้ นวชเป็ นเวลา
2 สปั ดาห์ แลว้ จึงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็ นครง้ั ที่ 2
เม่ือวนั ท่ี 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 และนบั จากนนั้ มาก็ทรงมี
พระราชอานาจเด็ดขาดในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอไชยา

ตลอดระยะเวลาทที่ รงครองสริ ริ าชสมบตั ิ ทรงปกครองทานุ
บารุงพระราชอาณาจกั รใหม้ ง่ั คงั่ สมบูรณ์ ดวั ยรฐั สมบตั ิ พิทกั ษพ์ สก
นิกรใหอ้ ยู่เย็นเป็ นสุข บาบดั ภยั อนั ตรายทงั้ ภายในภายนอกประเทศ
ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจต่าง ๆ อนั ก่อใหเ้ กิดคุณประโยชน์แก่
ประเทศชาติ ใหร้ อดพน้ จากวกิ ฤตการณ์ และสามารถธารงเอกราชไว้
ตราบจนทกุ วนั น้ี

พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล ้า เ จ ้า อ ยู่ ห ัว ส ว ร ร ค ต
เมื่อวนั ท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 รวมพระชนมพรรษา 58 พรรษา
ครองราชสมบตั มิ านานถึง 42 ปี

ห้องสมุดประชาชนอาเภอไชยา

พระราชกรณยี กจิ

1. การเลกิ ทาส

ออกพระราชบัญญัติเลิกทาสท่ีแท้จริงข้ึน เรียกว่า
“พระราชบญั ญตั ิทาส ร.ศ.124” (พ.ศ.2448) เลิกเร่ืองลูกทาสใน
เรือนเบ้ียอย่างเด็ดขาด เด็กท่ีเกิดจากทาส ไม่เป็ นทาสอีกต่อไป
การซ้อื ขายทาสเป็นโทษทางอาญา สว่ นผูท้ เ่ี ป็นทาสอยูแ่ ลว้ ใหน้ ายเงิน
ลดคา่ ตวั ใหเ้ ดอื นละ 4 บาท จนกวา่ จะหมด

2. การปฏริ ปู ระเบยี บบรหิ ารราชการ

ไดท้ รงปรบั ปรุงหนา้ ท่ขี องกรมตา่ ง ๆ ทม่ี ีอยูแ่ ตเ่ ดมิ ใหเ้ ป็ น
ระเบียบเรยี บรอ้ ยโดยรวมกรมตา่ ง ๆ ทมี่ ีอยูม่ ากมายเวลานน้ั เขา้ เป็ น
กระทรวง กระทรวงหน่ึง ๆ ก็มีหนา้ ท่ีอย่างหน่ึง หรือหลายอย่างพอ
เหมาะสม

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

พระราชกรณยี กจิ

1. การเลกิ ทาส

เป็ นพระราชกรณียกิจอนั สาคญั ยิ่ง ท่ีทาใหพ้ ระองค์ทรง
ไดร้ บั พระสมญั ญาวา่ "สมเด็จพระปิยมหาราช" ดว้ ยพระองคท์ รงเห็น
วา่ มีทาสในแผ่นดินเป็ นจานวนมาก และลูกทาสในเรือนเบ้ียจะสืบตอ่
การเป็ นทาสไปจนรุน่ ลูกรุน่ หลานอย่างไม่มีที่ส้ินสุด ถา้ ไม่มีเงินมาไถ่
ตวั เองแลว้ ตอ้ งเป็นทาสไปตลอดชวี ติ พระองคจ์ งึ ทรงมีพระราชหฤทยั
แน่วแน่วา่ จะตอ้ งเลิกทาสใหส้ าเร็จ แมจ้ ะเป็ นเรื่องยากลาบากเพราะ
ทาสมีมาตง้ั แตส่ มยั โบราณ อีกทง้ั เจา้ นายท่ีเป็ นใหญ่ในสมยั นน้ั มกั มี
ขา้ รบั ใช้ เมื่อไม่มีทาส บุคคลเหล่าน้ีอาจจะไม่พอใจและก่อใหเ้ กิด
ความวุน่ วายข้นึ เหมือนกบั ทเี่ กิดข้นึ ในตา่ งประเทศมาแลว้

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอไชยา

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงตรา
พระราชบัญญัติข้ึน เม่ือวนั ท่ี 21 สิงหาคม พ.ศ. 2417 ใหม้ ีผล
ยอ้ นหลงั ไปถึงปี ท่ีพระองคเ์ สด็จข้ึนเสวยราชสมบตั ิ มีบญั ญตั ิวา่ ลูก
ทาสซง่ึ เกิดเมื่อปีมะโรง พ.ศ. 2411 ใหม้ ีสิทธ์ิไดล้ ดคา่ ตวั ทุกปี และพอ
ครบอายุ 21 ปี ก็ใหข้ าดจากความเป็ นทาสทง้ั ชายและหญิง จากนน้ั ใน
พ.ศ. 2448 จึงไดอ้ อกพระราชบญั ญตั ิเลิกทาสท่ีแทจ้ ริงข้ึน เรียกวา่
"พระราชบญั ญตั ิทาส ร.ศ. 124" (พ.ศ. 2448) เลิกลูกทาสในเรือน
เบ้ียอย่างเด็ดขาด เด็กที่เกิดจากทาส ไม่ตอ้ งเป็ นทาสอีกต่อไป และ
การซ้อื -ขายทาสเป็นโทษทางอาญา สว่ นผูท้ เี่ ป็นทาสอยแู่ ลว้ ใหน้ ายเงิน
ลดคา่ ตวั ใหเ้ ดอื นละ 4 บาท จนกวา่ จะหมด

ดว้ ยพระปรีชาสามารถของพระองคท์ า่ น ในเวลาเพียง 30
ปี เศษ ทาสในเมืองไทยก็หมดไปโดยไม่เกิดการนองเลือดเหมือนกบั
ประเทศอนื่ ๆ

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

2. การปฏริ ปู ระบบราชการ

ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ไดท้ รง
พระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราระเบียบการปกครองข้ึนใหม่ แยก
หน่วยราชการออกเป็ นกรมกองต่าง ๆ มีหนา้ ที่รบั ผิดชอบเฉพาะไม่
ก้าวก่ายกัน จากเดิมมี 6 กระทรวง คือ กระทรวงมหาดไทย,
กระทรวงกลาโหม, กระทรวงนครบาล, กระทรวงวัง,
กระทรวงการคลงั และกระทรวงเกษตราธิการ ไดเ้ พิ่มอกี 4 กระทรวง
รวมเป็ น 10 กระทรวง ไดแ้ ก่ กระทรวงธรรมการ มีหนา้ ท่ีดูแล
เก่ียวกบั กิจการของพระสงฆ์ และการศึกษา, กระทรวงยุติธรรม
มีหนา้ ทด่ี ูแลเก่ียวกบั คดีความท่ีตอ้ งตดั สินตา่ งๆ กระทรวงโยธาธิการ
มีหนา้ ที่ดูแลตรวจตราการก่อสรา้ ง การทาถนน ขุดลอกคูคลอง
งานท่ีเกี่ยวกบั การก่อสรา้ ง และกระทรวงการต่างประเทศ มีหนา้ ท่ี
ดแู ลงานทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การตา่ งประเทศ

ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

3. การศกึ ษา

ทรงโปรดใหจ้ ดั ตง้ั โรงเรียนหลวงข้ึนในพระบรมมหาราชวงั
แลว้ มีหมายประกาศชกั ชวนพระบรมวงศานุวงศแ์ ละขา้ ราชการใหส้ ่ง
บุตรหลานเขา้ เรยี น โรงเรยี นภาษาไทยน้ี

4. การศาล

ทรงตง้ั กระทรวงยุติธรรมข้ึน เพ่ือรวบรวมศาลตา่ งๆ ใหม้ า
ข้นึ อยูใ่ นกระทรวงเดยี วกนั

5. การคมนาคม

ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ยายถนนบารุงเมือง ถนนที่ทรง
สรา้ งใหม่ คือ ถนนเยาวราช ถนนราชดาเนินกลาง ถนนราชดาเนิน
นอก ถนนดนิ สอ ถนนบูรพา ถนนอุณากรรณ เป็นตน้

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

3. การสาธารณปู โภค

การประปา ทรงใหก้ กั เก็บนา้ จากแม่นา้ เชียงรากนอ้ ย
จงั หวดั ปทุมธานี และขุดคลองเพ่ือส่งนา้ เขา้ มายงั สามเสน พรอ้ มทง้ั
ฝั ง ท่ อ เ อ ก ติ ด ต ั้ง อุ ป ก ร ณ์ ส า ห ร ับ ก า ร ท า น ้า ป ร ะ ป า ข้ ึ น ใ น เ ดื อ น
กรกฎาคม พ.ศ. 2452

การคมนาคม วนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ. 2434 พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ไดเ้ สด็จพระราชดาเนินไปขุดดินก่อพระ
ฤกษ์ เพื่อประเดมิ การสรา้ งทางรถไฟไปนครราชสมี า แตท่ รงเปิดทาง
รถไฟกรุงเทพฯ-พระนครศรีอยุธยา ก่อน จงึ นบั วา่ เสน้ ทางรถไฟสาย
น้ีเป็นทางรถไฟแหง่ แรกของไทย

นอกจากน้ีไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งสะพาน และถนนอีก
มากมาย คือ ถนนเยาวราช ถนนราชดาเนินกลาง ถนนราชดาเนิน
นอก ถนนดินสอ ถนนบูรพา ถนนอุณากรรณ เป็ นตน้ และโปรดให้
ขุดคลองต่าง ๆ เพื่อใช้เป็ นแนวทางคมนาคม และส่งเสริม
การเพาะปลกู

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

การสาธารณสุข เน่ืองจากการรกั ษาแบบยากลางบา้ นไม่
สามารถชว่ ยคนไดอ้ ย่างทนั ทว่ งที จึงพระราชทานพระราชทรพั ยส์ ่วน
พระองคจ์ านวน 200 ชงั่ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งโรงพยาบาลวงั หลงั
ต่อมาไดเ้ ปลี่ยนชื่อเป็ น "โรงพยาบาลศิริราช" เปิ ดทาการรกั ษา
ประชาชนเป็นครง้ั แรกเมื่อวนั ท่ี 26 เมษายน พ.ศ. 2431

การไฟฟ้ า พระองคท์ รงมอบหมายใหก้ รมหมื่นไวยวรนาถ
เป็ นแม่งานในการก่อสรา้ งโรงไฟฟ้ า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ า และ
สามารถจา่ ยกระแสไฟฟ้ าใหก้ บั ประชาชนครง้ั แรกเมื่อปี พ.ศ. 2433

การไปรษณยี ์ โปรดใหเ้ รมิ่ จดั ข้ึนในปี พ.ศ. 2424 รวมอยูใ่ น
กรมโทรเลข ซ่ึงไดจ้ ดั ข้ึนตงั้ แต่ พ.ศ. 2412 โดยโทรเลขสายแรกคือ
ระหวา่ งจงั หวดั พระนคร (กรุงเทพมหานคร) กบั จงั หวดั สมุทรปราการ

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอไชยา

4. การเสดจ็ ประพาส

การเสด็จประพาสเป็ นพระราชกรณียกิจที่สาคญั อย่างหนึ่ง
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั โดยหลงั จากเกิดกรณี
พิพาทกบั ฝรง่ั เศสแลว้ ก็ไดเ้ สด็จประพาสยุโรป 2 ครง้ั ในปี พ.ศ.
2440 ครง้ั หนึ่ง และในปี พ.ศ. 2450 อีกครงั้ หน่ึง ทง้ั น้ีเพ่ือเช่ือม
สมั พนั ธไมตรีกบั ประเทศตา่ ง ๆ ในยุโรป ตลอดจนประเทศฝรง่ั เศส
ดว้ ย อีกทง้ั ยงั ไดท้ รงเลือกสรรเอาแบบแผนขนบธรรมเนียมอนั ดีใน
ดนิ แดนเหลา่ นนั้ มาปรบั ปรุงในประเทศใหเ้ จรญิ ข้นึ

ในการเสด็จประพาสครงั้ แรกน้ี ไดท้ รงมีพระราชหตั ถเลขา
ตลอดระยะทางถึงสมเดจ็ พระนางเจา้ เสาวภาผอ่ งศรพี ระบรมราชนิ ีนาถ
(ซึ่งต่อมาไดร้ บั สถาปนาเป็ น สมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชเทว)ี
ผูส้ าเร็จราชการแผน่ ดิน พระราชหตั ถเลขาน้ีตอ่ มาไดร้ วมเป็ นหนงั สือ
เล่มช่ือ "พระราชนิพนธ์เร่ืองไกลบา้ น" ใหค้ วามรูอ้ ย่างมากมาย
เก่ียวกบั สถานทตี่ า่ ง ๆ ทเี่ สดจ็ ฯ

ห้องสมุดประชาชนอาเภอไชยา

สว่ นภายในประเทศ ทรงถือวา่ การเสด็จประพาสในที่ตา่ ง ๆ
เป็ นการตรวจตราสารทุกขส์ ุกดิบของราษฎรไดเ้ ป็ นอย่างดี พระองค์
จงึ ไดท้ รงปลอมแปลงพระองคไ์ ปกบั เจา้ นายและขา้ ราชการ โดยเสด็จ
ฯ ทางเรือมาดแจวไปตามแม่นา้ ลาคลองต่าง ๆ เพ่ือแวะเย่ียมเยียน
ตามบา้ นราษฎร ซ่ึงเรียกกนั วา่ "ประพาสตน้ " ซ่ึงไดเ้ สด็จฯ 2 ครงั้
คอื ในปี พ.ศ. 2447 และในปี พ.ศ. 2449 อกี ครงั้ หนึ่ง

5. การศกึ ษา

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเห็น
ความสาคญั ของการศึกษา จึงโปรดใหส้ รา้ งโรงเรียนหลวงข้ึนใน
พระบรมมหาราชวงั คือ "โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก" ก่อนจะ
เปล่ียนชื่อเป็ น "โรงเรียนพระตาหนกั สวนกุหลาบ" ตอ่ มาโปรดใหต้ งั้
โรงเรียนหลวงสาหรบั ราษฎรข้ึนเป็ นแห่งแรก คือ "โรงเรียนวดั มหร
รณพาราม" และในทส่ี ุดไดโ้ ปรดใหจ้ ดั ตงั้ กระทรวงธรรมการข้ึน เม่ือปี
พ.ศ. 2435 (ปัจจุบันคือกระทรวงศึกษาธิการ) เพ่ือดูแลเรื่อง
การศกึ ษาและการศาสนา

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

6. การปกป้ องประเทศจากการสงครามและเสยี ดนิ แดน

เน่ืองจากลทั ธิจกั รวรรดนิ ิยมไดแ้ ผอ่ ทิ ธิพลเขา้ มาตงั้ แตป่ ลาย
รชั กาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั พระบาทสมเด็จพระ
จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทรงใชพ้ ระปรีชาสามารถอยา่ งสุดพระกาลงั ทจี่ ะ
รกั ษาประเทศชาติใหร้ อดพน้ จากวกิ ฤตการณ์ ถึงแมว้ า่ จะตอ้ งสูญเสีย
ดนิ แดนบางสว่ นไปก็ตาม โดยดนิ แดนทตี่ อ้ งเสยี ใหก้ บั ตา่ งชาติ ไดแ้ ก่

พ.ศ. 2431 เสยี ดนิ แดนในแควน้ สบิ สองจไุ ทย
พ.ศ. 2436 เสียดินแดนฝ่ังซา้ ยของแม่นา้ โขงใหฝ้ รงั่ เศส
และฝรง่ั เศสยดึ เมืองจนั ทบุรไี ว้
พ.ศ. 2447 เสียดินแดนฝ่ังขวาของแม่นา้ โขงใหฝ้ รงั่ เศส
เพื่อแลกกบั เมืองจนั ทบุรี แตฝ่ รง่ั เศสไดย้ ึดตราดไวแ้ ทน
พ.ศ. 2449 เสียดินแดนท่ีเมืองพระตะบอง เสียมราฐ และ
ศรโี สภณ ใหฝ้ รง่ั เศส เพื่อแลกกบั ตราด และเกาะทง้ั หลาย แตก่ ารเสยี
ดนิ แดนครง้ั สุดทา้ ยน้ีไทยก็ไดป้ ระโยชนอ์ ยูบ่ า้ ง คอื ฝรงั่ เศสยอมยกเลกิ
สิทธิสภาพนอกอาณาเขต ยอมใหศ้ าลไทยมีสิทธิ์ที่จะชาระคดีใดๆ ที่
เกิดข้นึ แกช่ าวฝรง่ั เศส ไมต่ อ้ งไปข้ึนศาลกงสุลเหมือนแตก่ อ่ น

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอไชยา

พ.ศ. 2449 เสียดินแดนท่ีเมืองพระตะบอง เสียมราฐ และ
ศรโี สภณ ใหฝ้ รงั่ เศส เพ่ือแลกกบั ตราด และเกาะทง้ั หลาย แตก่ ารเสีย
ดนิ แดนครงั้ สุดทา้ ยน้ีไทยก็ไดป้ ระโยชนอ์ ยูบ่ า้ ง คอื ฝรงั่ เศสยอมยกเลิก
สิทธิสภาพนอกอาณาเขต ยอมใหศ้ าลไทยมีสิทธิ์ท่ีจะชาระคดีใดๆ
ทเี่ กิดข้ึนแกช่ าวฝรงั่ เศส ไมต่ อ้ งไปข้ึนศาลกงสุลเหมือนแตก่ อ่ น

ส่วนทางดา้ นองั กฤษ ประเทศไทยไดเ้ ปิ ดการเจรจากับ
รฐั บาลองั กฤษ รวมถึงเร่ืองสิทธิสภาพนอกอาณาเขตดว้ ย ใน พ.ศ.
2454 องั กฤษจงึ ยอมตกลงใหช้ าวองั กฤษ หรือคนในบงั คบั องั กฤษมา
ข้ึนศาลไทย และยอมใหไ้ ทยกูเ้ งินจากองั กฤษ เพ่ือนามาใชส้ รา้ งทาง
รถไฟสายใตจ้ ากกรุงเทพฯ ถึงสิงคโปร์ เพ่ือตอบแทนประโยชน์ท่ี
องั กฤษเอ้ือเฟ้ื อ ทางฝ่ ายไทยยอมยกรฐั กลนั ตนั ตรงั กานูและไทยบุรี
ใหแ้ กส่ หรฐั มลายูขององั กฤษ

ห้องสมุดประชาชนอาเภอไชยา

พระบรมรปู ทรงมา้

ด ้ว ย พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ
จุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั พระบรมวงศานุวงศ์ ขา้ ราชการ พ่อคา้ คหบดี
ปวงชนชาวไทยทุกหมูเ่ หลา่ ผูส้ านึกในพระมหากรุณาธคิ ณุ ไดร้ ว่ มใจกนั
รวบรวมเงินจดั สรา้ งอนุสาวรียถ์ วายเพ่ือเป็ นสญั ลกั ษณแ์ หง่ พระเกียรติ
คุณของพระบาทสมเด็จพระปิ ยมหาราช ผูท้ รงสรา้ งพระที่นง่ั อนนั ต
สมาคม และเน่ืองในมหามงคลสมยั ทท่ี รงครองราชยน์ านถึง 40 ปี

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอไชยา

พระบรมรูปทรงม้าน้ี หล่อด้วยโลหะชนิดทองบรอนซ์
พระองคใ์ หญก่ วา่ ขนาดจริงเล็กนอ้ ย ประดิษฐานบนแทน่ หินออ่ นอนั เป็ น
แทน่ รองสูงประมาณ 6 เมตร กวา้ ง 2 เมตรครึ่ง ยาว 5 เมตร หา่ งจาก
ฐานของแท่นออกมามีร้วั เต้ียๆ ลักษณะเป็ นสายโซ่ขึงระหว่างเสา
ลอ้ มรอบกวา้ ง 9 ม. ยาว 11 ม. ที่แทน่ ดา้ นหนา้ มีคาจารึกบนแผน่ โลหะ
ติดประดบั สรรเสริญวา่ "คาจารึกฐานองคพ์ ระบรมรูปทรงมา้ ศุภมสั ดุ
พระพุทธศาสนากาลลว่ งแลว้ 2451 พรรษา จาเดิมแตพ่ ระมหาจกั รบี รม
ราชวงศ์ ไดป้ ระดิษฐาน แลดารงกรุงเทพมหานคร อมรรตั นโกสินทร์
มหนิ ทราอยุธยาเป็ นปีท่ี 127 โดยนิยม"

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอไชยา

สาหรบั รูปแบบของพระบรมราชานุสาวรีย์ ไดจ้ า้ งชา่ งหล่อ
ชาวฝร่ังเศส แห่งบริษัท ซูซ เซอร์เฟรส ฟองเดอร์ เป็ นผู้หล่อ
ณ กรุงปารีส เลียนแบบพระบรมรูปทรงมา้ ของพระเจา้ หลุยสท์ ่ี 14
ทปี่ ระดษิ ฐานอยูห่ นา้ พระราชวงั แวรซ์ ายสใ์ นประเทศฝรงั่ เศส เมื่อคราว
ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปิยมหาราช รชั กาลท่ี 5 เสด็จประพาสยุโรปครง้ั
ที่ 2 ในปี พ.ศ. 2450 พระองคไ์ ดเ้ สด็จฯ ประทบั ใหช้ ่างป้ันพระบรม
รูป เมื่อวนั ที่ 22 สิงหาคม ศกนน้ั พระบรมรูปเสร็จเรียบรอ้ ย และสง่
เขา้ มายงั กรุงรตั นโกสนิ ทรใ์ นทางเรอื

เมื่อ พ.ศ. 2451 โปรดใหป้ ระดิษฐานไว้ ณ พระลานหนา้
พระราชวงั ดุสิต ระหวา่ งพระราชวงั สวนอมั พรกบั สนามเสือป่ า ทางทิศ
ตะวนั ออกของพระที่นงั่ อนนั ตสมาคม ทรงประกอบพระราชพิธีเปิ ด
พระบรมรูปน้ีในวนั ท่ี 11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2451 ตรงกบั วนั พระราช
พิธรี ชั มงั คลาภิเษกครองราชสมบตั ิได้ 40 ปี

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอไชยา

เจา้ พนกั งานไดอ้ ญั เชิญพระบรมรูปทรงมา้ ข้ึนประดิษฐาน
บนแทน่ รองท่ีหนา้ พระลานพระราชวงั ดุสิต ที่ประจกั ษอ์ ยูใ่ นปัจจุบนั น้ี
โดยพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสุนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎ
เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ขณะดารงพระราชอสิ รยิ ยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิ
ราช เจา้ ฟ้ ามหาวชริ าวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงอา่ นคาถวายพระพร
ชยั มงคล เสร็จแลว้ จึงนอ้ มเกลา้ ฯ ถวายพระบรมรูปทรงมา้ กราบ
บงั คมทลู อญั เชญิ ใหพ้ ระบาทสมเด็จพระปิยมหาราช พระราชบิดา ทรง
เปิ ดผา้ คลุมพระบรมราชานุสาวรียเ์ ป็ นปฐมฤกษ์ เพื่อประกาศเกียรติ
คณุ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ์ พระจลุ จอมเกลา้
เจา้ อยูห่ วั รชั กาลที่ 5 ใหส้ ถิตสถาพรปรากฏสบื ไปชว่ั กาลนาน

ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

การสกั การะบชู า ร.5

เครอื่ งสกั การะ

– นา้ มะพรา้ วออ่ น
– กลว้ ยนา้ วา้
– ทองหยบิ
– ทองหยอด
– บรน่ั ดี
– ซกิ าร์
– ขา้ วคลุกกะปิ
– ดอกกุหลาบสชี มพู

ห้องสมุดประชาชนอาเภอไชยา

การสกั การะบชู า ร.5

พระคาถาบชู าดวงวิญญาณเสดจ็ พอ่ รชั กาลท่ี 5

สาหรบั ผูบ้ ูชาครง้ั แรกใหจ้ ดุ ธูป 16 ดอก สว่ นครง้ั ตอ่ ไปจดุ 9
ดอก วา่ คาถาดงั น้ี

"นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ (3 จบ)
พระสะยามะมนิ โท วะโร อติ ิ พุทธะสงั มิ อติ ิ อะระหงั สะหสั สะกายงั วะรงั

พุทโธ นะโม พุทธายะ ปิยะ มะมะ นะโม พุทธายะ" (กลา่ ว 3 ครง้ั )

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอไชยา

กจิ กรรมในวนั ปิ ยมหาราช

วนั ปิ ยมหาราช ในวนั ท่ี 23 ตุลาคม ของทุกปี หน่วยงาน
ต่างๆ จะมาวางพวงมาลาดอกไมส้ กั การะ และถวายบงั คมท่ีพระบรม
รูปทรงมา้ พรอ้ มดว้ ยการจดั นิทรรศการเผยแพร่พระราชประวตั ิ และ
พระราชกรณียกิจ เพื่อเป็ นการราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของ
พร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุล จ อ ม เ ก ล้าเ จ้า อยู่หัว ( รัช ก า ล ที่ 5 )
ในวนั ปิยมหาราชของทกุ ๆปี

ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

บรรณานุกรม

Kapook. (2563). วนั ปิ ยมหาราช 23 ตลุ าคม ประวตั ิวนั ปิ ยมหาราช.
สบื คน้ เมื่อ 14 ตลุ าคม 2563 จาก https://hilight.kapook.com
/view/29980

Sanook. (2563). วนั ปิ ยมหาราช. สบื คน้ เมื่อ 14 ตุลาคม 2563 จาก
http://event.sanook.com/day/piyamaharat/

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา

๒๓ ตุลาคม ๒๕๖๓

วันปยิ มหาราช

เป็นวนั คล้ายวนั สวรรคตของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั
ผทู้ รงเปน็ พระมหากษตั ริย์ทเ่ี คารพรกั ของทวยราษฎร์

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอไชยา


Click to View FlipBook Version