The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เมธี วรรณวงค์, 2022-09-08 10:55:54

PA 2565

PA 2565

Keywords: PA 2565

สำหรบั ขำ้ รำชกำรครแู ละบคุ ลำกำรทำงกำรศกึ ษำ

2565ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐำนะ ครชู ำนำญกำร
ปงี บประมำณ

บนั ทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรยี นบ้านแมย่ างหา้ สงั กัด สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2

ท่ี พิเศษ/2564 วันท่ี 30 กันยายน 2564

เรอื่ ง สง่ แบบข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA 1/ส) สาหรับขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง

ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการ ประจาปงี บประมาณ 2565

เรียน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านแม่ยางห้า จานวน 1 เล่ม
สิง่ ทส่ี ่งมาด้วย แบบข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA 1/ส)

ตามหนงั สือของสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ ว9 ลงวนั ท่ี 20 พฤษภาคม 2564 เรื่อง หลกั เกณฑ์
และวธิ ีการประเมนิ ตาแหนง่ และวทิ ยฐานะข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครู
โดยหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวให้มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี 1 ตุลาคม 2564 โดยให้ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู ทาบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA)
ต่อผู้อานวยการสถานศึกษา เพื่อแสดงความจานงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของ
ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจาวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะท่ี
สาคญั ตามหลกั สตู รใหส้ ูงขึ้น โดยสะท้อนให้สูงขึ้น โดยสะท้อนให้เหน็ ถึงระดบั การปฏิบัติที่คาดหวังของตาแหน่ง
และวิทยฐานะท่ีดารงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนของราชการและ
กระทรวงศกึ ษา โดยผ้อู านวยการสถานศึกษาได้เหน็ ชอบให้เปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน

บัดน้ีข้าพเจ้านายเมธี วรรณวงค์ ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชานาญการ ได้จัดทาแบบขอ้ ตกลงในการ
พัฒนางาน (PA 1/ส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ
ประจาปงี บประมาณ 2565 จึงขอนาส่งเอกสารรายละเอียดตามเอกสารดังแนบ

จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดพิจารณา

ลงชอ่ื ............................................... ผู้จัดทาขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน

(นายเมธี วรรณวงค)์
ตาแหนง่ ครู

ความเห็นผอู้ านวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ ...............................................
(นางสาวนฤสรณ์ ขนั ธะสีมา)

ผูอ้ านวยการโรงเรียนบา้ นแมย่ างหา้

คำนำ

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน(PA) จัดทาขึ้นเพ่อื นาเสนอข้อตกลงในการพฒั นางานสาหรับขา้ ราชการ
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู ประจาปีงบประมาณ 2565 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30
กันยายน 2565 ได้นาเสนอต่อผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแมย่ างห้า เพอื่ เป็นข้อตกลงและแนวทางในการพัฒนา
ตนเอง เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะที่ดีของผู้เรียน
ซ่ึงประกอบด้วย 2 ส่วนดงั น้ี

ส่วนท่ี 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหน่ง ประกอบด้วย ภาระงาน และ งานท่ีจะ
ปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตาแหน่งครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพฒั นางานที่เป็นประเดน็ ในการพฒั นาผลลพั ธ์การเรยี นรขู้ องผเู้ รียน

ข้าพเจ้าจะนาข้อตกลงในการพัฒนางาน(PA) น้ี ไปพัฒนาผู้เรียน พัฒนางาน และพัฒนาตนเองต่อไป
ให้บรรลตุ ามเป้าหมายทต่ี ้ังไว้

นายเมธี วรรณวงค์
1 ตุลาคม 2564

สารบญั

ขอ้ มูลท่ัวไป ........................................................................................................................ หนา้ ที่
สว่ นท่ี 1 ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหน่ง ……………………………................ 1
1
 ภาระงาน ...................................................................................................................... 1
 งานทีจ่ ะปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหนง่ ครู ................................................................... 3
ส่วนที่ 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานทีเ่ ป็นประเด็นท้าทาย .................................................. 9
 ประเดน็ ท้าทาย ............................................................................................................. 9
 สภาพปัญหาของผูเ้ รยี นและการจดั การเรยี นรู้ .............................................................. 9
 วธิ กี ารดาเนนิ การใหบ้ รรลุผล ........................................................................................ 9
 ผลลัพธ์การพฒั นาท่ีคาดหวัง ........................................................................................ 10

1

แบบขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน(PA)
สาหรับขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชานาญการ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างวันท่ี 1 เดือนตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ท่ี 30 เดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2565

ผจู้ ดั ทาขอ้ ตกลง
ช่ือนายเมธี นามสกลุ วรรณวงค์ ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ
สถานศึกษาโรงเรยี นบ้านแมย่ างหา้ สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2
รบั เงินเดือนในอันดบั คศ. 2 อตั ราเงนิ เดือน 30,450 บาท

ประเภทหอ้ งเรยี นที่จดั การเรียนรู้
 หอ้ งเรียนวชิ าสามญั หรือวชิ าพ้นื ฐาน
 หอ้ งเรยี นปฐมวยั
 หอ้ งเรยี นการศึกษาพิเศษ
 หอ้ งเรยี นสายวิชาชีพ
 หอ้ งเรียนการศึกษานอกระบบ/ตามอธั ยาศยั

ข้าพเจา้ ขอแสดงเจตจานงในการจดั ทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ ซง่ึ

เปน็ ตาแหน่ง ทีด่ ารงอยูใ่ นปจั จบุ ันกบั ผ้อู านวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้

สว่ นท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหนง่

1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด

1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 19 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ดังนี้

กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิชา ระดบั ช้ัน จานวนชวั่ โมงสอน/สปั ดาห์

คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ (ค 21101) ม.1 3

คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ (ค 22101) ม.2 3

คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์ (ค 23101) ม.3 3

คณิตศาสตร์ คณิตชวนคดิ (ค 21201) ม.1 1

คณติ ศาสตร์ คณติ ชวนคิด (ค 22201) ม.2 1

คณติ ศาสตร์ คณิตชวนคดิ (ค 23201) ม.3 1

ศลิ ปะ ศิลปะ (ศ 21101) ม.1 1

ศลิ ปะ ศลิ ปะ (ศ 22101) ม.2 1

ศลิ ปะ ศลิ ปะ (ศ 23101) ม.3 1

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น กจิ กรรมชุมนมุ คณติ ศาสตร์ ม.1 – ม.3 1

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน กิจกรรมแนะแนว ม.2 1

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี ม.1 – ม.3 1

- กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ ม.1 – ม.3 1

รวมช่ัวโมงสอน/สัปดาห์ 19

2

1.2 งานส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการเรยี นรู้ จานวน 5 ช่วั โมง/สปั ดาห์

ท่ี ภาระงาน จานวนชัว่ โมง/สัปดาห์

1 การวดั และประเมนิ ผล 5

2 ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) 2

3 จดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ 3

4 การจดั ทาส่ือการเรยี นการสอน 2

รวมช่ัวโมงสอน/สปั ดาห์ 12

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา จานวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์

ที่ ภาระงาน จานวนช่ัวโมง/สปั ดาห์

1 หวั หนา้ งานวิชาการ 3

2 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1

3 งานวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียนรู้ 1

4 งานพฒั นาหลักสตู รของโรงเรียน 1

5 งานวจิ ัยพฒั นาคุณภาพการศึกษา 1

รวมช่ัวโมงสอน/สัปดาห์ 7

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เน้น จานวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์

ท่ี ภาระงาน จานวนชั่วโมง/สัปดาห์

1 กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ 1

รวมช่ัวโมงสอน/สปั ดาห์ 1

3

2. งานทจี่ ะปฏิบัตติ ามมาตรฐานตาแหน่งครู

ตวั ช้วี ัด(Indicators)

งาน(Tasks) ผลลพั ธ(์ Outcomes) ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ กับผู้เรียน

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ทจี่ ะดาเนินการพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่แสดงใหเ้ ห็นถึงการ
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ตามขอ้ ตกลง ท่คี าดหวังให้เกดิ ข้ึนกับ เปล่ียนแปลงไปในทาง
ท่ีดีขึ้นหรือมกี ารพัฒนา
ใน 1 รอบการประเมนิ ผู้เรียน

มากขน้ึ หรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สูงข้ึน

1. ด้านการจดั การเรยี นรู้

ลักษณะงานทเ่ี สนอใหค้ รอบคลมุ ถึงการสร้างและหรอื พัฒนาหลกั สตู รการออกแบบการจัดการเรยี นรู้การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

การสร้างและหรือพัฒนาส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรู้ การศึกษา วเิ คราะห์

สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และ การอบรมและพัฒนา

คุณลักษณะท่ีดขี องผ้เู รียน

1.1 สร้างและหรอื พฒั นาหลกั สูตร วิเค ราะ ห์หลั กสูต ร ผู้เรียนได้รับการจัดการ ผเู้ รยี นร้อยละ 80 ผ่าน

มาตรฐานการเรียนรู้ เพื่อ เรียนรู้ตามหลักสูตรและมี เกณฑ์ตามตัวชี้วัด (1.2,

ไปออกแบบหน่วยการ ความรู้ตามมาตรฐานและ 1.3, 1.4, 1.5, 1.6)

เรียนรูร้ ายวิชาคณิตศาสตร์ ตวั ชีว้ ัด ผู้เรียนร้อยละ 75 มี

ให้สอดคล้องกับหลักสูตร ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ความ รู้ผ่า นเกณ ฑ์กา ร

สถานศึกษาและหลักสูตร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินตามที่สถานศึกษา

แกนกลางการศึกษาข้ัน การอ่าน การ เขีย น คิ ด กาหนด (1.2, 1.3, 1.4,

พื้ น ฐ า น พุ ท ธ ศั ก ร า ช วเิ คราะห์. 1.5, 1.6)

2 5 5 1 ( ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง ผู้ เ รี ย น มี ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ผู้เรียนร้อยละ 70 มี

2561) ในรูปแบบแผน- ทางการเรยี นที่สูงข้ึน ผลสัมฤทธสิ์ ูงขนึ้ (1.2, 1.3,

การจดั การเรียนรู้ 1.4, 1.5, 1.6)

ผู้เรียนร้อยละ 75 มี

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ต้ังแตร่ ะ ดับ ดี ขน้ึ ไป (1.2,

1.3, 1.4, 1.5, 1.6)

1.2 ออกแบบการจัดการเรยี นรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้ เ รี ย นมี ค วา ม รู้ ต า ม

เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ มาตรฐานและตัวช้ีวัดตาม

ทักษะตาม คุณลักษณะ หลกั สูตร

ประจาวิชา คุณลักษณะ ผู้เรียนได้รับการพัฒนา

อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ ในด้านคุณลักษณะอันพึง

สมรรถนะที่สาคัญตาม ประสงค์

หลักสูตรเพ่ือให้ผู้เรียนได้

พัฒนาสมรรถนะและได้

เรียนรู้เต็มตามศักยภาพ

ใหส้ อดคล้องกบั บริบทของ

สถานศึกษา ผู้เรียน และ

ชุมชน

4

ลักษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน(Tasks) ผลลพั ธ(์ Outcomes) ตัวชีว้ ัด(Indicators)
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ทีจ่ ะดาเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดขนึ้ กบั ผู้เรียน
ทีค่ าดหวังให้เกดิ ขนึ้ กับ ท่แี สดงให้เหน็ ถงึ การ
ตามขอ้ ตกลง เปลีย่ นแปลงไปในทาง
ใน 1 รอบการประเมิน ผเู้ รียน ทีด่ ีขึ้นหรือมกี ารพฒั นา
มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ข้ึน

จัดทาแผนการจัดการ

เ รี ย น รู้ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร

เรียนรู้คณิตศาสตร์ ที่เน้น

ผู้เรียนเปน็ สาคัญ

1.3 จัดกจิ กรรมการเรียนรู้  จัดทาแผนการจัดการ ผู้เรียนได้รับการพัฒนา

เรียนรู้ในรายวิชาคณิต- ตามศักยภาพ ความแตกต่าง

ศาสตร์ที่มีการอานวย ของแต่ละบคุ คล

ความสะดวกในการเรียนรู้ ผู้เรียนมีนิสัยใฝ่เรียนรู้

และส่งเสริมผู้เรียนได้ มุ่งม่ันในการทางานและ

พัฒนาเต็มตามศักยภาพ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น

เรียนรู้และทางานร่วมกัน ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

โดยมีการปรับประยุกต์ให้ ผูเ้ รยี นเกิดความพงึ พอใจ

ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม ต่อการจัดกิจกรรมการเรียน

แตกตา่ งของผเู้ รยี น กา ร สอนร าย วิชา ค ณิ ต -

ศาสตร์ และมีส่วนร่วมใน

การจัดกิจกรรมการเรียน

การสอน

1.4 สรา้ งและหรือพัฒนาสอ่ื นวัตกรรม พัฒนาส่ือ นวัตกรรม ผู้เรียนได้รับความรู้จาก

เทคโนโลยแี ละแหล่งเรยี นรู้ เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ การใช้สื่อทีห่ ลากหลาย และ

ในรูปแบบท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับกิจกรรมการ

เช่นใบงานระดับช้ันมัธยม- เรยี นรู้

ศึกษาปีท่ี 1 – 3 สื่อ เกม ผู้เรียนได้รับความรู้จาก

24 ในรปู แบบตา่ ง การใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลาก-

หลายและสอดคล้องกับการ

เรียนรู้

1.5 วัดและประเมินผลการเรยี นรู้ สร้างเครื่องมือการวัด ผู้เรียนได้รับการประ-

และประเมินผลการเรียนรู้ เมินผลการเรียนรู้ที่หลาก-

ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ห ล า ย ไ ด้ แ ก่ ก า ร ท า

รายวิชาตรงตามหลักสูตร แบบทดสอบ การชิ้นงาน

และแผนการจัดการเรยี นรู้ และได้รับการประเมินอย่าง

ที่ต้ังไว้ มีการวัดและประ- ตอ่ เน่ือง

เมินผลด้วยวิธกี ารท่ีหลาก-

หลาย เหมาะสมและมี

ความสอดคล้องกับมาตร-

ฐานการเรยี นรู้ใหผ้ ้เู รียนได้

5

ตวั ชีว้ ัด(Indicators)

งาน(Tasks) ผลลพั ธ(์ Outcomes) ทจี่ ะเกิดขนึ้ กับผเู้ รยี น

ลักษณะงานท่ีปฏบิ ัติ ทจี่ ะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ การ
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ตามข้อตกลง ทค่ี าดหวงั ให้เกดิ ขน้ึ กบั เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ทด่ี ขี นึ้ หรอื มกี ารพัฒนา
ใน 1 รอบการประเมนิ ผเู้ รยี น

มากขน้ึ หรอื ผลสมั ฤทธิ์

สูงขึ้น

พั ฒ น า ก า ร เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง

ต่อเนือ่ ง

1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ ศึกษาข้อมูลนักเรียน ผู้เรียนได้รับการแก้-

เพ่ือแก้ไขปญั หา หรอื พัฒนาการเรียนรู้ เป็นราย บุคค ลเพื่อห า ปัญหาหรือพัฒนาในด้าน

แนวทางแก้ปัญหาและ การเรยี นรู้

จัดทาวิจยั ในชน้ั เรียนโดยมี ผู้เรียนได้รับการแก้-

การศึกษา วิเคราะห์และ ปั ญ ห า ห รื อ พั ฒ น า คุ ณ -

สังเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

หรือพัฒนาการเรียนรู้ท่ี ผู้เรียนได้รับการแก้-

ส่ ง ผ ล ต่ อคุ ณ ภ า พข อ ง ปั ญ ห า ห รื อ พั ฒ น า ด้ า น

ผู้เรียน พบว่าผู้เรียนมี สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น

ปัญหาเกี่ยวกับการท่อง ผู้ เ รี ย น ไ ด้ รั บ ก า ร

สูตรคณู แ ก้ ปั ญ ห า โ ด ย ใ ช้

กระบวนการวจิ ยั ในช้ันเรียน

1.7 จัดบรรยากาศทีส่ ง่ เสรมิ และพฒั นา มีการจัดบรรยากาศท่ี ผู้เรียนได้รับการพัฒนา  ผู้เรียนร้อยละ 80 มี

ผู้เรยี น ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียน ในด้านสมรรถนะสาคัญของ ความพึงพอใจในการเรียน

ให้เกิดกระบวนการคิด ผู้เรยี น วชิ าคณิตศาสตร์

ทักษะชีวิต ทักษะการ ผู้เรียนมีความสุขในการ

ทางาน ทักษะการเรียนรู้ เรียนรู้

และนวัตกรรม และทักษะ

ด้านสารสนเทศ สื่อและ

เทคโนโลยี

จั ด บ ร ร ย า ก า ศ ห้ อ ง -

เ รี ย น ใ ห้ ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น

ห้องเรียนคุณภาพ (On

site)

นักเรียนมีส่วนร่วมใน

การจัดบรรยากาศในชั้น

เรยี น

1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะท่ีดี มีการอบรมบ่มนิสัยให้ ผู้เรียนได้รับการพัฒนา  ผู้เรียนร้อยละ 80มี

ของผ้เู รยี น ผู้เรียนมีคุณธรรม จริย- ในด้านคุณลักษณะอันพึง คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์

ธรรม คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผ้เู รียน ตามท่ีสถานศึกษากาหนด

ปร ะส งค์ แล ะค่ านิย ม ไว้

ความเป็นไทย

6

ตวั ช้ีวดั (Indicators)

งาน(Tasks) ผลลัพธ(์ Outcomes) ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ กับผู้เรียน

ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ ท่ีจะดาเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถงึ การ
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ตามขอ้ ตกลง ที่คาดหวังให้เกดิ ขึ้นกบั เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ท่ดี ขี ึ้นหรอื มีการพัฒนา
ใน 1 รอบการประเมิน ผเู้ รยี น

มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธิ์

สงู ขนึ้

2. ด้านการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ

การจดั การเรยี นรู้

ลกั ษณะงานทีเ่ สนอให้ครอบคลุมถึงการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของผเู้ รียนและรายวิชาการดาเนนิ การตามระบบดแู ลชว่ ยเหลือ

ผู้เรียน การปฏิบัติงานวิชาการ และงานอ่ืน ๆ ของสถานศึกษาและการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองภาคีเครือข่าย และหรือ

สถานประกอบการ

2.1 จัดทาขอ้ มลู สารสนเทศของผู้เรียน มีการจัดทาข้อมูลใน นักเรียนมีระบบข้อมูล ผู้เรียนร้อยละ 80 มี

และรายวิชา ระบ บสา รสนเทศ ของ สารสนเทศ สะดวกต่อการ สารสนเทศทเ่ี ปน็ ปัจจบุ ัน

ผู้เรียนและงานประจาช้ัน ใช้งานและมีประสิทธิภาพ

เพื่อใช้ในการ ส่งเส ริ ม และสามารถนาข้อมูลมา

สนับสนุนการเรียนรู้ และ ใชไ้ ดท้ ันที

การพัฒนาคุณภาพของ

ผเู้ รยี น

มีการวิเคราะห์ผู้เรียน

ผ่านการประเมิน SDQ

การเยย่ี มบ้าน

มีการแจ้งผลการเรียน

แ ล ะ น า ผ ล ก า ร เ รี ย น

น า ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม

สนับสนุนการเรียนรู้และ

พัฒนาคุณภาพของผ้เู รียน

2.2 ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ร ะ บ บ ดู แ ล ออกเย่ียมบ้าน นัก- นัก เ รี ย น ไ ด้ รั บ แ ก้ ไ ข ผู้ เ รี ย น ร้ อ ย ล ะ 8 0

ช่วยเหลือผู้เรียน เรียนอย่างน้อยภาคเรียน ปัญหานักเรียนในด้านการ ได้รับการช่วยเหลือผ่าน

ละ 1 คร้ัง เ รี ย น รู้ แ ล ะ ร ะ บ บ ดู แ ล ร ะ บ บ ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ

มีการใช้ข้อมูลสาร- ชว่ ยเหลอื นักเรียนรายบุคคล นกั เรยี น

สนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน ร ว ม ท้ั ง ก า ร จั ด ห า

รายบคุ คล และมีการประ- ทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่

สานความร่วมมือกับผู้ที่มี ขาดทนุ ทรพั ย์

ส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา นักเรียนได้รับการสนับ-

และแกป้ ญั หาผเู้ รียน สนุนช่วยเหลือ ดูแลทั้งด้าน

มีการใช้ข้อมูลสาร- วิชาการ ลักษณะอันพึง

สนเทศเกีย่ วกบั ผู้เรียนเป็น ประสงค์

รายบุคคล และประสาน นักเรียนได้รับการแก้ไข

ความร่วมมือกับผู้มีส่วน และพัฒนาทั้งด้านวิชาการ

เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและ ลักษณะอนั พึงประสงค์

แก้ไขผ้เู รยี น

7

ตัวชว้ี ัด(Indicators)

งาน(Tasks) ผลลพั ธ(์ Outcomes) ที่จะเกดิ ขน้ึ กับผเู้ รยี น

ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ ที่จะดาเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่แสดงให้เหน็ ถงึ การ
ตามมาตรฐานตาแหนง่ ตามข้อตกลง ทค่ี าดหวงั ให้เกดิ ขนึ้ กบั เปลีย่ นแปลงไปในทาง
ที่ดีขึน้ หรือมกี ารพัฒนา
ใน 1 รอบการประเมิน ผู้เรยี น

มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ขน้ึ

2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอ่ืน ๆ ปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้า ผู้เรียนได้เรียนรู้ในกิจ- ผู้เรียนร้อยละ 80 มี

ของสถานศกึ ษา งานวิชาการ เพ่ือยกระดับ กรรมที่หลากหลายตาม ความพึงพอใจในการจัด

คุณภาพการจัดการศึกษา โครงการและกิจกรรมที่ทาง กิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น

ของสถานศกึ ษา โรงเรียนได้จัดข้ึนตลอดปี ตั้งแต่ระดับ ดี ข้นึ ไป

ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้า การศกึ ษา

หั ว ห น้ า ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร

เรียนรู้คณิตศาสตร์ ในการ

ด า เ นิน กิจ กร ร ม ต่ า ง ๆ

ร ว ม ท้ั ง ก า ร ว า ง แ ผ น

แ น ว ท า ง ใ น ก า ร จั ด ก า ร

เรียนรแู้ บบเนน้ ผู้เรียนเป็น

สาคญั

ปฏิบัติหน้าที่นายทะ-

เบียน โดยจัดเก็บ ข้อมูล

สารสนเทศของผู้เรียนให้

เปน็ ระบบและเป็นปจั จุบัน

2.4 ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ประสานความร่วมมือ นั ก เ รี ย น ไ ด้ รั บ ก า ร  ผู้เรียนร้ อยละ 80

ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ กับผู้ปกครอง ภาคีเครือ- สนับสนุน ช่วยเหลือดูและ ได้รับการช่วยเหลือด้าน

สถานประกอบการ ข่ายหรือสถานประกอบ- ทง้ั ด้านวิชาการ คุณลักษณะ การเรียน ด้านสุขภาพ

การ เพื่อร่วมกันพัฒนา อนั พึงประสงค์ และด้านพฤติกรรม

ผูเ้ รยี น นักเรียนได้รับการแก้ไข

ร่วมกิจกรรมประชุม ด้านการเรียน ด้านสุขภาพ

ผู้ปกครองภาคเรียนละ 1 และด้านพฤติกรรม

ครง้ั

จัดให้มีช่องทางในการ

ติดตอ่ สอื่ สารกบั ผปู้ กครอง

และภาคีเครือขา่ ย

8

ตัวช้ีวดั (Indicators)

งาน(Tasks) ผลลัพธ(์ Outcomes) ท่จี ะเกดิ ขน้ึ กับผู้เรียน

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ ที่จะดาเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เหน็ ถึงการ
ตามมาตรฐานตาแหน่ง ตามข้อตกลง ทคี่ าดหวงั ให้เกิดข้นึ กับ เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ทดี่ ีขึน้ หรอื มกี ารพฒั นา
ใน 1 รอบการประเมิน ผเู้ รยี น

มากขน้ึ หรอื ผลสัมฤทธิ์

สูงข้นึ

3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชพี

ลักษณะงานทเ่ี สนอให้ครอบคลุมถงึ การพัฒนาตนเองอยา่ งเปน็ ระบบ และต่อเนื่อง การมสี ่วนร่วมในการแลกเปลยี่ นเรยี นร้ทู าง

วิชาชีพ เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และการนาความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ในการ

พัฒนา การจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรยี น และการพัฒนานวตั กรรม การจดั การเรยี นรู้

3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ มีการพัฒนาตนเองที่ นักเรียนได้เรียนรู้ด้วย  ผู้เรียนร้อยละ 80

ตอ่ เนอื่ ง หลากหลาย เช่น การ วธิ ีการที่หลากหลาย ได้รับการแก้ปัญหาหรือ

อบรม การสัมมนา การ พัฒนา จากการจัดกิจ-

เรียนรู้ดว้ ยตนเอง เพ่ือให้มี กรรมการเรียนการสอน

ความรู้ ความสามารถด้าน ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และมีความเหมาะสมกับ

และเทคโนโลยี เนื้อหา ส่งผลให้นักเรียนมี

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่

สงู ขึ้น

 ผู้เรียนร้อยละ 80 มี

ความพึงพอใจในการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอน

ของครู

3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม นักเรียนได้รับการแก้ไข ผู้ เ รี ย น ร้ อ ย ล ะ 7 5

เรยี นรูท้ างวชิ าชีพ แลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่ือ ด้านการเรียน ด้านสุขภาพ ได้รับการช่วยเหลือด้าน

แก้ปัญหาผู้เรียนด้านการ และด้านพฤตกิ รรม การเรียน ด้านสุขภาพ

เรียน ด้านสุขภาพ และ และดา้ นพฤตกิ รรม

ด้านพฤติกรรม ในกลุ่ม

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้

คณิตศาสตร์

3.3 นาความรู้ ความสามารถ ทักษะท่ี นาความรู้ความสามา- นักเรียนได้รับการแก้ไข ผู้ เ รี ย น ร้ อ ย ล ะ 7 5
รถ ทักษะท่ีได้จากการ ด้านการเรียน ด้านสุขภาพ ได้รับการช่วยเหลือด้าน
ไดจ้ ากการพฒั นาตนเอง และวชิ าชีพ พัฒนาตนเองและวิชาชีพ และด้านพฤตกิ รรม

ม า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ก า ร การเรียน ด้านสุขภาพ

จัดการเรียนรู้ การพัฒนา และด้านพฤติกรรม

คุณภาพผู้เรียน และการ

พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม ก า ร

จัดการเรียนรู้ ให้ทนั กับการ

เปลี่ยนแปลงในสถานการณ์

ปัจจบุ นั

9

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA1 ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการ

จัดการเรยี นรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหวา่ งผู้อานวยการสถานศกึ ษาและขา้ ราชการ
ครผู ู้จดั ทาขอ้ ตกลง

2. งาน (Tasks) ท่ีเสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบหลักที่
สง่ ผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนร้ขู องผเู้ รียน และให้นาเสนอรายวิชาหลักท่ีทาการสอน โดยเสนอในภาพรวม
ของรายวิชาหลักท่ีทาการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีท่ีสอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหน่ึงได้
โดยจะตอ้ งแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานตาแหนง่ และคณะกรรมการประเมนิ ผลการพฒั นางาน
ตามขอ้ ตกลงสามารถประเมินไดต้ ามแบบการประเมนิ PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสาคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
(Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการ
พัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดาเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพ
การจดั การเรียนรใู้ นบรบิ ทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธก์ ารเรียนรขู้ องผู้เรยี นที่เกดิ จากการพัฒนางาน
ตามข้อตกลงเปน็ สาคัญ โดยไมเ่ นน้ การประเมินจากเอกสาร

10

สว่ นที่ 2 ข้อตกลงในการพฒั นางานทีเ่ ปน็ ประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นท้าทาย เร่ือง การพัฒนาทักษะการคิดคล่อง คานวณคล่อง ด้วยสูตรคูณพาเพลินและเกม 24 ของ
นกั เรยี นระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
1. สภาพปญั หาการจัดการเรียนรู้และคณุ ภาพการเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี น

ในปัจจุบันมีนักเรียนจานวนไม่น้อยที่ไม่ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เน่ืองจากมีความคิดในแง่ลบ
เก่ียวกับวิชาคณติ ศาสตร์ เชน่ ยาก นา่ เบือ่ เรียนไม่เก่ง ซง่ึ มีแต่นักเรียนท่ีเก่งเท่าน้ันท่ีจะเรยี นคณติ ศาสตรร์ ู้เรื่อง
และมีนักเรียนบางคนบอกว่าเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ เรียนไปก็ไม่ได้ใช้ เพราะมีเครื่องคิดเลข เป็นต้น ซึ่งจาก
ความคิดเหลา่ น้ีจะนาพาไปสู่ความไมต่ ้ังใจเรียน แต่ถา้ มองใหล้ กึ ลงไปในปัญหาจริงๆ แลว้ การท่ีนักเรยี นไมช่ อบ
เรียนคณิตศาสตร์เป็นเพราะมีพ้ืนฐานในการคานวณที่ไม่ดี เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร หรือ
แม้กระท่ังการท่องสูตรคูณที่ใครหลายคนมองข้าม ไม่สนใจ ไม่ใส่ใจในการท่อง ซ่ึงการท่องสูตรคูณเป็นสิ่งที่
สาคัญในการคิดคานวณทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา และนักเรียนที่ท่องสูตรคูณไม่คล่อง จะคิด
คานวณได้ช้า และอาจคานวณแล้วได้คาตอบที่ผิดและทาให้ไม่สนุกกับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และมี
พฤติกรรมการติดการใช้เครื่องคิดเลขแทนการคานวณด้วยตนเอง ซ่ึงการแก้ปัญหามีด้วยกันหลายวิธี เช่น การ
ให้นักเรยี นท่องสูตรคณู พร้อมกนั หรอื ให้นกั เรียนท่องเปน็ รายบคุ คล เป็นตน้

ผ้สู อนได้ทาการสอนในรายวิชาคณิตศาสตรใ์ นระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ของโรงเรียนบา้ นแม่ยางห้า
จากการสงั เกตขณะสอนและผลการเรียนพบว่านักเรียนท่ีขาดทักษะทางด้านการคานวณมีผลการเรียนทไ่ี ม่ค่อย
ดีนัก เม่ือผู้สอนสอบถามผู้เรียนเกี่ยวกับการคูณหรือสูตรคูณ จะมีนักเรียนที่ตอบคาถามไม่ได้หรือตอบผิด ซ่ึง
เปน็ ผลจากการทนี่ ักเรยี นยงั ขาดทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ และส่วนหน่ึงมาจากการท่องสูตรคูณไม่แม่นยา
เท่าที่ควร ดังนั้นครูผสู้ อนจึงจะพัฒนาทักษะการคิดคล่อง คานวณคล่อง ด้วยสูตรคูณพาเพลินและเกม 24 ของ
นักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
2. วธิ ีการดาเนินการให้บรรลุผล

2.1 การวเิ คราะหผ์ เู้ รยี น
2.1.1 ทักษะที่มีมาก่อน (Prerequisite Skill) เพ่ือให้ทราบว่าผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน หรือ

ทักษะท่เี กีย่ วขอ้ งกับบทเรียนนั้นว่ามอี ะไรบา้ ง กอ่ นที่จะเรียน
2.1.2 ทักษะเป้าหมาย (Target Skill) ผู้เรียนมีความชานาญในทักษะที่จะสอนนั้นมาก่อน

หรือไม่ เพ่ือจะได้สอนให้ตรงกับทว่ี างจุดมงุ่ หมายไว้
2.1.3 ทักษะในการเรียน (Study Skill) ผู้เรียนมีความสามารถขั้นต้นทางด้านภาษา การ

อ่านเขียน การคานวณ ฯลฯ ซ่งึ เป็นส่งิ จาเปน็ ท่ีจะช่วยในการเรียนรู้น้นั ในระดับมากนอ้ ยเพยี งไร
2.1.4 เจตคติ (Attitudes) ผู้เรียนมีเจตคติอย่างไรต่อวิชาท่ีจะเรียนน้ัน การวิเคราะห์

ลักษณะผู้เรียนน้นั ถงึ แม้วา่ จะเปน็ การกระทาเพียงผิวเผินกต็ าม แตก่ ็สามารถนาไปใช้ในการเลือก สือ่ ที่
เหมาะสมได้ เช่น หากผู้เรยี นมีทักษะในการอ่านตา่ กวา่ เกณฑ์ก็สามารถช่วยได้ด้วยการใช้สือ่ ประเภทท่ี
มิใช่สื่อส่ิงพิมพ์ หรือถ้าหากผู้เรียนในกลุ่มนั้นมีความแตกต่างกันมาก ก็สามารถให้เรียนด้วยชุดการ
เรยี นรายบคุ คลได้
2.1 กาหนดส่ิงท่ีจะพฒั นา

ครูผู้สอนได้ศึกษาสภาพปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่านักเรียนมีปัญหาใน
เร่ืองของการท่องสูตรคูณและนักเรียนบางคนท่องสูตรคูณได้ แต่ยังไม่คล่องและแม่นยา อีกทั้งยังพบ
ปัญหาพ้ืนฐานของการคานวณวิชาคณิตศาสตร์ จากปัญหาท่ีกล่าวมาทาให้ครูผู้สอนคิดหาวิธีการ

11

แก้ปัญหาของนักเรียนดังกล่าว โดยครูผู้สอนตั้งเป้าหมายในการแก้ปัญหาคือ 1) ผู้เรียนสามารถท่อง
สตู รคูณได้คล่องและมีความแม่นยา 2) ผู้เรียนสามารถคานวณการบวก การลบ การคูณ และการหาร
ได้
2.2 กาหนดนวัตกรรม

ครูผู้สอนได้ศึกษาค้นคว้าของกฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) กล่าวว่าการสร้างความ
เชื่อมโยงระหวา่ งส่ิงเร้ากับการตอบสนองดว้ ยการฝึกจะทาให้เกิดความแน่นแฟน้ และม่นั คง แต่ถ้าการ
ฝึกหัดปฏิบัติไม่ต่อเน่ืองกัน หรือการไม่ได้นาไปใช้จะทาให้เกิดการลืมได้ ความหมายของกฎแห่งการ
ฝึกอาจสรุปได้ดังนี้ 1) การเช่ือมโยง หรือข้อต่อจะกระชับม่ันคงย่ิงขึ้น ถ้ามีการใช้และจะเสื่อมลงหรือ
อ่อนลง (Weakness of Connection) เม่ือไม่ได้ใช้ 2) สิ่งใดมีการกระทาซ้าๆ หรือมีการฝึกเสมอๆ ผู้
ฝึกย่อมกระทาส่ิงน้ันได้ดี สิ่งใดที่ไม่ได้ทานานๆ ย่อมทาสิ่งนั้นไม่ได้เหมือนเดิม 3) พฤติกรรมใดๆ ได้มี
การกระทาต่อเนอ่ื งกันอยู่ย่อมมีผลให้การกระทานั้นสมบูรณย์ ิ่งขึ้นถ้าพฤติกรรมใดไม่มโี อกาสได้ใช้หรือ
เว้นว่างไป หรอื ไม่ได้กระทาซา้ ๆ บ่อยๆ พฤติกรรมนั้นก็มีแนวโน้มที่จะถูกลืม หรือแม้จะไม่ลืมก็ไม่อาจ
ทาให้ถูกต้องสมบูรณ์ขึ้นได้ จากการการศึกษาค้นคว้าแนวคิดทฤษฎีดังกล่าวกับจุดประสงค์ในการ
พัฒนาคณุ ลกั ษณะของผ้เู รียน ครูผู้สอนนามาผสมผสานกบั ความรู้ ความคิด และประสบการณข์ องตน
กาหนดเป็นกรอบแนวคิดของ กระบวนการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย ส่อื การสอนหรือวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ฯลฯ ที่คิดว่าเหมาะสมท่ีสุดที่ใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนให้ได้ตาม
ความต้องการ
2.3 สรา้ งและพัฒนา

ครูผู้สอนจึงได้จัดทานวัตกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนเกี่ยวกับสูตรคูณและทักษะการคิดคานวณ
ขึน้ มา โดยครูผู้สอนจะพัฒนาผู้เรียนไปพร้อมๆกันโดยก่อนเรียนคาบวิชาคณิตศาสตรค์ รูจะให้นักเรียน
ท่องสูตรคูณและทดสอบสูตรคูณพาเพลินก่อนเรียนทุกครั้ง และเวลาว่างของนักเรียนครูผู้สอนจะให้
ผเู้ รียนทาเกม 24 โดยครูผู้สอนมีนวัตกรรมเกม 24 ทหี่ ลากหลายรปู แบบเช่น 1) ซดี ี 2) ลอตเตอรี่ 3)
ไอศครีม 4) ลูกชน้ิ 5) เตา่ ตัวน้อย 6) ปลา 7) ดนิ สอ 8) แซนวซิ คิด 24 และ 9) เขยา่ คิด พชิ ติ คาตอบ
2.4 ใชใ้ นสถานการณ์จริง

ครูผู้สอนนานวัตกรรมไปใช้กับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และปรับปรุง แก้ไขจน
ม่ันใจในคณุ ภาพของนวตั กรรม และนาไปใชก้ ับผู้เรียนในคาบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ตลอดภาคเรียนท่ี
2 ปีการศกึ ษา 2564
2.5 ประเมินผลการใช้

โดยครูผสู้ อนประเมินผเู้ รยี นไดด้ งั นี้ 1) การทดสอบสูตรคูณโดยการทอ่ งสตู รคณู แบบท่องปาก
เปลา่ ต้ังแตแ่ ม่ 2 ถึงแม่ 12 2) ทดสอบจากการเปิดป้ายทายผลคณู จานวน 30 แผ่น 3) การทา
แบบทดสอบ “สตู รคูณพาเพลิน” 4) การทาชิน้ งานเกม 24
3. ผลลัพธ์การพัฒนาท่คี าดหวงั
3.1 เชงิ ปริมาณ
นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ได้รับการพัฒนาทักษะการคิด
คล่อง คานวณคล่อง ด้วยสูตรคูณพาเพลินและเกม 24 และทาการทดสอบ “สูตรคูณพาเพลิน”คดิ เปน็ ร้อยละ
80 ของเวลาเรียนทัง้ หมด พรอ้ มด้วยชิ้นงาน เกม 24 จานวน 1 ช้นิ

12

3.2 เชงิ คุณภาพ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 สามารถท่องสูตรคูณได้อย่าง
คล่องแคล่ว และเลน่ เกม 24 ได้

ลงชื่อ.............................................. ผูจ้ ัดทาข้อตกลงในการพฒั นางาน
(นายเมธี วรรณวงค์)

ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
1 ตลุ าคม 2564

ความเหน็ ของผู้อานวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบใหเ้ ป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไมเ่ ห็นชอบใหเ้ ปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน โดยมขี ้อเสนอแนะเพ่ือนาไปแก้ไข และเสนอ

เพ่ือพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้
..................................................................................................................................................

.................................................................................................................................. ............................................
...................................................................................... ........................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ...................................................................
(นางสาวนฤสรณ์ ขันธะสีมา)

ตาแหน่งผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านแม่ยางห้า
1 ตลุ าคม 2564


Click to View FlipBook Version