รายงานผลการดำเนินงาน
โครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสังคม
รายตำบลแบบบรู ณาการ
จงั หวดั ศรสี ะเกษ
สารบัญ
บทสรปุ ผู้บริหาร 1
บทนำ 2
1) รายงานสรุปตัวช้ีวดั การดำเนนิ งานระดบั ตำบลและระดับสถาบันอดุ มศึกษา 4
ของโครงการฯ ในระดับจังหวดั ศรีสะเกษ
2) สรุป TPMAP กอ่ นและหลงั โครงการ 7
3) การสงั เคราะหอ์ งค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพอ่ื เปน็ 8
ขอ้ เสนอจงั หวัด 6 ด้าน
4) แนวทางการพัฒนา 2 พื้นท่ตี น้ แบบเพ่อื เสนอจังหวดั 10
5) ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย มาตรการ COVID-19 ระดับจงั หวดั 13
6) ผลการศึกษาผลกระทบเชิงเศรษฐกจิ และสังคมรายจังหวัด 16
ของโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสงั คมรายตำบลแบบบูรณาการ U2T
ดว้ ยเครอ่ื งมือ SOCIAL RETURN ON INVESIMENT (SROI)
7) รายงานผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล THAILAND COMMUNITY BIG DATA 19
8) เรื่องเลา่ ความสำเร็จ SUCCESS STORY ของจังหวดั ท่ใี ช้เปน็ ต้นแบบ 21
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
9) ขอ้ เสนอจงั หวัดจากการวเิ คราะห์ GAP ANALYSIS เพ่อื ต่อยอดงาน 24
การพฒั นาจังหวดั
10) แนวทางการพฒั นาจงั หวัด โครงการ งานวิจัย 33
ภาคผนวก 37
2
บทสรปุ ผ้บู รหิ าร
คณะกรรมการ อว.ส่วนหน้า จ.ศรีสะเกษ ได้ขบั เคลื่อนตามนโยบาย อว. ในการกำกับติดตาม
การดำเนินการโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล
สร้างรากแก้วให้ประเทศ U2T) เพื่อพัฒนาคนในชุมชนให้มีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สนับสนุนโครงการ
ขบั เคลื่อนไทยไปด้วยกันของจังหวดั ศรีสะเกษ
จังหวดั ศรีสะเกษมีมหาวิทยาลัย 3 แหง่ เข้ารว่ มโครงการ ได้แก่ 1) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะ
เกษ 2) มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด และ 3) มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเข้าร่วมดำเนินการในระดับ
ตำบลทั้งสนิ้ 14 ตำบล
มีการจ้างงานคนในพืน้ ที่เกดิ ขนึ้ 280 คน ประกอบด้วย บณั ฑติ จบใหม่ ประชาชนทั่วไป และ
นักศึกษา ซึ่งในการจัดโครงการฯ มีการพัฒนาศักยภาพในทักษะ 4 ด้าน ได้แก่ 1) Digital Literacy. 2)
English Literacy. 3) Financial Literacy และ 4) Social Literacy เพื่อให้ผู้รับจ้างและคนในพื้นที่เกิดการ
พฒั นาและเกิดความพรอ้ มในการประกอบอาชีพในพืน้ ที่ของตน และช่วยเหลือชมุ ชน มีกิจกรรมเกิดขึ้น
113 กิจกรรม สามารถพัฒนาคนได้ทั้งสิ้น 1,461 คน แบ่งกลุ่มสถานภาพของตำบล ดังนี้ 1) ตำบลมุ่งสู่
ความยัง่ ยืน 2) ตำบลอยรู่ อด และ 3) ตำบลมงุ่ สคู่ วามพอเพียง
สถานตาบล
1
5
8
ตาบลทอ่ี ยรู่ อด
ตาบลมงุ่ สคู่ วามพอเพยี ง
ตาบลมงุ่ สคู่ วามย่งั ยนื
การจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานฉบับนี้ได้นำผลข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วย TSI, USI, PBM,
TCD และ SROI ผ่านกระบวนการ GAP ANALYSIS จัดทำเป็น ABC MODEL และ พัฒนาเป็น
แนวทางการพัฒนาจังหวัดเพื่อเสนอแนะให้กับจังหวัด ผ่านคณะกรรมการขับเคลื่อนไทย
ไปด้วยกัน ประจำจังหวัดศรีสะเกษ ในส่วนของการคัดเลือกตำบลที่มีการพัฒนาโดดเด่น หรือ
ประสบความสำเร็จในระดบั สงู คณะกรรมการได้มีการพิจารณาคดั เลือกตำบลโดดเดน่ จำนวน 2
ตำบล และจัดทำเป็น SUCCESS STORY เพื่อเป็นตำบลต้นแบบสำหรับเป็นแนวทางพัฒนาและ
สร้างความเข้าใจใหก้ บั ตำบลอืน่ ๆ ต่อไป
บทนำ
ขอ้ มูลพื้นฐานของจงั หวัดศรสี ะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เรียกว่า อีสานใต้ห่างจาก
กรงุ เทพมหานคร โดยทางรถยนตป์ ระมาณ 571 กิโลเมตร ทางรถไฟประมาณ 551 กิโลเมตร
ทิศเหนือ เขตอำเภอราษีไศล อำเภอศิลาลาด และอำเภอยางชุมน้อย ติดต่อกับจังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศใต้ เขตอำเภอขุขันธ์ อำเภอขุนหาญ และอำเภอกันทรลักษ์ ติดต่อกับประเทศกัมพูชา
ประชาธิปไตย
ทิศตะวันออก เขตอำเภอกันทรลักษ์ อำเภอกันทรารมย์ และอำเภอโนนคูณ ติดต่อกับจังหวัด
อบุ ลราชธานี
ทิศตะวันตก เขตอำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอปรางค์กู่ อำเภอห้วยทับทัน และอำเภอบึงบูรพ์
ติดต่อกบั จังหวดั สรุ ินทร์
พื้นท่ี ลักษณะภมู ิประเทศเเละภูมอิ ากาศ
(1) พื้นที่ จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่ประมาณ 8,839.90 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,524,987.5 ไร่
(2) ภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงสลับทุง่ นามีภูเขาและป่าไม้อยู่ทางตอนใต้ และพื้นที่
จะค่อยๆ ลาดลงสู่ทิศเหนือและทิศตะวันตก ซึ่งเต็มไปด้วย ห้วย คลอง หนอง บึง ต่างๆ ตลอด
ระยะทางที่ลำน้ำมูลและลำน้ำชีไหลผ่าน สภาพดินร้อยละ 60 เป็นลักษณะดินร่วนปนทรายที่มี
การระบายน้ำดีแต่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ และมีแนวชายแดนติดกับประเทศกัมพูชา ประมาณ
127 กม. (อำเภอกนั ทรลักษ์ 76 กม. อำเภอขนุ หาญ 18 กม. และอำเภอภสู งิ ห์ 33 กม.)
การปกครอง
จงั หวัดศรสี ะเกษแบ่งการปกครองออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ
1. การปกครองส่วนภูมิภาค จังหวัดศรีสะเกษแบ่งการปกครองออกเป็น 22 อำเภอ 204 ตำบล
2,633 หมู่บ้าน
2. การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดศรีสะเกษแบ่งการปกครองออกเป็นองค์การบริหารส่วน
จังหวัด 1 แหง่ เทศบาลเมอื ง 2 แห่ง เทศบาลตำบล 35 แหง่ องคก์ ารบริหารส่วนตำบล 179 แห่ง
ตำบลที่มีการดำเนินโครงการ U2T ในปีงบประมาณ 2564 ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ มี
ท้ังสิน้ 14 ตำบล โดยมีสถาบนั อุดมศึกษาที่ร่วมทำงานในพื้นทีจ่ งั หวดั ศรสี ะเกษ จำนวน 3 สถาบัน
ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษรับผิดชอบ 9 ตำบล มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 1 ตำบล
และมหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 4 ตำบล
2
แผนทจ่ี ังหวดั ศรสี ะเกษ
มหาวิทยาลยั ราชภัฏศรสี ะเกษ จำนวน 9 ตำบล
1. ตำบลคอนกาม อำเภอยางชุมน้อย 2.ตำบลน้ำคำ อำเภอเมืองศรีสะเกษ 3.ตำบลน้ำอ้อม
อำเภอกันทรลกั ษ์ 4.ตำบลบึงมะลู อำเภอกนั ทรลักษ์ 5.ตำบลปราสาทเยอ อำเภอไพรบึง 6.ตำบล
ผักไหม อำเภอห้วยทับทัน 7.ตำบลไพรพัฒนา อำเภอภูสิงห์ 8.ตำบลหนองแก้ว อำเภอ
กนั ทรารมย์ 9.ตำบลหวั เสือ อำเภอขขุ ันธ์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั รอ้ ยเอด็ 1 ตำบล
ตำบลโนนค้อ อำเภอโนนคูณ
มหาวิทยาลัยขอนแกน่ จำนวน 4 ตำบล
1. ตำบลโคกตาล อำเภอภูสิงห์ 2.ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ 3.ตำบลหนองแก้ว อำเภอเมือง
ศรสี ะเกษ 4.ตำบลห้วยติก๊ ชู อำเภอภูสงิ ห์
3
1
----------------
รายงาน
สรุปตวั ชี้วดั การดำเนินงาน
ระดับตำบลและระดบั สถาบนั อดุ มศึกษา
ของโครงการฯ ในระดับจังหวัด
-----------------
4
รายงานสรปุ กิจกรรมทง้ั 14 ตำบล
การประเมินศกั ยภาพตำบลตามเป้าหมาย 16 ประการ
เพ่อื ให้เกิดกจิ กรรมยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการและเพื่อฟ้ืนฟู
เศรษฐกจิ ในพ้ืนทท่ี ม่ี ีความครอบคลุมในประเดน็ การพฒั นาของตำบล
ศกั ยภาพตาบล
10 ตาบลท่อี ยรู่ อด ตาบลมงุ่ สคู่ วามพอเพยี ง ตาบลมุ่งสคู่ วามย่งั ยนื
8
6
4
2
0
ตาบลยากลาบาก
กอ่ นโครงการ หลังโครงการ
กิจกรรมการพฒั นาตำบลแบง่ ออกเปน็ 4 ดา้ น
1. การพัฒนาสมั มาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอ่นื ๆ)
2. การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการทอ่ งเทีย่ ว)
3. การนำองค์ความรไู้ ปช่วยบริการชมุ ชน (Health Care/เทคโนโลยีดา้ นต่างๆ)
4. การส่งเสริมด้านสิง่ แวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมนุ เวียนใหแ้ ก่ชุมชน)
การพฒั นา จำนวนตำบล งบประมาณ สัดส่วน
การพฒั นาสมั มาชพี และสร้างอาชพี ใหม่
(การยกระดบั สินค้า OTOP/อาชพี อืน่ ๆ) 14 8,076,696.00 61.81
การสร้างและพัฒนา Creative Economy 11 1,223,316.00 9.36
(การยกระดบั การท่องเที่ยว) 12 660,000.00 5.05
การนำองคค์ วามรไู้ ปชว่ ยบริการชุมชน 11 240,000.00 1.84
(Health Care/เทคโนโลยดี ้านตา่ งๆ) 1 2,866,113.00 21.94
การสง่ เสริมด้านสิง่ แวดลอ้ ม/Circular Economy
(การเพม่ิ รายได้หมุนเวยี นให้แกช่ มุ ชน)
อน่ื ๆ
5
การจา้ งงานในพืน้ ที่
140 70 70
ประชาชน บั ณ ฑิต นั ก ศึก ษ า
การพัฒนาทกั ษะ การพัฒนาทักษะ
1. Digital Literacy 84
2. English Literacy 82
3. Financial Literacy 80
4. Social Literacy 78
76
74 2. English 3. Financial 4. Social Literacy
72 Literacy Literacy
70
1. Digital Literacy
6
2 สรปุ TPMAP
กอ่ นและหลังโครงการ
TPMAP (THAI PEOPLE MAP AND ANALYTICS PLATFORM)
เปน็ ระบบบริหารจดั การขอ้ มูลพัฒนาคนแบบชเี้ ป้าสามารถระบุได้ว่า “คนจนเป้าหมาย”
มีปัญหาในแต่ละมิติเป็นอย่างไร จากข้อมูลจำนวนคนในครัวเรือนยากจนที่ตกตัวชี้วัด ความ
จำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ในแต่ละมิติ โดยตัวชี้วัด จปฐ. ที่นำมาใช้ในการคำนวณดัชนีความยากจน
หลายมิติ (MPI) ประกอบด้วยด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และ
ด้านการเข้าถึงบริการรัฐ
TPMAP ก่อนโครงการ 1
0.8
0.6
0.4
0.2
0
ก่อนโครงการ หลงั โครงการ
TPMAP หลงั โครงการ
7
3
----------------
การสังเคราะห์
องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
เพือ่ เปน็ ข้อเสนอจังหวัด 6 ด้าน
-----------------
8
การเชื่อมโยงโจทย์วิจัยจากโครงการ U2T
กบั แผนวิจยั ระดับมหาวิทยาลัยและปัญหาระดบั จังหวดั
ประเดน็ โจทย์ แผน ประเด็น
วิจัย วิจยั วิจัย ปัญหาจังหวัด
แผนงานวจิ ยั 1
การเกษตร การพัฒนานวตั กรรม ปญั หาการควบคุมคณุ ภาพ
เพื่อการเกษตรอจั ฉริยะ เพอ่ื ขจดั ความยากจนดว้ ย ผลผลิตโดยเฉพาะ ขา้ ว ทเุ รียน
การพฒั นา การศึกษาวิทยาศาสตร์ หอม กระเทียม
ผลติ ภัณฑ์ การพฒั นาผลติ ภาพ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมของ
ทางการเกษตร ท้องถิน่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ปญั หาน้ำทว่ ม/ปัญหาภัย
การ แลง้ /การบริหารจัดการนำ้
ประชาสมั พันธ์ ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนเพือ่ เพิม่ มูลคา่ แผนงานวิจยั 2
ทางเศรษฐกจิ จากวสั ดเุ หลือใช้ ปัญหาด้านอุตสาหกรรม
การตลาด ทางการเกษตรส่มู าตรฐานสากล การวจิ ยั เพ่อื ส่งเสริมความ การเกษตร
เข้มแขง็ ของเศรษฐกิจฐานราก
การท่องเท่ียว อย่างครบวงจร เพ่มิ ศักยภาพในการแขง็ ขนั ปัญหาด้านการท่องเที่ยว
ยกระดบั ผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถ่นิ พง่ี พาตนเองและ
จากภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ กระจายรายได้สู้ท้องถิน่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือสตู่ ลาดสากล
ส่งเสริมระบบการส่อื สาร
ทางการตลาดด้วยแนวคิด
สร้างสรรคเ์ ศรษฐกิจ
โครงการสร้างมาตรฐานและ
สง่ เสริมธุรกิจการทอ่ งเที่ยว
ตามแนวชายแดนวิถีใหม่
ส่ิงแวดลอ้ ม โครงการวิจยั นวตั กรรมเพื่อ แผนงานวิจยั ที่ 3 ปัญหาน้ำทว่ ม/ปัญหาภยั แลง้ /
คณุ ภาพชีวิต สง่ เสริมคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม การบริหารจัดการนำ้
การวจิ ัยเพื่อพฒั นาและเร่งแกไ้ ขปญั หา
สูเ่ มืองสะอาด ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการวิจยั เพื่อส่งเสริม ในทอ้ งถน่ิ ภาคตะวันเฉียงเหนือ
คุณภาพชีวติ ด้วยเทคโนโลยี ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมสมยั ใหม่ และนวตั กรรม
แผนงานวิจัยที่ 4
การวิจัยเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ
ของคนในสงั คมสงู วยั
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ด9้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวตั กรรม
4
----------------
2 พืน้ ที่ตน้ แบบ
เพื่อเสนอจงั หวดั
-----------------
10
11
12
5
----------------
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
มาตรการ COVID-19 ระดับจงั หวัด
-----------------
13
สถานทเี่ สีย่ ง สถานทเี่ สีย่ ง
ตลาด โรงเรียน
กำหนดใหม้ ี ทุกคนในสถานศกึ ษา
ต้องสวมหน้ากาก
ทางเข้าออกทช่ี ัดเจน อนามยั ตลอดเวลา
และมีจุดคัดกรอง
ผู้ซื้อและผู้ขาย รักษาระยะหา่ งในการนั่งเรียน
ตอ้ งสวมหน้ากากอนามัย อย่างน้อย 1-2 เมตร
ตลอดเวลา
ควรเวน้ ระยะหา่ ง 1 เมตร
ทำความสะอาด การเรียนในห้องเรียน
พืน้ ที่ตลาด
ตอ้ งไดร้ บั อนุญาต
อยา่ งสมำ่ เสมอ
จากคณะกรรมการควบคมุ
โรคติดตอ่ ประจำจังหวดั
เลี่ยงการสมั ผสั เงนิ สด ทำความสะอาด
และใช้การชำระเงิน พืน้ ทีโ่ รงเรียน
ผ่านระบบออนไลน์ อย่างสม่ำเสมอ
ผ้ขู ายควรได้รับวคั ซนี บคุ ลากรในสถานศกึ ษาควรไดร้ ับการฉีดวคั ซนี
และประเมินความเสีย่ งตนเองด้วยชดุ ตรวจ ATK ตามมาตรการของรฐั
สัปดาหล์ ะ 1 ครั้ง จัดให้มีสอ่ื ประชาสัมพนั ธ์ให้ผู้ชอื้ จดั ใหม้ กี ารสลับเวลาเรียนหรือผสมผสาน
และผู้ขายปฏบิ ัตติ ามมาตรการ กับการเรียนออนไลน์
D-M-H-T-T-A
14
สถานทเี่ สี่ยง สถานทเี่ สีย่ ง
ศาสนสถาน ที่พักอาศยั
กำหนดใหม้ ี ดแู ลสุขลักษณะและผพู้ ักอาศยั
ล้างมอื บอ่ ยๆ ด้วยสบู่ หรือ แอลกฮอล์
จุดคดั กรอง
ใสห่ นา้ กากอนามัยเม่อื มกี ารพดู คยุ
ในการเขา้ ร่วมพิธีกรรมตา่ งๆ การรับประทานอาหารร่วมกันควรแยกภาชนะ
ศาสนิกชน งดใชพ้ ืน้ ทส่ี ่วนกลาง
ภายในที่พกั
ตอ้ งสวมหน้ากากอนามยั
ตลอดเวลา เพื่อความปลอดภัยรว่ มกนั
ควรเวน้ ระยะหา่ ง 1 เมตร
ทำความสะอาด ฉดี วคั ซนี
ศาสนสถาน
ตามมาตรการของรัฐบาล
อย่างสม่ำเสมอ ยดึ หลกั ตามแนวปฏบิ ตั ิ
ศาสนิกชนควรไดร้ ับการ D-M-H-T-T-A
ฉดี วัคซีน
ตามมาตรฐานของรฐั บาล
ควรจดั ภาชนะสำหรบั บรรจุภตั ตาหาร จดั เตรียมชุดตรวจ
1 ชุด ตอ่ 1 รูป ATK
กรณศี าสนาพทุ ธ พระสงฆ์ ควรกำหนดระยะหา่ งใน ประจำบ้านศึกษาวิธีการตรวจสอบทีถ่ ูกตอ้ ง
การเดินบิณฑบาต อยา่ งนอ้ ย 2 เมตร
15
6
----------------
ผลการศึกษาผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ
และสังคมรายจงั หวดั
ของโครงการยกระดบั เศรษฐกิจ
และสงั คมรายตำบลแบบบูรณาการ U2T
ดว้ ยเครอ่ื งมือ SOCIAL RETURN ON INVESTMENT (SROI)
6 -----------------ผลการศกึ ษาผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสงั คมรายจังหวดั
ของโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสงั คมรายตำบลแบบ
บรู ณาการ U2T ด้วยเครื่องมอื SOCIAL RETURN ON
INVESIMENT (SROI)
16
SROI IMPACT OUTCOME
จังหวดั ศรีสะเกษ
17
18
7
----------------
รายงานผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
THAILAND COMMUNITY BIG DATA (SROI)
-----------------
19
THAILAND ขอ้ มูลการยา้ ยถนิ่ จากสถานการณโ์ ควิด-19
COMMUNITY
ย้ายกลบั มาจาก ……% ส่วนใหญส่ ำเร็จการศกึ ษา
BIG DATA จงั หวดั ...............มากที่สดุ ระดบั .............................
CHANTHABURI
จำนวน........คน ……%
จงั หวดั ...............(อนั ดบั 2) ย้ายมาพรอ้ มครอบครัว
จำนวน........คน
แหล่งทองเทีย่ ว มีแหลง่ ท่องเทย่ี ว ส่วนใหญเ่ ป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยว
ในจังหวดั ศรีสะเกษ ..................แหง่ .................................................................
รองลงมาคือ..............................................
ทีพ่ กั มีแหล่งท่องเทย่ี ว ส่วนใหญเ่ ปน็ แหล่งท่องเที่ยว
โรงแรม ..................แหง่ .................................................................
รองลงมาคือ..............................................
ร้านอาหาร ราคาถกู ................................................................................
..................ร้าน แหลง่ ตำ่ กว่า ..........................................................................................
............................................................................................
100 บาท
การเกษตร สตั วใ์ นทอ้ งถ่ิน
ปลกู ขา้ วส่วนใหญ่ ..............................
รองลงมาคอื ...............
ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ
แหล่งนา้ 20
8
----------------
เรือ่ งเลา่ ความสำเร็จ
SUCCESS STORY
ของจงั หวัดทีใ่ ช้เปน็ ตน้ แบบ
การพัฒนาอย่างยงั่ ยืน
---------------
21
ตำบลหวั เสือ
คณะศิลปศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ศรีสะเกษ
กิจกรรมทย่ี กระดับ
การพัฒนายกระดับคุณภาพชวี ติ ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม สุข
ภาวะ และสิ่งแวดลอ้ ม เน้นการพัฒนาทกั ษะอาชพี การนำเทคโนโลยี
สง่ เสริมการพัฒนาผลิตภณั ฑจ์ นสามารถจำหน่าย ขยายฐานการผลิต
ให้เพ่มิ มากขึน้
กลไกการดำเนนิ กิจกรรม ดเู รื่องราว
1) แต่งตง้ั คณะกรรมการผู้รว่ มดำเนินงานโครงการ
2)ใชข้ ้อมูลจากผลการสำรวจชุมชน ด้าน ภมู ศิ าสตร์ ประชากร อาชีพ Success Story Telling
รายได้ ตัวชีว้ ดั ตาม TPMap ฯลฯ สำหรับวเิ คราะห์ปญั หา บอกเลา่ เส้นทางส่คู วามสำเรจ็
3) จดั เวทีการพฒั นาแผนการดำเนินงานร่วมกบั ชุมชน
4) การปฏบิ ัตงิ านโดยความร่วมมือกับผู้นำชุมชน อบต. ผู้ใหญบ่ ้าน ตำบลหวั เสือ
อสม. ส่วนราชการ
5) กิจกรรมการพัฒนาสัมมนาชพี ในชมุ ชน กิจกรรมการพฒั นา
ผลิตภณั ฑ์ กจิ กรรมการนำเทคโนโลยนี วัตกรรมพฒั นาพ้นื ที่
6) อาจารย์และผู้จา้ งงานจัดกิจกรรมถอดบทเรียนการดำเนินงานเป็น
ระยะเพอ่ื ประเมินผลการดำเนนิ งาน
วธิ ีการสูเ่ ป้าหมาย
1) สำรวจชมุ ชน ด้าน ภมู ิศาสตร์ ประชากร อาชีพ รายได้ ตัวชี้วัดตาม TPMap ฯลฯ เพื่อใชส้ ำหรบั วิเคราะห์ปญั หา
2) พฒั นาสภาพแวดล้อมชุมชน ขยะ แหลง่ น้ำ จดุ เสี่ยงการแพรร่ ะบาดของโรค
3) รณรงคก์ ารป้องกนั การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส Covid-19 เตรยี มพื้นทกี่ ักตวั และจัดทำเตียงสนาม จัดหาหน้ากากอนามัย
และแอลกอฮอลเ์ จล
4) การสรา้ งนวัตกรให้เกิดในชมุ ชนนำองคค์ วามรทู้ ี่ไดร้ ับการถา่ ยทอด และเกิดกระบวนการพัฒนาโดยชมุ ชนพึ่งตนเองเพื่อ
สรา้ งความยั่งยืนในการพฒั นาอาชีพ ผลิตภัณฑ์
5) นำเทคโนโลยเี ข้าชว่ ยด้านการตลาด การประชาสัมพนั ธแ์ ละงานจำหน่ายสินค้าชมุ ชน
เปา้ หมายของความสำเร็จ 22
1) ชมุ ชนใหม้ ีสมรรถนะสงู / ระบบบรกิ ารจดั การสาธารณปู โภค
2) เกิดการจัดการทรพั ยากรอย่างเปน็ ระบบ
3) สามารถวิเคราะห์วิสาหกิจชมุ ชน จัดการวิสาหกิจในชมุ ชน
4) เกิดการสรา้ งสมั มาชีพในพืน้ ที่
5) เกิดทกั ษะอาชีพ
6) พัฒนาระบบสขุ ภาพในพ้นื ที่ / เฝ้าระวังโควิด
7) ผลผลิตด้านเกษตร แปรรปู ยกระดับผลิตภัณฑใ์ ห้ได้มาตรฐาน
ตำบลบึงมะลู ดูเรอ่ื งราว
คณะมนษุ ยศาสตร์สังคมศาสตร์ Success Story Telling
มหาวิทยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ บอกเล่าเส้นทางสู่ความสำเรจ็
กิจกรรมท่ยี กระดับ ตำบลบึงมะลู
การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ในท้องถิน่ เพื่อเพิ่มมูลคา่ และ
การตลาดออนไลน์ เพือ่ ยกระดบั อาชีพประชาชน
วิธีการสเู่ ปา้ หมาย
-การพฒั นาสัมมาชพี และสร้างอาชีพใหม่ เชน่ การ
ยกระดบั OTOP และอาชพี อืน่ ๆ
-สง่ เสริมการตลาดออนไลน์ เชน่ เพจ Facebook,
Shopee.
เป้าหมายของความสำเร็จ
กลุ่มอาชีพในท้องถิ่นมรี ายได้เพิม่ ข้ึน คณุ ภาพชีวติ
ดีข้ึนเกิดอาชีพใหม่ เกิดการรวมกลมุ่ รว่ มดำเนิน
กิจการ เกิดความรว่ มมอื ระหว่างหนว่ ยงานใน
ชมุ ชน ผู้นำชุมชน ประชาชน
กิจกรรมในทอ้ งถน่ิ
23
9 ข้อเสนอจังหวัดจากการวิเคราะห์ GAP ANALYSIS
เพ่อื ตอ่ ยอดงานการพฒั นาจังหวดั
24
A ขอ้ มลู เชิงพื้นที่
A1 พืน้ ที่ทอ่ งเที่ยว เชิงนิเวศ เชิงเกษตร เชงิ ประวัติศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม
สถานะที่ตอ้ งการ
แพค็ เกจการทอ่ งเทีย่ ว จดุ เชค็ อินของแต่ละหมูท่ ี่สำคญั เส้นทางการท่องเที่ยวแบบครบวงจร เที่ยวสวน
ผลไม้ กิจกรรมอนุรักษ์ และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมชุมชน เพิ่มจำนวน
นกั ทอ่ งเที่ยว แปลงข้อมูลเชิงพืน้ ทีใ่ ห้เป็นดิจทิ ลั ทั้งหมดและจัดทำ VIRTUAL CITY เพิ่มพื้นทีป่ า่ ในชมุ ชน
สถานะปัจจุบัน
มีการประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยว มีแผนที่เส้นทางการท่องเที่ยว มีการทำ MOU เรื่อง
มัคคุเทศก์น้อย ไม่มีจุดเช็คอิน มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม มีโบราณสถานที่ทรงคุณค่าและเป็น
เอกลกั ษณท์ ่สี ำคญั อาหารพืน้ ถน่ิ ทีโ่ ดดเดน่ ทีม่ ีเอกลักษณ์
GAP
ขาดชอ่ งทางการขายแพ็คเกจ ขาดจดุ เช็คอินตามจุดตา่ งๆ ขาดการประชาสมั พันธแ์ ละการเข้าถงึ
ทรัพยากร
วิธีการท่นี ำไปสู่เปา้ หมาย
เปลี่ยนโครงการเทย่ี วทิพย์ให้เป็นทรปิ นา่ เที่ยว
A2 พัฒนาพื้นที่ทางสงั คม เพือ่ การเรียนรู้
สถานะทีต่ ้องการ
ชุมชนมีศนู ยก์ ารเรยี นรทู้ ี่สามารถใช้เป็นพืน้ ทีท่ ่คี นในตำบลได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ะหวา่ งกนั ทั้งในด้าน
พัฒนาทกั ษะอาชีพ วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญา นวตั กรรม และเทคโนโลยีเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ สู่การ
พึง่ พาตนเองของชุมชนอย่างยง่ั ยืน โดยอาศยั แนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรอินทรยี ์
สถานะปัจจุบัน
บางตำบลมีพน้ื ทีท่ ไ่ี ด้รับการพฒั นาเป็นพื้นทีท่ างสงั คมแตย่ ังไม่มีการจดั ตั้งเป็นศูนยก์ ารเรียนรทู้ ี่เป็น
ระบบอย่างชัดเจน
GAP
ขาดศนู ย์การเรียนรปู้ ระจำตำบลและขาดการพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศนู ย์การเรียนรู้
วิธีการท่นี ำไปสูเ่ ปา้ หมาย
โครงการ 1 ตำบล 1 ศนู ย์การเรียนรภู้ ูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ
25
A ข้อมูลเชิงพืน้ ที่
A3 พืน้ ที่ปลูกพนื้ สมนุ ไพร
สถานะที่ต้องการ
สรา้ งเครอื ข่ายผู้ปลูกพ้ืนสมุนไพร และสรา้ งแหลง่ ผลิตทีม่ ีคณุ ภาพ
สถานะปจั จุบนั
กล่มุ ผู้ปลกู สมนุ ไพรยังไม่ชดั เจน พืน้ ที่ปลกู กระจัดกระจาย
GAP
ขาดข้อมูลในพืน้ ทใี่ นการปลูกสมุนไพร – ขาดการรวบรวมขอ้ มูลหมอชาวบา้ น
วิธีการท่นี ำไปสเู่ ปา้ หมาย
โครงการจัดทำฐานข้อมลู สมนุ ไพรทอ้ งถ่นิ
โครงการอนรุ กั ษภ์ ูมิปญั ญา การรักษาโรคด้วยสมุนไพรทอ้ งถน่ิ
A4 พืน้ ทที่ างเกษตร
สถานะทีต่ ้องการ
ปลูกพชื สวนครวั บรเิ วณรั้วใกล้บา้ น ปลอดสารพิษ เพอ่ื ลดรายจา่ ยหรือเพิ่มรายได้ ผลิตผลทาง
การเกษตรปลอดภยั จากสารเคมีอันตราย มีการจัดการนำ้ อยา่ งเพียงพอทางการเกษตร
สถานะปัจจบุ นั
สว่ นใหญ่ทำการเกษตรแบบเชิงเดี่ยว เช่น ปลูกขา้ ว ปลูกพรกิ ปลูกหอม ปลกู กระเทียม ทำสวนผลไม้
ยางพารา และใช้สารเคมีสังเคราะหใ์ นกระบวนการปลูกและเก็บเกีย่ ว การขาดแคลนนำ้ ในชว่ งหน้าแล้ง
ในการทำการเกษตร
GAP
ให้ประชาชนตระหนกั ถึงความสำคญั และประโยชนใ์ นการปลกู ผักและผลไม้ปลอดสารพษิ ขาดจดั การ
น้ำสำหรับการเกษตร
วิธีการท่นี ำไปสู่เปา้ หมาย
โครงการชมุ ชนต้นแบบผักสวนครวั ปลอดสารพิษ โครงการผลไม้ทอ้ งถน่ิ ปลอดภัยใสใ่ จผบู้ รโิ ภค
โครงการบรหิ ารจัดการน้ำเพอ่ื การเกษตรแบบย่ังยนื่
26
B ขอ้ มลู เชิงธรุ กิจ
B1 การพฒั นาผลิตภณั ฑช์ ุมชน อาหาร สมนุ ไพร สินค้าอปุ โภค
สถานะทีต่ ้องการ
ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนที่ได้รบั มาตรฐานและมีมลู คา่ ทีส่ งู ขนึ้ ด้วยแนวคดิ นวัตกรรม เพมิ่ ชอ่ งทางการจัด
จำหนา่ ย การนำวัตถดุ ิบในชมุ ชนมาสู่การสรา้ งสินคา้ ชุมชน
สถานะปัจจบุ นั
มีผลิตภัณฑ์แปรรปู จากพชื ผกั ผลไม้ทยี่ งั ไมไ่ ด้รับการพัฒนาและยังไมไ่ ด้รบั รับรองมาตรฐานผลติ ภัณฑ์
GAP
การพฒั นาผลิตภณั ฑแ์ ปรรปู พืช ผัก ผลไม้ทอ้ งถ่นิ สมู่ าตรฐาน อย. มยี อดขายสินคา้ เพมิ่ ขนึ้ (การตลาด
การขาย)
วิธีการท่นี ำไปส่เู ปา้ หมาย
โครงการพัฒนายกระดบั มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนโดยใช้นวัตกรรมทางการผลิตและการออกแบบ
ผลิตภณั ฑ์
B2 การพัฒนาภาพลกั ษณ์ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน
สถานะทีต่ อ้ งการ
อตั ลกั ษณผ์ ลติ ภัณฑช์ ุมชนได้รับการยกระดบั ท้ังในด้านภาพลักษณแ์ ละมาตรฐานการบรรจสุ ินค้า
ชมุ ชน
สถานะปจั จบุ ัน
ผลติ ภัณฑ์ชุมชนสว่ นใหญย่ ังมีภาพลักษณ์ทีไ่ มช่ วนซือ้ ไมโ่ ดนใจผู้บริโภคและบรรจุภัณฑไ์ ม่ได้
มาตรฐาน
GAP
การสรา้ งภาพลกั ษณ์ของผลิตภณั ฑ์ชุมชน และความเข้าใจในมาตรฐานของบรรจภุ ัณฑใ์ นการยืด
อายผุ ลิตภณั ฑ์
วิธีการที่นำไปสเู่ ป้าหมาย
โครงการยกระดบั ภาพลักษณผ์ ลติ ภัณฑจ์ ากดินสดู่ าว
27
B ขอ้ มูลเชิงธรุ กิจ
B3 การยกระดับวสิ าหกิจชมุ ชน
สถานะทีต่ ้องการ
จดั ให้มรี ะบบการบริหารจัดการกลุ่มใหเ้ กิดการรวมกล่มุ กันอยา่ งเข้มแข็ง จดทะเบียน จัดตงั้
พฒั นาระบบบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน
สถานะปัจจบุ ัน
บางตำบลมีการรวมกลุ่มแต่ยงั ไมม่ ีการจัดต้ังวิสาหกิจชุมชนและบางตำบลมีการจัดต้ังแต่ยงั ไม่มี
ระบบบริหารจดั การวสิ าหกิจชุมชน
GAP
การส่งเสริมการสร้างความรว่ มมอื ให้กบั คนในชมุ ชนมีส่วนร่วม เพือ่ จดั ต้ังกลมุ่ วิสาหกิจชมุ ชนใน
การสรา้ งรายได้ในชมุ ชน
วิธีการที่นำไปสเู่ ป้าหมาย
โครงการยกระดับเศรษฐกิจชุมชนฐานรากด้วยวิสาหกิจชุมชน
28
C ขอ้ มลู เชิงประชากร
C1 ผูน้ ำชมุ ชน
สถานะที่ต้องการ
ผนู้ ำชมุ ชนต้นแบบมีการแบ่งปนั ความรกู้ ารบริหารจดั การชุมชน
สถานะปัจจุบัน
ผนู้ ำชุมชนยังขาดเครอื ข่ายในการบริหารจัดการชุมชน
GAP
ขาดเครอื ข่ายในการแบง่ ปนั ประสบการณใ์ นการบริหารจัดการชุมชน
วิธีการที่นำไปสเู่ ป้าหมาย
โครงการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของผู้นำชุมชน
C2 ปราชญ์ชาวบ้าน ภมู ิปัญญาท้องถิน่
สถานะทีต่ ้องการ
ศนู ยก์ ารเรียนรู้ชุมชน
สถานะปัจจุบัน
แตล่ ะตำบลมีปราชญ์ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่ยงั ขาดระบบในการรวบรวมข้อมลู และ
จัดตง้ั ศูนย์จดั การเรยี นรู้ชุมชน ขาดการดำเนินงานที่ชดั เจน
GAP
ขาดศนู ยก์ ารเรียนรู้ ขาดการบริหารจดั การศูนยก์ ารเรียนรอู้ ย่างเปน็ ระบบ
วิธีการที่นำไปสเู่ ป้าหมาย
โครงการ 1 ตำบล 1 ศนู ย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
29
C ขอ้ มูลเชิงประชากร
C3 พัฒนาแรงงานฝีมือในชมุ ชน
สถานะทีต่ อ้ งการ
แรงงานฝีมอื ดี
สถานะปจั จบุ ัน
ขาดแรงงานฝีมอื มกี ารย้ายถิ่นจากสถานการณโ์ ควิด 19
GAP
แรงงานยังขาดทักษะฝีมือแรงงานในด้านตา่ งๆ
วิธีการที่นำไปสู่เปา้ หมาย
โครงการส่งเสริมศักยภาพฝีมอื แรงงานสู่การเปน็ แรงงานมอื อาชีพ
C4 สุขภาพของคนในชุมชน
สถานะทีต่ อ้ งการ
ชมุ ชนมกี ารบริหารจัดการด้านสิง่ แวดล้อมและสขุ ภาพด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถานะปัจจุบัน
การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและสขุ ภาพอาศัยระบบ อสม.
GAP
ชมุ ชนยังขาดเทคโนโลยีในการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมและสขุ ภาพ
วิธีการที่นำไปสู่เปา้ หมาย
โครงการพฒั นานวัตกรรมส่งเสริมสขุ ภาวะชมุ ชน
30
C ขอ้ มลู เชิงประชากร
C5 ชาวบา้ น/ชาวนา/ชาวสวน
สถานะที่ต้องการ
ให้อาชีพเสริมแกช่ าวบ้าน ชาวนา ชาวสวน มีรายได้เพิม่ ขึน้
สถานะปัจจุบัน
ชาวบ้าน ชาวนา ชาวสวน ประสบปัญหาสถานการณโ์ ควิดทำให้ไมส่ ามาถทำงานได้ สง่ ผลใหเ้ กิด
การวา่ งงาน มีเวลาวา่ งมากในช่วงรอผลผลิต
GAP
ขาดทกั ษะอาชีพเสริมทีน่ อกเหนอื จากการทำนา ทำสวน ทำไร่
วิธีการที่นำไปสเู่ ปา้ หมาย
โครงการพัฒนาทักษะอาชีพเพือ่ เพิม่ ช่องทางการหารายได้
C6 เกษตรกร
สถานะที่ตอ้ งการ
มีการนำหลกั เกษตรทฤษฎีใหม่มาใช้ในชวี ิตประจำวนั
สถานะปัจจุบัน
มีเพียงเกษตรกรบางรายที่มกี ารนำหลกั เกษตรทฤษฎีใหม่มาใช้
GAP
การสง่ เสริมการนำหลักเกษตรทฤษฎีใหม่มาใช้
วิธีการที่นำไปส่เู ปา้ หมาย
โครงการให้ความรหู้ ลักเกษตรทฤษฎีใหม่
31
C ขอ้ มูลเชิงประชากร
C7 ผู้ประกอบการ
สถานะที่ต้องการ
ผปู้ ระกอบการทีม่ ีศักยภาพในการดำเนินธรุ กิจก้าวทันยุคดิจทิ ัล
สถานะปจั จุบัน
ผปู้ ระกอบการหรอื คนในชมุ ชนมคี วามรแู้ ละทักษะในการผลิตและจดั จำหน่ายสินค้าให้ตรกับ
ความตอ้ งการของตลาด
GAP
ผปู้ ระกอบการยงั ขาดทกั ษะด้านการตลาด และยงั ขาดเครือข่ายเชือ่ มโยงชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ย
วิธีการที่นำไปสูเ่ ป้าหมาย
โครงการพฒั นาศกั ยภาพผู้ประกอบการก้าวสู่ SMART SME
C8 ผปู้ ระกอบการรา้ นอาหารและวสิ าหกจิ ชมุ ชน
สถานะทีต่ ้องการ
ผปู้ ระกอบการที่เข้ารว่ มกิจกรรมได้รับการรบั รองมาตรฐาน SHA และ/หรอื SHA PLUS เพื่อสร้าง
ความมนั่ ใจด้านสขุ อนามัยแก่นักทอ่ งเทีย่ ว
สถานะปจั จุบัน
ผปู้ ระกอบการบางส่วนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการรบั รองมาตรฐาน SHA
GAP
ผปู้ ระกอบการบางส่วนยังติดปญั หาไมไ่ ด้รับการรบั รอง
วิธีการที่นำไปสู่เปา้ หมาย
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้านมาตรฐาน SHA
32
10
----------------
แนวทางการพัฒนาจังหวดั
จากการวเิ คราะหผ์ ลการดำเนินงาน
โครงการ U2T
---------------
33
จากแผนพฒั นาจังหวดั ศรสี ะเกษ
พ.ศ. 2561-2565
(ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ. 2563)
ได้แบ่งประเด็นการพัฒนาจังหวัดออกเปน็ 5 ประเดน็ คือ
ประเดน็ พฒั นาท่ี 1 ประเด็นพัฒนาท่ี 2
พัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน และยกระดบั สินค้า พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ประชาชน และการ
การเกษตร การค้าและการ ทะนุบำรงุ ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม
ท่องเทีย่ ว ให้ได้มาตรฐานและแข่งขันได้
ประเด็นพฒั นาท่ี 3 ประเดน็ พัฒนาท่ี 4
อนุรักษ์และฟืน้ ฟทู รัพยากรธรรมชาติและ รกั ษาความสงบเรียบร้อย และสร้างสังคม
สิ่งแวดล้อมให้เกิดความยั่งยืน ทีม่ คี วามอยู่เย็นเป็นสุข
ประเดน็ พัฒนาท่ี 5
การบริหารจัดการภาครัฐโดยยึดหลกั
ธรรมาภิบาล
34
อว.ส่วนหน้า จงั หวัดศรีสะเกษมแี นวทางการพฒั นา
จังหวัด ซึง่ สอดคล้องกับประเด็นการพฒั นาจังหวัด
3 ประเด็น
จากการวิเคราะห์ GAP ANALYSIS จากข้อมลู
PBM (PROJECT BASE MANAGEMENT)
TCD (THAILAND COMMUNITY BIG DATA) และ
SROI (SOCIAL RETURN ON INVESTMENT)
ประเดน็ พฒั นาท่ี 1 พฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน และยกระดับสินค้าการเกษตร การค้าและการท่องเที่ยว ให้ได้
มาตรฐานและแข่งขันได้
โครงการพัฒนาจังหวัด
1. โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเพือ่ เพิ่มมูลค่าและขยายช่องทางการตลาด
2. โครงการพฒั นาการท่องเทีย่ วครบวงจร
3. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวหอมมะลิคณุ ภาพ
4. โครงการส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจและลดต้นทุนการผลิตในภาคเกษตรกรรม
5. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทุเรียนคุณภาพ
6. โครงการส่งเสริมการศกึ ษา วัฒนธรรม ประเพณีศรีสะเกษ
โครงการวิจัย
1. การพฒั นานวัตกรรมเพื่อการเกษตรอัจฉริยะ การพัฒนาผลติ ภาพทางการเกษตร
2. ผลติ ภัณฑ์ชุมชนเพือ่ เพิ่มมลู คา่ ทางเศรษฐกิจจากวสั ดุเหลือใชท้ างการเกษตรสูม่ าตรฐานสากล
อยา่ งครบวงจร ยกระดบั ผลิตภัณฑท์ ้องถิน่ จากภูมิปัญญาท้องถิน่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสู่
ตลาดสากล
3. ส่งเสริมระบบการสอ่ื สารทางการตลาดดว้ ยแนวคิดสร้างสรรคเ์ ศรษฐกิจ
4. โครงการสร้างมาตรฐานและสง่ เสริมธรุ กิจการทอ่ งเทีย่ วตามแนวชายแดนวิถีใหม่
5. โครงการวิจยั นวัตกรรมเพือ่ สง่ เสรมิ คณุ ภาพสิ่งแวดล้อมสู่เมอื งสะอาด
6. โครงการวิจัยเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวติ ด้วยเทคโนโลยีและนวตั กรรมสมยั ใหม่
35
ประเดน็ พัฒนาท่ี 2 พัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชน และการทะนบุ ำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
1. โครงการยกระดับการศกึ ษาให้ได้มาตรฐาน
2. โครงการพัฒนาพืน้ ที่อันเน่ืองมาจากพระราชดำริตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3. โครงการส่งเสริมสังคมน่าอยู่และพัฒนาคุณภาพชวี ิต
4. โครงการพฒั นาและยกระดับฝมี อื แรงงาน
5. โครงการอนุรักษแ์ ละฟื้นฟทู รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
โครงการวิจัย
1. การพัฒนาพืน้ ที่อนั เนื่องมาจากพระราชดำริตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. การอนรุ กั ษแ์ ละฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
ประเดน็ พัฒนาท่ี 3 อนรุ ักษ์และฟืน้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้เกิดความย่ังยืน
โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน
โครงการวิจยั
การบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน
36
ภาคผนวก
37
UNIVERSITY SYSTEM INTEGRATOR (USI)
TAMBON SYSTEM INTEGRATOR (TSI)
38
39