The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน 2551

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watpamok, 2022-07-04 06:44:01

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน 2551

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน 2551

พระราชบญั ญตั ิ
ระเบียบขา้ ราชการพลเรอื น

พ.ศ. ๒๕๕๑

-------------------

ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.

ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
เปน็ ปีท่ี ๖๓ ในรชั กาลปจั จบุ ัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศวา่

โดยที่เป็นการสมควรปรบั ปรงุ กฎหมายว่าดว้ ยระเบยี บขา้ ราชการพลเรือน
พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔ ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจกั รไทย บญั ญตั ใิ ห้กระทาได้โดยอาศยั อานาจตามบทบัญญัตแิ หง่ กฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอม
ของสภานติ บิ ัญญตั ิแห่งชาติ ดงั ตอ่ ไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๕๑”
มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ต้นไป
มาตรา ๓ ใหย้ กเลิก
(๑) พระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕
(๒) พระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการพลเรอื น (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗
(๓) พระราชบัญญัตริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรอื น (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๘
(๔) พระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการพลเรือน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๔
มิให้นาคาสั่งหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่ ๓๘/๒๕๑๙ ลงวันท่ี ๒๑ ตุลาคม
๒๕๑๙ มาใชบ้ งั คบั แก่ขา้ ราชการพลเรอื น
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั ิน้ี
“ข้าราชการพลเรือน” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งต้ังตามพระราชบัญญัติน้ี
ใหร้ ับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรมฝ่ายพลเรอื น
“ข้าราชการฝ่ายพลเรอื น” หมายความว่า ขา้ ราชการพลเรอื น และขา้ ราชการอ่ืนในกระทรวง
กรมฝา่ ยพลเรอื น ตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบยี บขา้ ราชการประเภทนัน้

๑ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๒๕/ตอนที่ ๒๒ ก/หนา้ ๑/๒๕ มกราคม ๒๕๕๑

“กระทรวง” หมายความรวมถึงสานกั นายกรฐั มนตรแี ละทบวง
“รัฐมนตรีเจ้าสังกัด” หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีว่าการทบวง
และหมายความรวมถึงนายกรัฐมนตรีในฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาสานักนายกรัฐมนตรี และนายกรัฐมนตรี
หรอื รฐั มนตรีในฐานะเปน็ ผ้บู ังคับบัญชาสว่ นราชการทม่ี ีฐานะเป็นกรมและไมส่ งั กัดกระทรวง
“ปลัดกระทรวง” หมายความรวมถงึ ปลดั สานักนายกรฐั มนตรแี ละปลดั ทบวง
“กรม” หมายความรวมถงึ ส่วนราชการท่ีมฐี านะเป็นกรม
“อธบิ ดี” หมายความวา่ หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรอื เทยี บเท่ากรม
“ส่วนราชการ” หมายความว่า ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม และส่วนราชการที่จัดต้ังข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและมีฐานะ
ไม่ต่ากวา่ กรม
มาตรา ๕ ให้นายกรฐั มนตรรี ักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

ลักษณะ ๑
คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน

มาตรา ๖ ให้มีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.”
ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธาน
ปลัดกระทรวงการคลัง ผู้อานวยการสานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง และกรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง
จากผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการจัดการ และด้านกฎหมาย
ซึ่งมีผลงานเป็นท่ีประจักษ์ในความสามารถมาแล้ว และเป็นผู้ท่ีได้รับการสรรหาตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎ ก.พ. จานวนไม่น้อยกว่าห้าคน แต่ไม่เกินเจ็ดคน และให้เลขาธิการ ก.พ.
เป็นกรรมการและเลขานุการ

กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งต้องไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
กรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งท่ีรับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าท่ีในพรรคการเมือง
และมิได้เปน็ กรรมการโดยตาแหน่งอย่แู ล้ว

มาตรา ๗ กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้อยู่ในตาแหน่งได้คราวละสามปี
ถ้าตาแหน่งกรรมการว่างลงก่อนกาหนดและยังมีกรรมการดังกล่าวเหลืออยู่อีกไม่น้อยกว่าสามคน ให้กรรมการ
ทีเ่ หลอื ปฏิบตั หิ นา้ ทีต่ อ่ ไปได้

เมื่อตาแหน่งกรรมการว่างลงก่อนกาหนดให้ดาเนินการแต่งตั้งกรรมการแทนภายในกาหนด
สามสิบวัน เว้นแต่วาระของกรรมการเหลือไม่ถึงหน่ึงร้อยแปดสิบวันจะไม่แต่งตั้งกรรมการแทนก็ได้ ผู้ซึ่งได้รับ
แตง่ ตั้งเปน็ กรรมการแทนน้ันให้อย่ใู นตาแหนง่ ได้เพยี งเทา่ กาหนดเวลาของผูซ้ ่ึงตนแทน

กรรมการซง่ึ พน้ จากตาแหนง่ จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แตง่ ต้ังให้เปน็ กรรมการอีกก็ได้
ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ัง
กรรมการใหม่ ให้กรรมการน้ันปฏบิ ตั หิ น้าทีต่ ่อไปจนกวา่ จะไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แตง่ ตั้งกรรมการใหม่
มาตรา ๘ ก.พ. มอี านาจหนา้ ท่ดี งั ตอ่ ไปน้ี
(๑) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหาร
ทรัพยากรบุคคลภาครัฐในดา้ นมาตรฐานค่าตอบแทน การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมตลอดท้ัง
การวางแผนกาลังคนและดา้ นอื่น ๆ เพ่อื ใหส้ ่วนราชการใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการ
(๒) รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง เงินเพิ่ม
คา่ ครองชีพ สวัสดกิ าร หรอื ประโยชน์เกอ้ื กลู อื่นสาหรับข้าราชการฝ่ายพลเรอื นใหเ้ หมาะสม
(๓) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ของขา้ ราชการพลเรอื น เพือ่ สว่ นราชการใชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนนิ การ
(๔) ใหค้ วามเหน็ ชอบกรอบอตั รากาลังของส่วนราชการ
(๕) ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเก่ียวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือปฏิบัติการ
ตามพระราชบัญญัตินี้ รวมตลอดทั้งการให้คาแนะนาหรือวางแนวทางในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี
กฎ ก.พ. เม่ือได้รบั อนมุ ัตจิ ากคณะรัฐมนตรีและประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บงั คับได้
(๖) ตีความและวินิจฉัยปัญหาท่ีเกิดขึ้นเน่ืองจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ รวมตลอดท้ัง
กาหนดแนวทางปฏบิ ัติในกรณีท่ีเป็นปัญหา มติของ ก.พ. ตามข้อนี้ เม่ือได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว
ให้ใชบ้ งั คบั ไดต้ ามกฎหมาย
(๗) กากับ ดแู ล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลของข้าราชการ
พลเรือนในกระทรวงและกรม เพ่ือรักษาความเป็นธรรมและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล รวมท้ัง
ตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ในการน้ี ให้มีอานาจเรียกเอกสารและหลักฐาน
จากส่วนราชการ หรือให้ผู้แทนส่วนราชการ ข้าราชการหรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงข้อเท็จจริง และให้มีอานาจ
ออกระเบียบให้กระทรวง และกรมรายงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน
ทอ่ี ย่ใู นอานาจหนา้ ทีไ่ ปยัง ก.พ.
(๘) กาหนดนโยบายและออกระเบียบเกี่ยวกับทุนเล่าเรียนหลวงและทุนของรัฐบาล
ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการฝ่ายพลเรือน ตลอดจนจัดสรรผู้รับทุน
ทีส่ าเรจ็ การศกึ ษาแลว้ เขา้ รับราชการในกระทรวงและกรมหรือหน่วยงานของรฐั
(๙) ออกข้อบังคับหรือระเบียบเก่ียวกับการจัดการการศึกษาและควบคุมดูแลและ
การให้ความช่วยเหลอื บคุ ลากรภาครัฐ นักเรียนทุนเล่าเรียนหลวง นักเรียนทุนของรัฐบาล และนักเรียนทุนส่วนตัว
ที่อยู่ในความดูแลของ ก.พ. ตลอดจนการเก็บเงินชดเชยค่าใช้จ่ายในการดูแลจัดการการศึกษา ท้ังน้ี ให้ถือว่า
เงินชดเชยค่าใช้จ่ายในการดูแลจัดการการศึกษาเป็นเงินรายรับของส่วนราชการที่เป็นสถานอานวยบริ การ
อนั เปน็ สาธารณประโยชน์ ตามความหมายในกฎหมายวา่ ด้วยวิธกี ารงบประมาณ

(๑๐) กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อรับรองคุณวุฒิของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตร
วิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่น เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งต้ังเป็นข้าราชการพลเรือน และการกาหนด
อตั ราเงินเดือนหรอื คา่ ตอบแทน รวมทั้งระดบั ตาแหนง่ และประเภทตาแหนง่ สาหรบั คณุ วฒุ ดิ ังกล่าว

(๑๑) กาหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการเก่ียวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
ตามพระราชบัญญัตินี้

(๑๒) พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเก่ียวกับวัน เดือน ปีเกิด
และการควบคุมเกษียณอายขุ องขา้ ราชการพลเรือน

(๑๓) ปฏบิ ตั ิหนา้ ทอ่ี ื่นตามที่บัญญตั ิไว้ในพระราชบัญญัติน้ีและกฎหมายอื่น
การออกกฎ ก.พ. ตาม (๕) ในกรณีท่ีเห็นสมควร ให้สานักงาน ก.พ. หารือกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
เพื่อประกอบการพจิ ารณาของ ก.พ. ด้วย
มาตรา ๙ ในกรณีที่ ก.พ. มีมติว่ากระทรวง กรม หรือผู้มีหน้าท่ีปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือปฏิบัติการโดยขัดหรือแย้งกับแนวทางตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้
ให้ ก.พ. แจ้งให้กระทรวง กรม หรือผู้มีหน้าที่ปฏิบัติดังกล่าวดาเนินการแก้ไข ยกเลิก หรือยุติการดาเนินการ
ดงั กล่าวภายในเวลาท่ีกาหนดในกรณีที่กระทรวง กรม หรือผู้มีหน้าที่ปฏิบัติดังกล่าวไม่ดาเนินการตามมติ ก.พ.
ภายในเวลาท่ีกาหนดโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้ถือว่าปลัดกระทรวง อธิบดี หรือผู้มีหน้าท่ีปฏิบัติดังกล่าว
แลว้ แต่กรณี กระทาผิดวนิ ยั
การดาเนินการทางวินัยตามวรรคหนึ่งและการสั่งลงโทษให้เป็นอานาจหน้าท่ีของ ก.พ.
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขทก่ี าหนดในกฎ ก.พ.
ในกรณีที่ผู้ไม่ปฏิบัติการตามมติ ก.พ. ตามวรรคหนึ่งเป็นรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ให้ ก.พ. รายงาน
นายกรัฐมนตรเี พอ่ื พจิ ารณาสัง่ การตามท่เี หน็ สมควรต่อไป
มาตรา ๑๐ ในกรณีที่ ก.พ. เห็นว่าการบริหารทรัพยากรบุคคลในเรื่องใดท่ีข้าราชการ
ฝ่ายพลเรอื นทุกประเภทหรือบางประเภทควรมีมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เดียวกัน ให้ ก.พ. จัดให้มีการประชุม
เพื่อหารือร่วมกันระหว่างผู้แทน ก.พ. ผู้แทน ก.พ.ร. และผู้แทนองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการ
ฝ่ายพลเรอื นประเภทต่าง ๆ ท่เี ก่ียวข้อง เพอื่ กาหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์กลางการบริหารทรัพยากรบุคคล
ในเรื่องน้ันเสนอต่อคณะรัฐมนตรี และเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้วให้ใช้บังคับมาตรฐาน
หรือหลกั เกณฑก์ ลางดังกลา่ วกับขา้ ราชการฝา่ ยพลเรือนทกุ ประเภทหรือประเภทน้นั ๆ แลว้ แต่กรณี
ความในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับกับกรณีท่ีมปี ญั หาเกี่ยวกับวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลของรัฐ
ในเรือ่ งใดเรอ่ื งหน่ึงดว้ ยโดยอนุโลม
มาตรา ๑๑ ให้นาบทบญั ญตั ิวา่ ด้วยคณะกรรมการท่ีมีอานาจดาเนินการพิจารณาทางปกครอง
ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับแก่การประชุม ก.พ. โดยอนุโลม เว้นแต่กรณี
ตามมาตรา ๓๖ วรรคสอง

มาตรา ๑๒ ก.พ. มีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. วิสามัญ”
เพอ่ื ทาการใด ๆ แทนได้

จานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้ง อ.ก.พ. วิสามัญ รวมตลอดท้ังวิธีการได้มา
วาระการดารงตาแหนง่ และการพ้นจากตาแหนง่ ให้เป็นไปตามทก่ี าหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๑๓ ให้มีสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน ก.พ.”
โดยมีเลขาธิการ ก.พ. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและบริหารราชการของสานักงาน ก.พ. ขึ้นตรงต่อ
นายกรัฐมนตรี

สานกั งาน ก.พ. มีอานาจหน้าที่ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) เป็นเจ้าหน้าที่เก่ียวกับการดาเนินงานในหน้าท่ีของ ก.พ. และ ก.พ.ค. และดาเนินการ
ตามท่ี ก.พ. หรือ ก.พ.ค. มอบหมาย
(๒) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่กระทรวง กรม เก่ียวกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทาง
การบรหิ ารทรัพยากรบุคคลภาครฐั
(๓) พัฒนา ส่งเสริม วิเคราะห์ วิจัยเก่ียวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ
และมาตรฐานดา้ นการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลของขา้ ราชการพลเรอื น
(๔) ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลของข้าราชการพลเรอื น
(๕) ดาเนินการเกี่ยวกับแผนกาลังคนของข้าราชการพลเรอื น
(๖) เปน็ ศูนย์กลางข้อมลู ทรัพยากรบคุ คลภาครฐั
(๗) จัดทายุทธศาสตร์ ประสานและดาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ของข้าราชการฝ่ายพลเรอื น
(๘) ส่งเสริม ประสานงาน เผยแพร่ ให้คาปรึกษาแนะนา และดาเนินการเกี่ยวกับการจัด
สวัสดิการและการเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวติ สาหรบั ทรัพยากรบุคคลภาครฐั
(๙) ดาเนินการเกี่ยวกับทุนเล่าเรียนหลวงและทุนของรัฐบาลตามนโยบายและระเบียบ
ของ ก.พ. ตามมาตรา ๘ (๘)
(๑๐) ดาเนินการเกี่ยวกับการดูแลบุคลากรภาครัฐและนักเรียนทุนตามข้อบังคับหรือระเบียบ
ของ ก.พ. ตามมาตรา ๘ (๙)
(๑๑) ดาเนินการเกี่ยวกับการรับรองคุณวุฒิของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หรือคุณวุฒิอย่างอ่ืน เพ่ือประโยชน์ในการบรรจุและแต่งต้ังเป็นข้าราชการพลเรือน และการกาหนดอัตรา
เงินเดือนหรือคา่ ตอบแทน รวมท้งั ระดบั ตาแหนง่ และประเภทตาแหนง่ สาหรบั คุณวฒุ ิดังกล่าว
(๑๒) ดาเนินการเกี่ยวกับการรักษาทะเบียนประวัติและการควบคุมเกษียณอายุ
ของขา้ ราชการพลเรอื น
(๑๓) จัดทารายงานประจาปีเก่ียวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือน
เสนอต่อ ก.พ. และคณะรัฐมนตรี

(๑๔) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอ่ืน หรือตา มท่ี
คณะรัฐมนตรี นายกรฐั มนตรี หรอื ก.พ. มอบหมาย

มาตรา ๑๔ ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. สามัญ” เพื่อเป็นองค์กร
บรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลในสว่ นราชการตา่ ง ๆ ดังน้ี

(๑) คณะอนุกรรมการสามัญประจากระทรวง เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. กระทรวง” โดยออกนาม
กระทรวง

(๒) คณะอนุกรรมการสามญั ประจากรม เรยี กโดยย่อวา่ “อ.ก.พ. กรม” โดยออกนามกรม
(๓) คณะอนุกรรมการสามัญประจาจังหวัด เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. จังหวัด” โดยออกนาม
จังหวัด
(๔) คณะอนกุ รรมการสามญั ประจาส่วนราชการอ่นื นอกจากสว่ นราชการตาม (๑) (๒) และ (๓)
การเรียกช่ือ องค์ประกอบ และอานาจหน้าท่ีของ อ.ก.พ. ตาม (๔) ให้เป็นไปตามท่ีกาหนด
ในกฎ ก.พ.
มาตรา ๑๕ อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบด้วยรัฐมนตรีเจ้าสังกัด เป็นประธาน ปลัดกระทรวง
เป็นรองประธาน และผู้แทน ก.พ. ซ่ึงตั้งจากข้าราชการพลเรือนในสานักงาน ก.พ. หนึ่งคน เป็นอนุกรรมการ
โดยตาแหน่ง และอนุกรรมการซ่งึ ประธาน อ.ก.พ. แตง่ ตั้งจาก
(๑) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการจัดการ และ
ด้านกฎหมาย ซ่ึงมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในความสามารถมาแล้ว และมิได้เป็นข้าราชการในกระทรวงนั้น
จานวนไมเ่ กนิ สามคน
(๒) ขา้ ราชการพลเรือนผดู้ ารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสงู ในกระทรวงนั้น ซ่ึงได้รับเลือก
จากขา้ ราชการพลเรอื นผดู้ ารงตาแหนง่ ดงั กล่าว จานวนไมเ่ กินห้าคน
ให้ อ.ก.พ. นีต้ งั้ เลขานุการหน่ึงคน
มาตรา ๑๖ อ.ก.พ. กระทรวง มีอานาจหน้าท่ดี งั ตอ่ ไปนี้
(๑) พิจารณากาหนดนโยบาย ระบบ และระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลในกระทรวง
ซ่ึงตอ้ งสอดคล้องกบั หลักเกณฑ์ วิธกี าร และมาตรฐานที่ ก.พ. กาหนดตามมาตรา ๘ (๓)
(๒) พิจารณาการเกล่ยี อัตรากาลงั ระหวา่ งสว่ นราชการต่าง ๆ ภายในกระทรวง
(๓) พิจารณาเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินัยและการสั่งให้ออกจากราชการตามท่ีบัญญัติไว้
ในพระราชบัญญัตินี้
(๔) ปฏบิ ตั ิการอื่นตามพระราชบัญญัติน้ีและช่วย ก.พ. ปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
ตามท่ี ก.พ. มอบหมาย

มาตรา ๑๗ อ.ก.พ. กรม ประกอบด้วยอธิบดี เป็นประธาน รองอธิบดีที่อธิบดีมอบหมาย
หนง่ึ คน เป็นรองประธาน และอนกุ รรมการซ่ึงประธาน อ.ก.พ. แตง่ ต้ังจาก

(๑) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการจัดการและ
ด้านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในความสามารถมาแล้ว และมิได้เป็นข้าราชการในกรมนั้น
จานวนไมเ่ กินสามคน

(๒) ข้าราชการพลเรือนซึ่งดารงตาแหน่งประเภทบริหารหรือประเภทอานวยการในกรมน้ัน
ซึ่งไดร้ บั เลอื กจากข้าราชการพลเรอื นผ้ดู ารงตาแหน่งดงั กล่าว จานวนไม่เกนิ หกคน

ให้ อ.ก.พ. น้ีตั้งเลขานุการหน่งึ คน
มาตรา ๑๘ อ.ก.พ. กรม มีอานาจหนา้ ทดี่ งั ตอ่ ไปนี้
(๑) พิจารณากาหนดนโยบาย ระบบ และระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลในกรม
ซ่ึงต้องสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานท่ี ก.พ. กาหนดตามมาตรา ๘ (๓) และนโยบาย
และระบบการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลที่ อ.ก.พ. กระทรวงกาหนดตามมาตรา ๑๖ (๑)
(๒) พจิ ารณาการเกลี่ยอตั รากาลังระหวา่ งสว่ นราชการต่าง ๆ ภายในกรม
(๓) พิจารณาเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินัยและการสั่งให้ออกจากราชการตามท่ีบัญญัติไว้
ในพระราชบญั ญตั นิ ี้
(๔) ปฏิบัติการอื่นตามพระราชบัญญัตินี้และช่วย ก.พ. ปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติน้ี
ตามที่ ก.พ. มอบหมาย
มาตรา ๑๙ อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน รองผู้ว่าราชการ
จังหวัดท่ีผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายหน่ึงคน เป็นรองประธาน และอนุกรรมการ ซึ่งประธาน อ.ก.พ.
แตง่ ต้งั จาก
(๑) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการจัดการ และ
ด้านกฎหมาย ซ่ึงมีผลงานเปน็ ทีป่ ระจกั ษ์ในความสามารถมาแล้ว และมิได้เป็นข้าราชการพลเรือนในจังหวัดนั้น
จานวนไม่เกินสามคน
(๒) ขา้ ราชการพลเรอื นซึ่งดารงตาแหน่งประเภทบรหิ ารหรือประเภทอานวยการ ซึ่งกระทรวง
หรือกรมแต่งตั้งไปประจาจังหวัดน้ัน และได้รับเลือกจากข้าราชการพลเรือนผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าว
จานวนไมเ่ กินหกคน ซง่ึ แต่ละคนตอ้ งไม่สงั กัดกระทรวงเดยี วกัน
ให้ อ.ก.พ. นีต้ ้งั เลขานกุ ารหนงึ่ คน
มาตรา ๒๐ อ.ก.พ. จังหวดั มีอานาจหนา้ ที่ดังตอ่ ไปนี้
(๑) พิจารณากาหนดแนวทางและวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล ซ่ึงต้องสอดคล้อง
กบั หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และมาตรฐานท่ี ก.พ. กาหนดตามมาตรา ๘ (๓)
(๒) พิจารณาเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินัยและการส่ังให้ออกจากราชการตามที่บัญญัติไว้
ในพระราชบัญญัตนิ ้ี
(๓) ปฏิบตั ิตามท่ี อ.ก.พ. กระทรวง หรือ อ.ก.พ. กรม มอบหมาย

(๔) ปฏบิ ัตกิ ารอนื่ ตามพระราชบัญญัตินี้และช่วย ก.พ. ปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
ตามท่ี ก.พ. มอบหมาย

มาตรา ๒๑ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาหรือการเลือกบุคคลเพ่ือแต่งตั้งเป็นอนุกรรมการ
ตามมาตรา ๑๕ (๑) และ (๒) มาตรา ๑๗ (๑) และ (๒) และมาตรา ๑๙ (๑) และ (๒) วาระการดารงตาแหน่ง
และจานวนข้นั ตา่ ของอนกุ รรมการดังกลา่ ว ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๒๒ ในกรณีที่กระทรวงใดมีเหตุพิเศษ ก.พ. จะอนุมัติให้มีแต่ อ.ก.พ. กระทรวง
เพ่อื ทาหน้าที่ อ.ก.พ. กรม ก็ได้

ในกรณีส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมและไม่สังกัดกระทรวง แต่อยู่ในบังคับบัญชา
ของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี หรือส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมและมีหัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบ
ในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี ให้บรรดาอานาจหน้าท่ีของ อ.ก.พ. กระทรวง
เป็นอานาจหน้าท่ีของ อ.ก.พ. กรมด้วย แต่ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ให้มีรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเป็นประธาน
และอธิบดีเป็นรองประธาน และผู้แทน ก.พ. ซึ่งต้ังจากข้าราชการพลเรือนในสานักงาน ก.พ.หน่ึงคน
เป็นอนกุ รรมการโดยตาแหนง่

ในกรณีสานักงานรัฐมนตรี ให้ อ.ก.พ. กรมของสานกั งานปลดั กระทรวงทาหน้าที่ อ.ก.พ. กรม
ของสานกั งานรัฐมนตรี

มาตรา ๒๓ ให้นามาตรา ๑๑ มาใช้บังคับแก่การประชุมของ อ.ก.พ. วิสามัญ และ อ.ก.พ. สามัญ
โดยอนโุ ลม

ลกั ษณะ ๒
คณะกรรมการพทิ ักษร์ ะบบคณุ ธรรม

มาตรา ๒๔ ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.ค.”
ประกอบดว้ ยกรรมการจานวนเจ็ดคนซ่งึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แต่งตั้งตามมาตรา ๒๖

กรรมการ ก.พ.ค. ตอ้ งทางานเต็มเวลา
ใหเ้ ลขาธิการ ก.พ. เป็นเลขานุการของ ก.พ.ค.
มาตรา ๒๕ ผ้จู ะไดร้ บั การแต่งต้ังเป็นกรรมการ ก.พ.ค. ตอ้ งมคี ณุ สมบัตดิ ังตอ่ ไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มอี ายไุ มต่ ่ากวา่ ส่สี ิบหา้ ปี
(๓) มีคณุ สมบัติอืน่ อยา่ งหนง่ึ อยา่ งใด ดังต่อไปน้ี

(ก) เป็นหรือเคยเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
คณะกรรมการข้าราชการครู คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ
ขา้ ราชการพลเรอื นในมหาวทิ ยาลัย คณะกรรมการข้าราชการพลเรอื นในสถาบันอดุ มศึกษา หรือคณะกรรมการ
ข้าราชการตารวจ

(ข) เปน็ หรอื เคยเปน็ กรรมการกฤษฎีกา
(ค) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้พิพากษาศาลอุทธ รณ์
หรอื เทียบเทา่ หรือตลุ าการหัวหน้าคณะศาลปกครองช้ันตน้
(ง) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอัยการพิเศษประจาเขต
หรือเทยี บเทา่
(จ) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงหรือเทียบเท่า
ตามท่ี ก.พ. กาหนด
(ฉ) เป็นหรือเคยเป็นผู้สอนวิชาในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือวิชาที่เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินในสถาบันอุดมศึกษา และ
ดารงตาแหน่งหรือเคยดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์ แต่ในกรณีที่ดารงตาแหน่งรองศาสตราจารย์
ต้องดารงตาแหนง่ หรือเคยดารงตาแหน่งมาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ หา้ ปี
มาตรา ๒๖ ให้มีคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ประกอบด้วยประธาน
ศาลปกครองสูงสุด เป็นประธาน รองประธานศาลฎีกาท่ีได้รับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหนึ่งคน
กรรมการ ก.พ. ผู้ทรงคุณวุฒิหนึ่งคนซ่ึงได้รับเลือกโดย ก.พ. และให้เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการ
และเลขานกุ าร
ให้คณะกรรมการคดั เลอื กมหี น้าทคี่ ดั เลอื กบคุ คลผู้มีคณุ สมบัตติ ามมาตรา ๒๕ จานวนเจด็ คน
ให้ผู้ได้รับคัดเลือกตามวรรคสองประชุมและเลือกกันเองให้คนหน่ึงเป็นประธานกรรมการ
ก.พ.ค. แล้วใหน้ ายกรฐั มนตรนี าความกราบบังคมทลู เพอื่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แตง่ ตัง้
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการคัดเลือก
กาหนด
มาตรา ๒๗ กรรมการ ก.พ.ค. ตอ้ งไม่มลี ักษณะตอ้ งห้าม ดงั ต่อไปน้ี
(๑) เป็นข้าราชการ
(๒) เปน็ พนักงานหรอื ลกู จ้างของหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลใด
(๓) เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง กรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งท่ีรับผิดชอบในการ
บริหารพรรคการเมอื ง สมาชิกพรรคการเมอื งหรอื เจ้าหน้าทใ่ี นพรรคการเมือง
(๔) เปน็ กรรมการในรัฐวสิ าหกจิ
(๕) เป็นกรรมการในองค์กรกลางบรหิ ารงานบุคคลในหนว่ ยงานของรัฐ
(๖) ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอย่างอื่นหรือดารงตาแหน่งหรือประกอบการใด ๆ หรือ
เป็นกรรมการในหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน อันขัดตอ่ การปฏิบตั หิ นา้ ทีต่ ามทกี่ าหนดในพระราชกฤษฎีกา
มาตรา ๒๘ ผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการ ก.พ.ค. ผู้ใดมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๗
ผู้น้ันต้องลาออกจากการเป็นบุคคลซ่ึงมีลักษณะต้องห้ามหรือแสดงหลักฐานให้เป็นท่ีเช่ือได้ว่าตนได้เลิก
การประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือการประกอบการอันมีลักษณะต้องห้ามดังกล่าวต่อเลขานุการ ก.พ.ค.
ภายในสบิ หา้ วันนบั แต่วันทีไ่ ด้รบั คดั เลอื ก

ในกรณีท่ีผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการ ก.พ.ค. มิได้ลาออกหรือเลิกการประกอบอาชีพ
หรอื วิชาชพี หรือการประกอบการดงั กล่าวภายในเวลาทก่ี าหนดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้นั้นมิเคยได้รับคัดเลือก
เป็นกรรมการ ก.พ.ค. และใหด้ าเนินการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ข้นึ ใหม่

มาตรา ๒๙ กรรมการ ก.พ.ค. มีวาระการดารงตาแหน่งหกปีนับแต่วันที่ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ แตง่ ตั้ง และใหด้ ารงตาแหนง่ ได้เพยี งวาระเดียว

ให้กรรมการ ก.พ.ค. ซ่ึงพ้นจากตาแหน่งตามวาระ อยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป
จนกวา่ จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตัง้ กรรมการ ก.พ.ค. ใหม่

มาตรา ๓๐ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการ ก.พ.ค. พ้นจากตาแหน่งเมือ่
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) มีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบรู ณ์
(๔) ขาดคุณสมบัตหิ รอื มลี กั ษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๒๕ หรอื มาตรา ๒๗
(๕) ตอ้ งคาพพิ ากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก แม้จะมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นการรอการลงโทษ
ในความผิดอนั ได้กระทาโดยประมาท ความผดิ ลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท
(๖) ไมส่ ามารถปฏบิ ัตงิ านไดเ้ ตม็ เวลาอยา่ งสม่าเสมอตามระเบียบของ ก.พ.ค.
เม่ือมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ให้กรรมการ ก.พ.ค. เท่าที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ และ
ให้ถือวา่ ก.พ.ค. ประกอบด้วยกรรมการ ก.พ.ค. เทา่ ทเี่ หลืออยู่ เว้นแต่มกี รรมการ ก.พ.ค. เหลืออยู่ไมถ่ ึงหา้ คน
เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่งหรือกรณีที่กรรมการ ก.พ.ค. พ้นจากตาแหน่งตามวาระ
ให้คณะกรรมการคัดเลือกดาเนินการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. แทนกรรมการ ก.พ.ค. ซ่ึงพ้นจากตาแหน่ง
โดยเร็ว
มาตรา ๓๑ ก.พ.ค. มีอานาจหน้าท่ีดังต่อไปน้ี
(๑) เสนอแนะต่อ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่น เพื่อให้ ก.พ. หรือองค์กรกลาง
บริหารงานบุคคลอื่น ดาเนินการจัดให้มีหรือปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนท่ีเก่ียวกับ
การพทิ กั ษ์ระบบคุณธรรม
(๒) พจิ ารณาวนิ ิจฉยั อทุ ธรณต์ ามมาตรา ๑๑๔
(๓) พิจารณาวินิจฉยั เรื่องร้องทกุ ข์ตามมาตรา ๑๒๓
(๔) พจิ ารณาเรือ่ งการคุม้ ครองระบบคุณธรรมตามมาตรา ๑๒๖
(๕) ออกกฎ ก.พ.ค. ระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี
กฎ ก.พ.ค. เมื่อประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว้ ใหใ้ ช้บังคบั ได้
(๖) แต่งต้ังบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่ ก.พ.ค. กาหนด เพ่ือเป็น
กรรมการวินจิ ฉัยอทุ ธรณห์ รือเปน็ กรรมการวินจิ ฉัยร้องทกุ ข์

มาตรา ๓๒ ให้กรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ และกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
ได้รับเงินประจาตาแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นตามท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา และให้มีสิทธิ
ได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการเช่นเดียว
กับผดู้ ารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง

มาตรา ๓๓ การประชุมของคณะกรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ และ
กรรมการวินิจฉัยรอ้ งทุกข์ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบที่ ก.พ.ค. กาหนด

ลกั ษณะ ๓
บททว่ั ไป

มาตรา ๓๔ การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนต้องเป็นไปเพ่ือผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ความมปี ระสทิ ธิภาพ และความคุ้มคา่ โดยให้ข้าราชการปฏบิ ัติราชการอย่างมคี ุณภาพ คุณธรรม และมีคุณภาพ
ชีวติ ที่ดี

มาตรา ๓๕ ข้าราชการพลเรอื นมี ๒ ประเภท คือ
(๑) ข้าราชการพลเรือนสามัญ ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนซ่ึงรับราชการโดยได้รับบรรจุแต่งต้ัง
ตามทบ่ี ัญญัตไิ วใ้ นลกั ษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามญั
(๒) ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนซ่ึงรับราชการโดยได้รับ
บรรจุแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหน่งในพระองคพ์ ระมหากษัตรยิ ์ตามท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎกี า
มาตรา ๓๖ ผู้ท่ีจะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนต้องมีคุณสมบัติทั่วไป และไม่มี
ลกั ษณะตอ้ งห้ามดงั ต่อไปน้ี
ก. คณุ สมบตั ิท่ัวไป

(๑) มสี ญั ชาติไทย
(๒) มีอายไุ มต่ า่ กวา่ สบิ แปดปี
(๓) เป็นผู้เล่ือมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมขุ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ
ข. ลักษณะตอ้ งห้าม
(๑) เปน็ ผดู้ ารงตาแหนง่ ทางการเมือง
(๒) เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือน
ไมส่ มประกอบ หรือเป็นโรคตามทก่ี าหนดในกฎ ก.พ.
(๓) เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกส่ังพักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน
ตามพระราชบัญญัตินห้ี รือตามกฎหมายอนื่
(๔) เปน็ ผู้บกพรอ่ งในศีลธรรมอนั ดีจนเปน็ ทร่ี งั เกยี จของสงั คม

(๕) เป็นกรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง
หรอื เจ้าหนา้ ทใี่ นพรรคการเมือง

(๖) เปน็ บคุ คลลม้ ละลาย
(๗) เป็นผู้เคยต้องรับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุกเพราะกระทาความผิด
ทางอาญา เว้นแต่เป็นโทษสาหรบั ความผดิ ที่ไดก้ ระทาโดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ
(๘) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอ่ืน
ของรฐั
(๙) เปน็ ผู้เคยถูกลงโทษใหอ้ อก หรือปลดออก เพราะกระทาผิดวินัยตามพระราชบัญญัติน้ี
หรือตามกฎหมายอ่นื
(๑๐) เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะกระทาผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ
ตามกฎหมายอ่นื
(๑๑) เป็นผู้เคยกระทาการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ หรือเข้าปฏิบัติงาน
ในหนว่ ยงานของรฐั
ผทู้ ีจ่ ะเขา้ รับราชการเป็นข้าราชการพลเรอื นซง่ึ มลี กั ษณะต้องหา้ มตาม ข. (๔) (๖) (๗) (๘) (๙)
(๑๐) หรือ (๑๑) ก.พ. อาจพิจารณายกเว้นให้เข้ารับราชการได้ แต่ถ้าเป็นกรณีมีลักษณะต้องห้ามตาม (๘)
หรอื (๙) ผ้นู นั้ ต้องออกจากงานหรอื ออกจากราชการไปเกินสองปแี ลว้ และในกรณีมีลักษณะต้องห้ามตาม (๑๐)
ผู้นั้นต้องออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสามปีแล้ว และต้องมิใช่เป็นกรณีออกจากงานหรือ
ออกจากราชการเพราะทุจริตต่อหน้าท่ี มติของ ก.พ. ในการยกเว้นดังกล่าวต้องได้คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า
สใี่ นห้าของจานวนกรรมการที่มาประชุม การลงมตใิ หก้ ระทาโดยลับ
การขอยกเว้นตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามระเบียบท่ี ก.พ. กาหนด
ในกรณีตามวรรคสอง ก.พ. จะยกเว้นใหเ้ ป็นการเฉพาะราย หรอื จะประกาศยกเว้นให้เป็นการ
ทัว่ ไปกไ็ ด้
มาตรา ๓๗ การจ่ายเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่งให้ข้าราชการพลเรือนให้เป็นไปตาม
ระเบยี บท่ี ก.พ. กาหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั
มาตรา ๓๘ ข้าราชการพลเรือนอาจได้รบั เงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งท่ีประจาอยู่ในต่างประเทศ
ตาแหน่งในบางท้องท่ี ตาแหน่งในบางสายงาน หรือตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษตามระเบียบท่ี ก.พ. กาหนด
โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั
ข้าราชการพลเรือนอาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามหลักเกณฑ์
และวธิ ีการทค่ี ณะรฐั มนตรีกาหนด
ในการเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือดาเนินการตามวรรคสอง ให้ ก.พ. เสนอแนะสาหรับ
ขา้ ราชการประเภทอ่นื ในคราวเดียวกันด้วย

มาตรา ๓๙ วันเวลาทางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจาปี
และการลาหยดุ ราชการของข้าราชการพลเรือน ใหเ้ ปน็ ไปตามทีค่ ณะรฐั มนตรีกาหนด

มาตรา ๔๐ เครื่องแบบของข้าราชการพลเรือนและระเบียบการแต่งเคร่ืองแบบให้เป็นไป
ตามกฎหมายหรอื ระเบียบว่าด้วยการนนั้

มาตรา ๔๑ บาเหน็จบานาญข้าราชการพลเรอื นใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการน้นั

ลักษณะ ๔
ข้าราชการพลเรอื นสามญั

หมวด ๑
การจดั ระเบยี บข้าราชการพลเรอื นสามญั

มาตรา ๔๒ การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัติน้ี ให้คานึงถึง
ระบบคณุ ธรรมดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) การรับบุคคลเพ่ือบรรจุเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งต้องคานึงถึงความรู้
ความสามารถของบคุ คล ความเสมอภาค ความเปน็ ธรรม และประโยชนข์ องทางราชการ

(๒) การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องคานึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององค์กร
และลกั ษณะของงาน โดยไม่เลอื กปฏบิ ัติอย่างไมเ่ ปน็ ธรรม

(๓) การพิจารณาความดคี วามชอบ การเลอื่ นตาแหนง่ และการให้ประโยชน์อื่นแก่ข้าราชการ
ต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติ และจะนาความคิดเห็น
ทางการเมืองหรือสงั กดั พรรคการเมอื งมาประกอบการพิจารณามิได้

(๔) การดาเนินการทางวนิ ัย ต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ
(๕) การบริหารทรัพยากรบุคคลตอ้ งมคี วามเปน็ กลางทางการเมอื ง
มาตรา ๔๓ ข้าราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการรวมกลุ่มตามที่บัญญัติไว้
ในรัฐธรรมนูญ แต่ทั้งน้ีต้องไม่กระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดินและความต่อเน่ืองในการ
จดั ทาบริการสาธารณะ และต้องไม่มีวัตถุประสงค์ทางการเมอื ง
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการรวมกลุ่มตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่กาหนด
ในพระราชกฤษฎีกา

หมวด ๒
การกาหนดตาแหนง่ และการใหไ้ ดร้ ับเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาตาแหน่ง

มาตรา ๔๔ นอกจากตาแหน่งท่ีกาหนดในกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินแล้ว
อ.ก.พ. กระทรวงอาจกาหนดตาแหนง่ ท่ีมีชอื่ อยา่ งอนื่ เพ่อื ประโยชนใ์ นการบริหารงาน และแจง้ ให้ ก.พ. ทราบด้วย

มาตรา ๔๕ ตาแหนง่ ข้าราชการพลเรอื นสามญั มี ๔ ประเภท ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ตาแหนง่ ประเภทบรหิ าร ไดแ้ ก่ ตาแหนง่ หวั หนา้ สว่ นราชการและรองหัวหน้าส่วนราชการ
ระดบั กระทรวง กรม และตาแหน่งอื่นที่ ก.พ. กาหนดเป็นตาแหน่งประเภทบรหิ าร
(๒) ตาแหน่งประเภทอานวยการ ได้แก่ ตาแหน่งหัวหน้าส่วนราชการท่ีต่ากว่าระดับกรม
และตาแหนง่ อืน่ ที่ ก.พ. กาหนดเป็นตาแหนง่ ประเภทอานวยการ
(๓) ตาแหน่งประเภทวชิ าการ ได้แก่ ตาแหนง่ ท่ีจาเป็นต้องใช้ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา
ตามที่ ก.พ. กาหนดเพ่ือปฏบิ ตั ิงานในหนา้ ที่ของตาแหนง่ นั้น
(๔) ตาแหนง่ ประเภททั่วไป ไดแ้ ก่ ตาแหน่งท่ีไม่ใช่ตาแหน่งประเภทบริหาร ตาแหน่งประเภท
อานวยการ และตาแหน่งประเภทวชิ าการ ท้ังนี้ ตามที่ ก.พ. กาหนด
มาตรา ๔๖ ระดบั ตาแหนง่ ข้าราชการพลเรอื นสามญั มดี งั ตอ่ ไปนี้
(๑) ตาแหนง่ ประเภทบรหิ าร มรี ะดับดังต่อไปน้ี

(ก) ระดับตน้
(ข) ระดับสูง
(๒) ตาแหนง่ ประเภทอานวยการ มรี ะดบั ดังตอ่ ไปน้ี
(ก) ระดับตน้
(ข) ระดับสูง
(๓) ตาแหน่งประเภทวชิ าการ มรี ะดบั ดงั ตอ่ ไปนี้
(ก) ระดับปฏิบตั กิ าร
(ข) ระดับชานาญการ
(ค) ระดบั ชานาญการพิเศษ
(ง) ระดับเชย่ี วชาญ
(จ) ระดบั ทรงคณุ วฒุ ิ
(๔) ตาแหน่งประเภททวั่ ไป มรี ะดบั ดังต่อไปน้ี
(ก) ระดับปฏิบัตงิ าน
(ข) ระดับชานาญงาน
(ค) ระดับอาวุโส
(ง) ระดับทกั ษะพเิ ศษ
การจัดประเภทตาแหน่งและระดับตาแหนง่ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑท์ ี่กาหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๔๗ ตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญจะมีในส่วนราชการใด จานวนเท่าใด และ
เป็นตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้เป็นไปตามท่ี อ.ก.พ. กระทรวงกาหนด โดยต้องคานึงถึง
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้าซ้อนและประหยัดเป็นหลัก ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ี ก.พ.
กาหนด และตอ้ งเปน็ ไปตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่งตามมาตรา ๔๘

มาตรา ๔๘ ให้ ก.พ. จัดทามาตรฐานกาหนดตาแหน่ง โดยจาแนกตาแหน่งเป็นประเภท
และสายงานตามลักษณะงาน และจัดตาแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันท่ีคุณภาพของงาน
เทา่ กนั โดยประมาณเป็นระดบั เดียวกนั ท้งั นี้ โดยคานึงถงึ ลักษณะหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบและคณุ ภาพของงาน

ในมาตรฐานกาหนดตาแหน่งให้ระบุช่ือตาแหน่งในสายงาน หน้าท่ีความรับผิดชอบหลัก
และคุณสมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหนง่ ไวด้ ว้ ย

มาตรา ๔๙ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินตาแหน่งใด
บังคับบัญชาข้าราชการพลเรือนในส่วนราชการหรือหน่วยงานใด ในฐานะใดให้เป็นไปตามท่ีผู้บังคับบัญชา
ซง่ึ มีอานาจสงั่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ กาหนด โดยทาเป็นหนังสอื ตามหลกั เกณฑ์ที่ ก.พ. กาหนด

มาตรา ๕๐ ให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือนตามตาแหน่งในแต่ละประเภท
ตามที่กาหนดไวใ้ นบัญชีเงนิ เดอื นขัน้ ตา่ ขั้นสงู ของข้าราชการพลเรอื นสามัญท้ายพระราชบัญญัตินี้

ผู้ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได้รับเงินเดือนเท่าใดตามบัญชีเงินเดือน
ข้นั ต่าข้ันสูงของขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.

ข้าราชการพลเรือนสามัญอาจได้รับเงินประจาตาแหน่งตามบัญชีอัตราเงินประจาตาแหน่ง
ของขา้ ราชการพลเรือนสามัญทา้ ยพระราชบญั ญตั ินีต้ ามหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขที่ ก.พ. กาหนด

ผู้ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได้รับเงินประจาตาแหน่งตามบัญชี
อัตราเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญท้ายพระราชบัญญัติน้ีในอัตราใด ให้เป็นไปตาม
ท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.

เงินประจาตาแหน่งตามมาตรานี้ ไม่ถือเป็นเงินเดือนเพื่อเป็นเกณฑ์ในการคานวณ
บาเหน็จบานาญตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ

มาตรา ๕๐/๑๒ ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็น เพื่อเป็นการเยียวยาให้ข้าราชการ
พลเรือนสามัญไดร้ บั เงนิ เดอื นหรอื เงินประจาตาแหนง่ ท่เี หมาะสมและเป็นธรรม ก.พ. อาจกาหนดให้ข้าราชการ
พลเรอื นสามัญไดร้ บั การเยียวยาโดยให้ไดร้ บั เงนิ เดือนหรือเงินประจาตาแหน่งตามท่ีเห็นสมควรเป็นกรณี ๆ ไปก็ได้
ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการท่ีคณะรฐั มนตรกี าหนด

๒ มาตรา ๕๐/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘

มาตรา ๕๑ คณะรัฐมนตรีจะพิจารณาปรับเงินเดือนข้ันต่าขั้นสูงหรือเงินประจาตาแหน่ง
ของข้าราชการพลเรือนสามัญให้เหมาะสมย่ิงขึ้นตามความจาเป็นก็ได้ โดยหากเป็นการปรับเงินเดือนข้ันต่า
ข้ันสูง หรือเงินประจาตาแหน่งเพิ่มไม่เกินร้อยละสิบของเงินเดือน หรือเงินประจาตาแหน่งที่ใช้บังคับอยู่
ให้กระทาได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้ถือว่าเงินเดือนขั้นต่าข้ันสูง และเงินประจาตาแหน่ง
ทา้ ยพระราชกฤษฎีกาดังกลา่ ว เป็นเงินเดือนขนั้ ตา่ ขน้ั สงู และเงินประจาตาแหน่งทา้ ยพระราชบัญญตั ินี้

เมื่อมีการปรับเงินเดือนหรือเงินประจาตาแหน่งตามวรรคหนึ่ง การปรับเงินเดือนหรือ
เงินประจาตาแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญที่ได้รับอยู่เดิมเข้าสู่อัตราในบัญชีที่ได้รับการปรับใหม่
ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนด

หมวด ๓
การสรรหา การบรรจุ และการแตง่ ตง้ั

มาตรา ๕๒ การสรรหาเพ่อื ใหไ้ ด้บุคคลมาบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ
และแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมและคานึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคล
ดงั กลา่ ว ตลอดจนประโยชนข์ องทางราชการ ทั้งนี้ ตามทก่ี าหนดในหมวดน้ี

มาตรา ๕๓ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญเพ่ือแต่งตั้ง
ให้ดารงตาแหน่งใด ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้ในตาแหน่งน้ัน โดยบรรจุและแต่งต้ังตามลาดับท่ี
ในบัญชผี ้สู อบแขง่ ขันได้

การสอบแข่งขัน การข้ึนบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอียดเก่ียวกับการสอบแข่งขัน
ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไขที่ ก.พ. กาหนด

ความในวรรคหน่ึงไม่ใช้บังคับกับการบรรจุบุคคลเข้ารับราชการตามมาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖
มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕

มาตรา ๕๔ ผู้สมัครสอบแข่งขันในตาแหน่งใด ต้องมีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะ
ต้องห้าม หรือได้รับการยกเว้นในกรณีท่ีมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๖ และต้องมีคุณสมบัติเฉพาะ
สาหรับตาแหน่งหรือได้รบั อนมุ ตั ิจาก ก.พ. ตามมาตรา ๖๒ ดว้ ย

สาหรบั ผ้มู ีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๖ ข. (๑) ให้มีสิทธิสมัครสอบแข่งขันได้แต่จะมีสิทธิ
ไ ด้รับ บ ร ร จุเ ป็น ข้า ร า ช ก า ร พ ล เ รือ น ส า มัญ ที่ส อ บ แ ข่ง ขัน ไ ด้ต่อ เ มื่อ พ้น จ า ก ก า ร เ ป็น ผู้ดา ร ง ตา แ ห น่ง
ทางการเมอื งแล้ว

มาตรา ๕๕ ในกรณีท่ีมีเหตุพิเศษ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
อาจคัดเลือกบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งโดยไม่ต้องดาเนินการสอบแข่งขัน
ตามมาตรา ๕๓ กไ็ ด้ ทงั้ น้ี ตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขท่ี ก.พ. กาหนด

มาตรา ๕๖ กระทรวงหรือกรมใดมีเหตุผลและความจาเป็นอย่างยิ่ง จะบรรจุบุคคล
ท่ีมคี วามรู้ความสามารถ และความชานาญงานสูง เข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ
ระดบั ชานาญการ ชานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ หรือทรงคุณวุฒิ หรือตาแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ
กไ็ ด้ ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ี ก.พ. กาหนด

มาตรา ๕๗ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ และการแต่งต้ัง
ใหด้ ารงตาแหน่งตามมาตรา ๕๓ มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕ และมาตรา ๖๖
ให้ผมู้ อี านาจดังตอ่ ไปน้ี เป็นผูส้ ่ังบรรจแุ ละแตง่ ต้งั

(๑) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตาแหน่งหัวหน้า
ส่วนราชการระดับกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมท่ีอยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติ
ราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดนาเสนอคณะรัฐมนตรี
เพื่อพิจารณาอนุมัติ เม่ือได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดเป็นผู้สั่งบรรจุ และ
ใหน้ ายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทลู เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตง้ั

(๒) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตาแหน่งรองหัวหน้า
ส่วนราชการระดับกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม รองหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ใน
บังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี
หรือตาแหน่งอื่นที่ ก.พ. กาหนดเป็นตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ให้ปลัดกระทรวงผู้บังคับบัญชา
หรือหัว หน้าส่ว นราช การระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญช าหรือรับผิดช อบการปฏิบัติราช การ
ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี เสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อนาเสนอคณะรัฐมนตรี
พิจารณาอนุมัติ เม่ือได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ปลัดกระทรวงผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้า
สว่ นราชการระดับกรมดงั กลา่ วเป็นผู้ส่ังบรรจุ และให้นายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทูลเพ่ือทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ แตง่ ต้ัง

(๓) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับต้น ให้ปลัดกระทรวง
ผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ
ขน้ึ ตรงตอ่ นายกรฐั มนตรีหรือต่อรัฐมนตรี แลว้ แต่กรณี เปน็ ผ้มู ีอานาจส่งั บรรจุและแต่งตง้ั

(๔) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการ ประเภทวิชาการ ระดับ
ปฏิบัติการ ชานาญการ ชานาญการพิเศษ และเช่ียวชาญ และประเภทท่ัวไปในสานักงานรัฐมนตรี ให้รัฐมนตรี
เจา้ สงั กัดเปน็ ผ้มู ีอานาจสง่ั บรรจแุ ละแต่งตั้ง

(๕) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการระดับสูง ให้ปลัดกระทรวง
ผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ
ขน้ึ ตรงต่อนายกรฐั มนตรีหรือตอ่ รฐั มนตรี แล้วแต่กรณี เปน็ ผู้มีอานาจสั่งบรรจแุ ละแตง่ ตั้ง

(๖) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการระดับต้ น ให้อธิบดี
ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งต้ังเม่ือได้รับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวง ส่วนการบรรจุ
และแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการระดับต้นในส่วนราชการระดับกรมที่หัวหน้าส่วนราชการ
อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี หรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี
ใหอ้ ธิบดผี ู้บังคบั บญั ชา เป็นผ้มู ีอานาจสงั่ บรรจแุ ละแต่งตั้ง

(๗) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ให้รัฐมนตรี
เจ้าสังกัดนาเสนอคณะรัฐมนตรีเพอื่ พจิ ารณาอนุมัติ เม่ือได้รับอนมุ ตั ิจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัด
เปน็ ผ้สู ั่งบรรจุ และใหน้ ายกรฐั มนตรีนาความกราบบงั คมทลู เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ต้งั

(๘) การบรรจแุ ละแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ให้ปลัดกระทรวง
หรือหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมท่ีอยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อ
นายกรัฐมนตรหี รือตอ่ รัฐมนตรี แลว้ แตก่ รณี เปน็ ผู้มอี านาจสั่งบรรจุและแตง่ ต้งั

(๙) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการพิเศษ
และตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ ให้อธิบดีผู้บังคับบัญชา เป็นผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งต้ัง
เมื่อได้รับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวง ส่วนการบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ
ระดับชานาญการพิเศษ และตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษในส่วนราชการระดับกรมท่ีหัวหน้า
ส่วนราชการอยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี
แล้วแตก่ รณี ใหอ้ ธิบดผี ู้บังคับบัญชา เปน็ ผูม้ อี านาจสั่งบรรจุและแตง่ ต้งั

(๑๐) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชานาญการ
ตาแหน่งประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน ชานาญงาน และอาวุโส ให้อธิบดีผู้บังคับบัญชา หรือผู้ซึ่งได้รับ
มอบหมายจากอธิบดผี บู้ งั คับบญั ชา เป็นผมู้ อี านาจสั่งบรรจุและแต่งตงั้

(๑๑) การบรรจุและแต่งต้ังตามมาตรา ๕๓ และการย้ายตามมาตรา ๖๓ ให้ดารงตาแหน่ง
ตาม (๙) ซึ่งไม่ใช่ตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ และตาแหน่งตาม (๑๐) ในราชการบริหาร
สว่ นภมู ภิ าค ใหผ้ ูว้ ่าราชการจงั หวดั ผบู้ ังคับบญั ชา เป็นผมู้ ีอานาจสัง่ บรรจุและแตง่ ต้งั

ในการเสนอเพื่อแต่งต้ังข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่ง ให้รายงานความสมควร
พรอ้ มทง้ั เหตผุ ล ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.พ. กาหนดไปด้วย

มาตรา ๕๘ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารผู้ใดปฏิบัติหน้าท่ีเดียว
ตดิ ตอ่ กนั เป็นเวลาครบสี่ปี ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดาเนินการให้มีการสับเปลี่ยน
หน้าที่ ย้าย หรือโอนไปปฏิบัติหน้าที่อื่น เว้นแต่มีความจาเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการจะขออนุมัติ
คณะรัฐมนตรใี ห้คงอยู่ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีเดมิ ตอ่ ไปเปน็ เวลาไมเ่ กินสองปีก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.
กาหนด

ความในวรรคหนึ่งไม่ให้ใช้บังคับแก่ผู้ดารงตาแหน่งที่ ก.พ. กาหนดว่าเป็นตาแหน่งที่มี
ลกั ษณะงานเฉพาะอย่าง

มาตรา ๕๙ ผู้ได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามมาตรา ๕๓ วรรคหน่ึง หรือมาตรา ๕๕ ให้ทดลอง
ปฏิบัติหน้าที่ราชการและให้ได้รับการพัฒนาเพ่ือให้รู้ระเบียบแบบแผนของทางราชการและเป็นข้าราชการท่ีดี
ตามทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.

ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการตามวรรคหนึ่งผู้ใดมีผลการประเมินทดลองปฏิบั ติหน้าท่ี
ราชการตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ. ไม่ต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนด ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ สั่งให้ผู้นั้นรับราชการต่อไป ถ้าผู้น้ันมีผลการประเมินทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการต่ากว่า
มาตรฐานที่กาหนด ก็ให้ส่ังให้ผู้นั้นออกจากราชการได้ไม่ว่าจะครบกาหนดเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
แลว้ หรอื ไมก่ ต็ าม

ผู้ใดถูกส่ังให้ออกจากราชการตามวรรคสอง ให้ถือเสมือนว่าผู้นั้นไม่เคยเป็นข้าราชการ
พลเรือนสามัญ แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดท่ีผู้นั้นได้ปฏิบัติหน้าท่ีราชการ หรือการรับเงินเดือน
หรือผลประโยชน์อ่ืนใดที่ได้รับหรือมีสิทธิจะได้รับจากทางราชการในระหว่างผู้นั้นอยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติ
หน้าทรี่ าชการ

ผู้อย่ใู นระหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ าชการผใู้ ดมีกรณีอนั มมี ูลทค่ี วรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย
ให้ผู้บังคับบัญชาดาเนินการทางวินัยตามที่บัญญัติไว้ในหมวด ๗ การดาเนินการทางวินัย และถ้าผู้นั้นมีกรณี
ทจี่ ะต้องออกจากราชการตามวรรคสอง กใ็ ห้ผูบ้ ังคับบญั ชาดาเนนิ การตามวรรคสองไปกอ่ น

ความในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสามให้ใช้บังคับกับข้าราชการหรือพนักงาน
สว่ นท้องถิน่ ซ่ึงโอนมาตามมาตรา ๖๔ ในระหวา่ งทย่ี งั ทดลองปฏบิ ตั หิ น้าท่ีราชการดว้ ยโดยอนุโลม

มาตรา ๖๐ ข้าราชการพลเรือนสามัญซ่ึงอยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
ผู้ใดถูกส่ังให้ออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๑ และต่อมาปรากฏว่าผู้นั้นมีกรณีท่ีจะต้องถูกสั่งให้ออก
จากราชการตามมาตรา ๕๙ หรือตามมาตราอ่ืน ก็ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
หรือผู้มีอานาจตามมาตราอื่นนั้น แล้วแต่กรณี มีอานาจเปล่ียนแปลงคาสั่ง เป็นให้ออกจากราชการ
ตามมาตรา ๕๙ หรอื ตามมาตราอน่ื น้ันได้

มาตรา ๖๑ การแต่งตงั้ ข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดารงตาแหน่งในสายงานท่ีไม่มีกาหนดไว้
ในมาตรฐานกาหนดตาแหนง่ จะกระทามไิ ด้

มาตรา ๖๒ ผู้ได้รับแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญตาแหน่งใดต้องมี
คณุ สมบตั ิตรงตามคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาหรับตาแหนง่ นั้นตามมาตรฐานกาหนดตาแหนง่

ในกรณีท่ีมีเหตุผลและความจาเป็น ก.พ. อาจอนุมัติให้แต่งต้ังข้าราชการพลเรือนสามัญ
ทมี่ ีคณุ สมบัติตา่ งไปจากคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่งตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่งก็ได้

ในกรณที ี่ ก.พ. กาหนดให้ปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิใดเป็นคุณสมบัติเฉพาะ
สาหรบั ตาแหน่ง ใหห้ มายถงึ ปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิท่ี ก.พ. รับรอง

มาตรา ๖๓ การย้าย การโอน หรือการเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญไปแต่งตั้ง
ให้ดารงตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญในหรือต่างกระทรวงหรือกรม แล้วแต่กรณี ให้เป็นไปตามที่กาหนด
ในกฎ ก.พ.

การโอนข้าราชการพลเรือนสามัญจากกระทรวงหรือกรมหนึ่ง ไปแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง
ข้าราชการพลเรือนสามัญในต่างประเทศสังกัดอีกกระทรวงหรือกรมหน่ึง เป็นการช่ัวคราวตามระยะเวลา
ทก่ี าหนด ให้กระทาไดต้ ามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารที่ ก.พ. กาหนด

การย้ายหรือการโอนข้าราชการพลเรือนสามัญไปแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในระดับ
ทต่ี ่ากว่าเดิมจะกระทามิได้ เวน้ แต่จะได้รับความยินยอมจากขา้ ราชการพลเรือนสามญั ผนู้ นั้

การบรรจุข้าราชการพลเรือนสามัญที่ได้ออกจากราชการไปเนื่องจากถูกสั่งให้ออก
จากราชการเพ่ือไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรือได้รับอนุมัติ
จากคณะรัฐมนตรีให้ไปปฏิบัติงานใด ๆ ซ่ึงให้นับเวลาระหว่างนั้นสาหรับการคานวณบาเหน็จบานาญ
เหมือนเต็มเวลาราชการหรือออกจากราชการไปที่มิใช่เป็นการออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติ
หน้าที่ราชการกลับเข้ารับราชการในกระทรวงหรือกรม ตลอดจนจะส่ังบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง
ประเภทใด สายงานใด ระดับใด และให้ได้รับเงินเดือนเท่าใด ให้กระทาได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ท่ี ก.พ. กาหนด

เพื่อประโยชน์ในการนับเวลาราชการตามพระราชบัญญัตินี้และตามกฎหมายว่าด้วย
บาเหน็จบานาญข้าราชการ ข้าราชการพลเรือนสามัญที่ได้ออกจากราชการไป เนื่องจากถูกส่ังให้ออก
จากราชการเพ่ือไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรือได้รับอนุมัติ
จากคณะรัฐมนตรีให้ไปปฏิบัติงานใด ๆ ซ่ึงให้นับเวลาระหว่างนั้นสาหรับการคานวณบาเหน็จบานาญ
เหมือนเต็มเวลาราชการ เมื่อได้รับบรรจุกลับเข้ารับราชการให้มีสิทธินับวันรับราชการก่อนถูกสั่งให้ออก
จากราชการรวมกับวันรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรือวันท่ีได้ปฏิบัติงานใด ๆ
ตามท่ีได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี และวันรับราชการเม่ือได้รับบรรจุกลับเข้ารับราชการ
เป็นเวลาราชการติดต่อกันเสมือนว่าผู้น้ันมิได้เคยถูกส่ังให้ออกจากราชการ สาหรับผู้ซ่ึงออกจากราชการไป
ที่มิใช่เป็นการออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการซึ่งได้รับบรรจุกลับเข้ารับราชการ
ตามวรรคสี่ ให้มีสิทธินับเวลาราชการก่อนออกจากราชการเพ่ือประโยชน์ในการนับเวลาราชการ
ตามพระราชบัญญตั ินี้

มาตรา ๖๔ การโอนพนักงานส่วนท้องถิ่น การโอนข้าราชการที่ไม่ใช่ข้าราชการพลเรือน
สามัญตามพระราชบัญญัติน้ีและไม่ใช่ข้าราชการการเมือง และการโอนเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานอื่นของรัฐ
ที่ ก.พ. กาหนด มาบรรจุเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ตลอดจนจะแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทใด
สายงานใด ระดับใด และให้ได้รับเงนิ เดอื นเทา่ ใด ให้กระทาได้ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารท่ี ก.พ. กาหนด

เพื่อประโยชน์ในการนับเวลาราชการ ให้ถือเวลาราชการหรือเวลาทางานของผู้ท่ีโอน
มารบั ราชการตามวรรคหนง่ึ เป็นเวลาราชการของขา้ ราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย

มาตรา ๖๕ พนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งไม่ใช่ออกจากงานในระหว่างทดลองปฏิบัติงาน
หรือขา้ ราชการที่ไมใ่ ชข่ า้ ราชการพลเรอื นสามญั ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ และไมใ่ ช่ขา้ ราชการการเมือง ข้าราชการ
วิสามัญ หรือข้าราชการซึ่งออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ผู้ใดออกจากงานหรือ
ออกจากราชการไปแล้ว ถ้าสมัครเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญและทางราชการต้องการ
จะรับผู้น้ันเข้ารับราชการให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาโดยคานึงถึงประโยชน์
ท่ีทางราชการจะไดร้ บั ทงั้ น้ี จะบรรจแุ ละแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด และให้ได้รับ
เงินเดือนเท่าใดให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารที่ ก.พ. กาหนด

เพอ่ื ประโยชนใ์ นการนับเวลาราชการ ให้ถอื เวลาราชการหรือเวลาทางานของผู้เข้ารับราชการ
ตามวรรคหนึ่งในขณะท่ีเป็นข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถ่ินนั้นเป็นเวลาราชการของข้าราชการพลเรือน
สามญั ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ีด้วย

มาตรา ๖๖ ข้าราชการพลเรือนสามญั ผูใ้ ดไดร้ บั แต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา ๖๒ แล้ว
หากภายหลังปรากฏว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติไม่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนั้น ให้ผู้บังคับบัญชา
ซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ แต่งตั้งผู้น้ันให้กลับไปดารงตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอื่น
ในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันโดยพลัน แต่ท้ังน้ี ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดท่ีผู้นั้นได้ปฏิบัติ
ไปตามอานาจและหน้าท่ี และการรับเงินเดือนหรือผลประโยชน์อื่นใดท่ีได้รับหรือมีสิทธิจะได้รับอยู่ก่อน
ได้รบั คาสง่ั ให้กลับไปดารงตาแหนง่ ตามเดมิ หรอื ตาแหน่งอืน่ ในประเภทเดียวกนั และระดับเดียวกัน

การรับเงินเดือน สิทธิและประโยชน์ของผู้ท่ีได้รับแต่งต้ังให้กลับไปดารงตาแหน่งตามเดิม
หรือตาแหน่งอ่ืนในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ที่ ก.พ. กาหนด

ในกรณีที่ไม่สามารถแต่งตั้งให้กลับไปดารงตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอื่นในประเภท
เดียวกนั และระดบั เดยี วกนั ตามวรรคหนง่ึ ได้ ไมว่ า่ ดว้ ยเหตุใดให้ ก.พ. พิจารณาเปน็ การเฉพาะราย

มาตรา ๖๗ ผู้ได้รับบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญและแต่งต้ังให้ดารง
ตาแหน่งใดตามมาตรา ๕๓ วรรคหน่ึง มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕
หากภายหลังปรากฏว่าขาดคุณสมบัติท่ัวไปหรือมีลักษณะต้องห้ามโดยไม่ได้รับการยกเว้นตามมาตรา ๓๖
หรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนั้นโดยไม่ได้รับอนุมัติจาก ก.พ. ตามมาตรา ๖๒ อยู่ก่อนก็ดี
มกี รณตี ้องหาอยู่กอ่ นและภายหลงั เปน็ ผู้ขาดคุณสมบตั ิเนื่องจากกรณตี อ้ งหานน้ั ก็ดี ใหผ้ ู้บงั คับบัญชาซึ่งมีอานาจ
สั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ส่ังให้ผู้น้ันออกจากราชการโดยพลัน แต่ท้ังนี้ ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดที่ผู้นั้น
ได้ปฏิบัติไปตามอานาจและหน้าที่ และการรับเงินเดือนหรือผลประโยชน์อ่ืนใดท่ีได้รับหรือมีสิทธิจะได้รับ
จากทางราชการก่อนมีคาส่ังให้ออกน้ันและถ้าการเข้ารับราชการเป็นไปโดยสุจริตแล้วให้ถือว่าเป็นการ
สงั่ ให้ออกเพ่ือรับบาเหน็จบานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยบาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ

มาตรา ๖๘ ในกรณีที่ตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญว่างลง หรือผู้ดารงตาแหน่ง
ไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีราชการได้ และเป็นกรณีท่ีมิได้บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอานาจสั่งให้ข้าราชการพลเรือนที่เห็นสมควร
รกั ษาการในตาแหนง่ นัน้ ได้

ผู้รักษาการในตาแหน่งตามวรรคหนึ่ง ให้มีอานาจหน้าท่ีตามตาแหน่งที่รักษาการนั้น ในกรณี
ที่มีกฎหมายอื่น กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติของคณะรัฐมนตรี มติคณะกรรมการตามกฎหมายหรือคาส่ัง
ผู้บังคับบัญชา แต่งตั้งให้ผู้ดารงตาแหน่งนั้น ๆ เป็นกรรมการ หรือให้มีอานาจหน้าท่ีอย่างใด ก็ให้ผู้รักษาการ
ในตาแหนง่ ทาหน้าที่กรรมการ หรือมีอานาจหน้าทีอ่ ยา่ งน้ันในระหวา่ งที่รกั ษาการในตาแหน่ง แล้วแต่กรณี

มาตรา ๖๙ ในกรณที ่ีมเี หตุผลความจาเป็น ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
มีอานาจสง่ั ขา้ ราชการพลเรือนสามัญให้ประจาส่วนราชการเป็นการช่ัวคราวโดยให้พ้นจากตาแหน่งหน้าที่เดิมได้
ตามทกี่ าหนดในกฎ ก.พ.

การให้ได้รับเงินเดือน การแต่งตั้ง การเลื่อนเงินเดือน การดาเนินการทางวินัย และการออก
จากราชการของข้าราชการพลเรอื นสามัญตามวรรคหน่ึง ใหเ้ ปน็ ไปตามท่กี าหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๗๐ ในกรณีทมี่ เี หตุผลความจาเป็น ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
มีอานาจสั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญพ้นจากตาแหน่งหน้าท่ีและขาดจากอัตราเงินเดือนในตาแหน่งเดิม
โดยใหร้ ับเงนิ เดือนในอัตรากาลังทดแทนโดยมรี ะยะเวลาตามท่ี ก.พ. กาหนดได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
และวธิ กี ารที่กาหนดในกฎ ก.พ.

การใหพ้ ้นจากตาแหนง่ การให้ได้รับเงินเดือน การแต่งต้ัง การเลื่อนเงินเดือน การดาเนินการ
ทางวินัย และการออกจากราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามท่ีกาหนด
ในกฎ ก.พ.

ในกรณีที่หมดความจาเป็นหรือครบกาหนดระยะเวลาการให้รับเงินเดือนในอัตรากาลัง
ทดแทน ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้น้ันพ้นจาก
การรบั เงนิ เดือนในอตั รากาลังทดแทนและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอ่ืนในประเภทเดียวกัน
และระดบั เดยี วกนั

มาตรา ๗๑ ในกรณีที่ศาลปกครองมีคาพิพากษาถึงที่สุดสั่งให้เพิกถอนคาส่ังแต่งตั้ง
ข้าราชการพลเรือนสามัญ ให้เป็นหน้าท่ีของ ก.พ. โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีในการสั่งการ
ตามสมควรเพื่อเยยี วยาและแก้ไขหรอื ดาเนนิ การตามทเ่ี หน็ สมควรได้

หมวด ๔
การเพม่ิ พนู ประสิทธภิ าพและ
เสริมสรา้ งแรงจงู ใจในการปฏบิ ตั ริ าชการ

มาตรา ๗๒ ให้ส่วนราชการมีหน้าท่ีดาเนินการให้มีการเพ่ิมพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้าง
แรงจูงใจแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ เพ่ือให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม
คณุ ภาพชวี ิต มีขวัญและกาลังใจในการปฏบิ ัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์
และวธิ ีการที่ ก.พ. กาหนด

ในกรณีที่เห็นสมควร และเพื่อการประหยัด สานักงาน ก.พ. จะจัดให้มีการเพ่ิมพูน
ประสทิ ธภิ าพและเสรมิ สรา้ งแรงจงู ใจแทนสว่ นราชการตามวรรคหนึง่ กไ็ ด้

มาตรา ๗๓ ผู้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติตนต่อผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาอย่างมีคุณธรรมและ
เทีย่ งธรรมและเสรมิ สร้างแรงจงู ใจใหผ้ ้อู ยู่ใตบ้ งั คบั บัญชาดารงตนเปน็ ขา้ ราชการท่ดี ี

มาตรา ๗๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดประพฤติตนอยู่ในจรรยาและระเบียบวินัย
และปฏิบัติราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณา
เล่ือนเงินเดือนให้ตามควรแก่กรณีตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ. และจะให้บาเหน็จความชอบอย่างอ่ืนซ่ึงอาจเป็น
คาชมเชย เครอ่ื งเชิดชูเกยี รติ หรอื รางวลั ด้วยก็ได้

มาตรา ๗๕ การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญไปศึกษาเพ่ิมเติม ฝึกอบรม ดูงาน หรือ
ปฏิบตั ิการวิจยั ในประเทศหรือตา่ งประเทศ ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงอ่ื นไขท่ี ก.พ. กาหนด

มาตรา ๗๖ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
เพอื่ ใช้ประกอบการพิจารณาแต่งต้ัง และเลอ่ื นเงินเดือน ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ี ก.พ. กาหนด

ผลการประเมนิ ตามวรรคหนงึ่ ให้นาไปใชเ้ พ่อื ประโยชนใ์ นการพฒั นาและเพิ่มพูนประสิทธิภาพ
การปฏบิ ัตริ าชการดว้ ย

มาตรา ๗๗ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดถึงแกค่ วามตายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเล่ือนเงินเดือนให้ผู้น้ันเป็นกรณีพิเศษเพื่อประโยชน์ในการคานวณบาเหน็จบานาญ
หรอื ใหไ้ ดร้ บั สิทธปิ ระโยชนอ์ นื่ ตามระเบียบที่คณะรฐั มนตรีกาหนด

หมวด ๕
การรักษาจรรยาขา้ ราชการ

มาตรา ๗๘ ข้าราชการพลเรือนสามญั ต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วนราชการกาหนด
ไวโ้ ดยม่งุ ประสงค์ให้เปน็ ข้าราชการทดี่ ี มีเกยี รตแิ ละศักดิศ์ รีความเป็นขา้ ราชการ โดยเฉพาะในเร่ืองดังต่อไปนี้

(๑) การยึดมนั่ และยืนหยัดทาในสงิ่ ท่ีถูกตอ้ ง
(๒) ความซือ่ สตั ย์สุจริตและความรับผดิ ชอบ
(๓) การปฏบิ ตั ิหน้าทดี่ ว้ ยความโปรง่ ใสและสามารถตรวจสอบได้
(๔) การปฏิบัติหน้าทโ่ี ดยไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั อิ ย่างไมเ่ ปน็ ธรรม
(๕) การมุ่งผลสมั ฤทธ์ิของงาน
ให้สว่ นราชการกาหนดขอ้ บงั คบั วา่ ด้วยจรรยาขา้ ราชการเพอ่ื ให้สอดคล้องกับลักษณะของงาน
ในสว่ นราชการนัน้ ตามหลกั วชิ าและจรรยาวชิ าชพี
ในการกาหนดขอ้ บังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการตามวรรคสอง ให้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็น
ของขา้ ราชการและประกาศใหป้ ระชาชนทราบดว้ ย
มาตรา ๗๙ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการอันมิใช่
เป็นความผิดวินัย ให้ผู้บังคับบัญชาตักเตือน นาไปประกอบการพิจารณาแต่งต้ังเลื่อนเงินเดือน หรือส่ัง
ใหข้ า้ ราชการผนู้ นั้ ได้รบั การพัฒนา

หมวด ๖
วนิ ยั และการรกั ษาวนิ ยั

มาตรา ๘๐ ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาวินัยโดยกระทาการหรือไม่กระทาการ
ตามท่บี ัญญัติไวใ้ นหมวดน้โี ดยเคร่งครัดอยู่เสมอ

ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ปฏิบัติราชการในต่างประเทศนอกจากต้องรักษาวินัย
ตามทบ่ี ัญญัติไวใ้ นหมวดนแี้ ล้ว ตอ้ งรักษาวนิ ยั โดยกระทาการหรอื ไมก่ ระทาการตามท่กี าหนดในกฎ ก.พ. ดว้ ย

มาตรา ๘๑ ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุขดว้ ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ

มาตรา ๘๒ ขา้ ราชการพลเรือนสามญั ตอ้ งกระทาการอนั เปน็ ข้อปฏบิ ตั ดิ งั ต่อไปนี้
(๑) ตอ้ งปฏบิ ัติหน้าทร่ี าชการดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ สุจริต และเทย่ี งธรรม
(๒) ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติของ
คณะรฐั มนตรี นโยบายของรัฐบาล และปฏิบัติตามระเบยี บแบบแผนของทางราชการ
(๓) ต้องปฏิบัติหน้าท่ีราชการให้เกิดผลดีหรือความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความตั้งใจ
อุตสาหะ เอาใจใส่ และรักษาประโยชน์ของทางราชการ
(๔) ต้องปฏิบัติตามคาส่ังของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการ โดยชอบด้วยกฎหมาย
และระเบียบของทางราชการ โดยไมข่ ดั ขืนหรอื หลกี เล่ยี ง แต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคาส่ังนั้นจะทาให้เสียหาย
แก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทางราชการจะต้องเสนอความเห็นเป็นหนังสื อทันที
เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาสั่งนั้น และเมื่อได้เสนอความเห็นแล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันให้ปฏิบัติ
ตามคาส่งั เดิม ผอู้ ย่ใู ตบ้ ังคบั บญั ชาตอ้ งปฏิบัติตาม

(๕) ต้องอทุ ศิ เวลาของตนใหแ้ กร่ าชการ จะละทิ้งหรือทอดทงิ้ หนา้ ทีร่ าชการมิได้
(๖) ต้องรักษาความลับของทางราชการ
(๗) ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีและต้องช่วยเหลือกันในการปฏิบัติราชการ
ระหว่างขา้ ราชการดว้ ยกนั และผู้ร่วมปฏิบตั ิราชการ
(๘) ต้องต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม และให้การสงเคราะห์แก่ประชาชน
ผ้ตู ิดตอ่ ราชการเก่ียวกบั หน้าที่ของตน
(๙) ต้องวางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าที่ราชการและในการปฏิบัติการอ่ืน
ที่เก่ียวข้องกับประชาชน กับจะต้องปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการว่าด้วยมารยาททางการเมือง
ของข้าราชการด้วย
(๑๐) ต้องรักษาชื่อเสียงของตน และรักษาเกียรติศักด์ิของตาแหน่งหน้าที่ราชการของตน
มิใหเ้ ส่อื มเสีย
(๑๑) กระทาการอนื่ ใดตามทก่ี าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๘๓ ข้าราชการพลเรอื นสามัญตอ้ งไม่กระทาการใดอันเปน็ ข้อหา้ ม ดังต่อไปน้ี
(๑) ต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา การรายงานโดยปกปิดข้อความซ่ึงควรต้องแจ้ง
ถือว่าเปน็ การรายงานเทจ็ ด้วย
(๒) ต้องไม่ปฏิบัติราชการอันเป็นการกระทาการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน เว้นแต่
ผบู้ งั คับบัญชาเหนือตนขึ้นไปเปน็ ผ้สู งั่ ให้กระทาหรือไดร้ ับอนญุ าตเป็นพเิ ศษชั่วครัง้ คราว
(๓) ต้องไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยตาแหน่งหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์
ให้แกต่ นเองหรอื ผูอ้ ื่น
(๔) ตอ้ งไมป่ ระมาทเลนิ เล่อในหน้าท่รี าชการ
(๕) ต้องไม่กระทาการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทาการหาผลประโยชน์อันอาจทาให้
เสียความเทย่ี งธรรมหรอื เสอื่ มเสยี เกียรติศกั ดิข์ องตาแหน่งหน้าท่ีราชการของตน
(๖) ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดารงตาแหน่งอ่ืนใดท่ีมีลักษณะงาน
คล้ายคลงึ กันน้นั ในห้างหนุ้ ส่วนหรือบริษัท
(๗) ต้องไมก่ ระทาการอย่างใดที่เปน็ การกลนั่ แกล้ง กดข่ี หรือขม่ เหงกันในการปฏิบตั ิราชการ
(๘) ตอ้ งไม่กระทาการอันเปน็ การลว่ งละเมดิ หรอื คุกคามทางเพศตามทกี่ าหนดในกฎ ก.พ.
(๙) ต้องไมด่ หู มนิ่ เหยยี ดหยาม กดขี่ หรือข่มเหงประชาชนผตู้ ิดต่อราชการ
(๑๐) ไม่กระทาการอ่นื ใดตามทก่ี าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๘๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติตามมาตรา ๘๑ และ
มาตรา ๘๒ หรอื ฝ่าฝนื ข้อหา้ มตามมาตรา ๘๓ ผ้นู ั้นเปน็ ผู้กระทาผิดวินยั

มาตรา ๘๕ การกระทาผดิ วนิ ยั ในลกั ษณะดังต่อไปนี้ เป็นความผดิ วนิ ัยอย่างร้ายแรง
(๑) ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยมิชอบเพ่ือให้เกิดความเสียหาย
อยา่ งรา้ ยแรงแกผ่ ูห้ นงึ่ ผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเวน้ การปฏิบัตหิ น้าทรี่ าชการโดยทจุ ริต
(๒) ละท้ิงหรือทอดทิ้งหน้าท่ีราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการ
อย่างรา้ ยแรง
(๓) ละท้ิงหน้าท่ีราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
หรือโดยมีพฤตกิ ารณอ์ นั แสดงถึงความจงใจไมป่ ฏิบตั ติ ามระเบียบของทางราชการ
(๔) กระทาการอนั ไดช้ อื่ วา่ เป็นผู้ประพฤตชิ ัว่ อย่างร้ายแรง
(๕) ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ขม่ เหง หรอื ทาร้ายประชาชนผู้ตดิ ต่อราชการอย่างรา้ ยแรง
(๖) กระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกหรือโทษที่หนักกว่าโทษจาคุกโดยคาพิพากษา
ถึงที่สุดให้จาคุกหรือให้รับโทษท่ีหนักกว่าโทษจาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดท่ีได้กระทาโดยประมาท
หรือความผิดลหโุ ทษ
(๗) ละเว้นการกระทาหรือกระทาการใด ๆ อันเป็นการไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘๒ หรือฝ่าฝืน
ข้อห้ามตามมาตรา ๘๓ อันเป็นเหตุใหเ้ สียหายแกร่ าชการอยา่ งรา้ ยแรง
(๘) ละเว้นการกระทาหรือกระทาการใด ๆ อันเป็นการไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง
และมาตรา ๘๒ (๑๑) หรือฝ่าฝืนข้อห้ามตามมาตรา ๘๓ (๑๐) ท่ีมีกฎ ก.พ. กาหนดให้เป็นความผิดวินัย
อยา่ งรา้ ยแรง
มาตรา ๘๖ กฎ ก.พ. ตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง มาตรา ๘๒ (๑๑) มาตรา ๘๓ (๘) และ (๑๐)
และมาตรา ๘๕ (๘) ใหใ้ ช้สาหรบั การกระทาทเี่ กดิ ขน้ึ ภายหลังจากท่ีกฎ ก.พ. ดงั กลา่ วใช้บงั คบั
มาตรา ๘๗ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีเสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย
และป้องกนั มใิ หผ้ ้อู ยูใ่ ตบ้ ังคบั บญั ชากระทาผดิ วนิ ยั ท้งั น้ี ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการที่ ก.พ. กาหนด
มาตรา ๘๘ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย จะต้องได้รับโทษทางวินัย เว้นแต่
มเี หตุอันควรงดโทษตามทบ่ี ญั ญัตไิ ว้ในหมวด ๗ การดาเนนิ การทางวินยั
โทษทางวนิ ัยมี ๕ สถาน ดังต่อไปน้ี
(๑) ภาคทัณฑ์
(๒) ตัดเงินเดือน
(๓) ลดเงินเดอื น
(๔) ปลดออก
(๕) ไลอ่ อก
มาตรา ๘๙ การลงโทษข้าราชการพลเรือนสามัญให้ทาเป็นคาส่ัง ผู้ส่ังลงโทษต้องสั่งลงโทษ
ให้เหมาะสมกับความผิดและต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ โดยในคาส่ังลงโทษ
ให้แสดงวา่ ผถู้ ูกลงโทษกระทาผิดวนิ ยั ในกรณีใดและตามมาตราใด

หมวด ๗
การดาเนนิ การทางวนิ ยั

มาตรา ๙๐ เม่ือมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใด
กระทาผิดวินัย ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีต้องรายงานให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
ทราบโดยเร็ว และให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดาเนินการตามพระราชบัญญัติน้ี
โดยเรว็ ดว้ ยความยุตธิ รรมและโดยปราศจากอคติ

ผู้บังคับบัญชาหรือผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ผู้ใดละเลยไม่ปฏิบัติ
หนา้ ทตี่ ามวรรคหนึง่ หรอื ปฏิบตั ิหนา้ ทโ่ี ดยไม่สจุ ริตให้ถอื ว่าผู้นั้นกระทาผดิ วินัย

อานาจหน้าท่ีของผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ตามหมวดนี้
ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะมอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาระดับต่าลงไปปฏิบัติแทน
ตามหลกั เกณฑท์ ่ี ก.พ. กาหนดกไ็ ด้

มาตรา ๙๑ เมื่อได้รับรายงานตามมาตรา ๙๐ หรือความดังกล่าวปรากฏต่อผู้บังคับบัญชา
ซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ รีบดาเนินการ
หรือสั่งให้ดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณาในเบ้ืองต้นว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่าผู้น้ันกระทาผิดวินัยหรือไม่
ถา้ เหน็ ว่ากรณไี ม่มมี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ กระทาผิดวนิ ยั ก็ใหย้ ุติเร่ืองได้

ในกรณีที่เห็นว่ามีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย
โดยมพี ยานหลกั ฐานในเบือ้ งต้นอยู่แลว้ ให้ดาเนนิ การตอ่ ไปตามมาตรา ๙๒ หรอื มาตรา ๙๓ แล้วแต่กรณี

มาตรา ๙๒ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑ ปรากฏว่ากรณีมีมูล
ถ้าความผิดนั้นมิใช่เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง และได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ พร้อมท้ังรับฟังคาชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหาแล้วผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา ให้ผู้บังคับบัญชาส่ังลงโทษตามควรแก่กรณี
โดยไม่ตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได้

ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นว่า
ผู้ถูกกล่าวหาไมไ่ ด้กระทาผดิ ตามข้อกลา่ วหา ใหผ้ บู้ ังคบั บญั ชาดังกล่าวสงั่ ยตุ ิเร่ือง

มาตรา ๙๓ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑ ปรากฏว่ากรณีมีมูล
อันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ แต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบสวน ในการสอบสวนต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบพร้อมท้ังรับฟัง
คาชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหา เม่ือคณะกรรมการสอบสวนดาเนินการเสร็จ ให้รายงานผลการสอบสวน
และความเหน็ ตอ่ ผูบ้ ังคบั บญั ชาซึ่งมอี านาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗

ถ้าผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้กระทาผิด
ตามข้อกล่าวหา ให้สั่งยุติเร่ือง แต่ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา ให้ดาเนินการต่อไป
ตามมาตรา ๙๖ หรอื มาตรา ๙๗ แล้วแตก่ รณี

มาตรา ๙๔ การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนสาหรับกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญ
ตาแหน่งต่างกัน หรือต่างกรมหรือต่างกระทรวงกันถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยร่วมกันใ ห้ดาเนินการ
ดงั ต่อไปนี้

(๑) สาหรับข้าราชการพลเรือนสามัญในกรมเดียวกัน ที่อธิบดีหรือปลัดกระทรวงถูกกล่าวหา
ว่ากระทาผิดวินัยร่วมกับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ให้ปลัดกระทรวงหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวง แล้วแต่กรณี
เป็นผูส้ ั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน

(๒) สาหรับข้าราชการพลเรือนสามัญต่างกรมในกระทรวงเดียวกันถูกกล่าวหาว่ากระทาผิด
วินัยร่วมกัน ให้ปลัดกระทรวงเป็นผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เว้นแต่เป็นกรณีที่ปลัดกระทรวง
ถูกกลา่ วหาร่วมดว้ ย ให้รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงเป็นผสู้ ่ังแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวน

(๓) สาหรับข้าราชการพลเรือนสามัญต่างกระทรวงกันถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยร่วมกัน
ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เว้นแต่เป็นกรณี
ทมี่ ผี ู้ถกู กล่าวหาดารงตาแหน่งประเภทบรหิ ารระดบั สงู ร่วมดว้ ย ใหน้ ายกรัฐมนตรีเป็นผสู้ ั่งแต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบสวน

(๔) สาหรับกรณีอ่นื ให้เปน็ ไปตามทกี่ าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๙๕ หลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินัยให้เป็นไป
ตามทก่ี าหนดในกฎ ก.พ.
ในกรณีท่ีเป็นความผิดท่ีปรากฏชัดแจ้งตามที่กาหนดในกฎ ก.พ. จะดาเนินการทางวินัย
โดยไม่ต้องสอบสวนก็ได้
มาตรา ๙๖ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชา
ซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ส่ังลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนตามควรแก่กรณี
ให้เหมาะสมกบั ความผิด
ในกรณีมีเหตุอันควรลดหย่อน จะนามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ แต่สาหรับ
การลงโทษภาคทัณฑใ์ ห้ใชเ้ ฉพาะกรณีกระทาผิดวินยั เล็กนอ้ ย
ในกรณีกระทาผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษให้โดยให้ทาทัณฑ์บน
เป็นหนังสอื หรอื ว่ากล่าวตกั เตือนกไ็ ด้
การลงโทษตามมาตรานี้ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะมีอานาจ
สัง่ ลงโทษผอู้ ยใู่ ตบ้ ังคับบญั ชาในสถานโทษและอัตราโทษใดไดเ้ พยี งใด ให้เป็นไปตามทกี่ าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๙๗ ภายใต้บังคับวรรคสอง ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย
อย่างร้ายแรง ให้ลงโทษปลดออกหรือไล่ออกตามความร้ายแรงแห่งกรณี ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อน
จะนามาประกอบการพจิ ารณาลดโทษก็ได้ แต่หา้ มมใิ หล้ ดโทษลงต่ากวา่ ปลดออก
ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนหรือผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓
วรรคหนึ่ง หรือผู้มีอานาจตามมาตรา ๙๔ เห็นว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง

ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ส่งเรื่องให้ อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ
อ.ก.พ. กระทรวง ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาสังกัดอยู่ แล้วแต่กรณี พิจารณา เมื่อ อ.ก.พ. ดังกล่าวมีมติเป็นประการใด
ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ส่ังหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่กาหนดในกฎ ก.พ.

ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไม่ใช้อานาจตามมาตรา ๙๓
วรรคหนึ่ง มาตรา ๙๔ หรือมาตราน้ี ให้ผู้บังคับบัญชาตามมาตรา ๕๗ ระดับเหนือข้ึนไป มีอานาจดาเนินการ
ตามมาตรา ๙๓ วรรคหนง่ึ มาตรา ๙๔ หรอื มาตรานไี้ ด้

ผใู้ ดถกู ลงโทษปลดออก ใหม้ ีสิทธิไดร้ ับบาเหนจ็ บานาญเสมอื นว่าผู้น้ันลาออกจากราชการ
มาตรา ๙๘ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดให้ข้อมูลต่อผู้บังคับบัญชาหรือให้ถ้อยคา
ในฐานะพยานต่อผู้มีหน้าที่สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ
อันเป็นประโยชน์และเป็นผลดียิ่งต่อทางราชการ ผู้บังคับบัญชาอาจพิจารณาให้บาเหน็จความชอบ
เป็นกรณพี ิเศษได้
ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดอยู่ในฐานะท่ีอาจจะถูกกล่าวหาว่าร่วมกระทาผิดวินัย
กับข้าราชการอื่น ให้ข้อมูลต่อผู้บังคับบัญชา หรือให้ถ้อยคาต่อบุคคลหรือคณะบุคคลตามความในวรรคหน่ึง
เกี่ยวกับการกระทาผิดวินัยที่ได้กระทามา จนเป็นเหตุให้มีการสอบสวนพิจารณาทางวินัยแก่ผู้เป็นต้นเหตุ
แห่งการกระทาผิด ผู้บังคับบัญชาอาจใช้ดุลพินิจกันผู้น้ันไว้เป็นพยานหรือพิจารณาลดโทษทางวินัยตามควร
แกก่ รณไี ด้
ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดให้ข้อมูลหรือให้ถ้อยคาในฐานะพยานตามวรรคหนึ่ง
หรอื วรรคสองอนั เปน็ เท็จให้ถอื ว่าผูน้ ้ันกระทาผดิ วินัย
หลักเกณฑ์และวิธีการการให้บาเหน็จความชอบ การกันเป็นพยาน การลดโทษ และการ
ใหค้ วามคมุ้ ครองพยาน ใหเ้ ป็นไปตามท่กี าหนดในกฎ ก.พ.
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการคุ้มครองพยานตามวรรคส่ี จะกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
ที่สานักงาน ก.พ. หรือผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะดาเนินการย้าย โอน หรือ
ดาเนินการอื่นใดโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมหรือเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชาของข้าราชการผู้นั้น
และไมต่ อ้ งปฏบิ ัติตามข้นั ตอนหรอื กระบวนการตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินก้ี ไ็ ด้
มาตรา ๙๙ ให้กรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหน่ึง เป็นเจ้าพนักงานตามประมวล
กฎหมายอาญาและให้มีอานาจเช่นเดียวกับพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
เพยี งเท่าทเี่ ก่ียวกับอานาจและหนา้ ทขี่ องกรรมการสอบสวนและโดยเฉพาะใหม้ ีอานาจดังตอ่ ไปนี้ด้วยคือ
(๑) เรียกให้กระทรวง กรม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ หรือห้างหุ้นส่วน
บรษิ ทั ช้ีแจงขอ้ เทจ็ จริง สง่ เอกสารและหลกั ฐานท่ีเก่ยี วขอ้ ง สง่ ผแู้ ทนหรือบคุ คลในสังกดั มาชี้แจงหรือให้ถ้อยคา
เกี่ยวกับเร่ืองที่สอบสวน
(๒) เรยี กผ้ถู ูกกล่าวหาหรือบคุ คลใด ๆ มาช้แี จงหรือให้ถ้อยคา หรือใหส้ ง่ เอกสารและหลักฐาน
เก่ยี วกบั เรอ่ื งท่สี อบสวน

มาตรา ๑๐๐ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาเป็นหนังสือว่ากระทา
หรือละเว้นกระทาการใดที่เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ถ้าเป็นการกล่าวหาต่อผู้บังคับบัญชาของผู้น้ั น
หรือต่อผู้มีหน้าที่สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือ
เป็นการกล่าวหาโดยผู้บังคับบัญชาของผู้น้ัน หรือมีกรณีถูกฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา
อันมิใช่เป็นความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทท่ีไม่เก่ียวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ แม้ภายหลังผู้น้ัน
จะออกจากราชการไปแล้ว โดยมิใช่เพราะเหตุตาย ผู้มีอานาจดาเนินการทางวินัยมีอานาจดาเนินการสืบสวน
หรือพจิ ารณา และดาเนินการทางวินัยตามทบี่ ญั ญตั ิไว้ในหมวดน้ีต่อไปได้เสมือนว่าผู้น้ันยังมิได้ออกจากราชการ
แต่ท้งั น้ี ผูบ้ ังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ต้องดาเนินการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง
ภายในหนึ่งรอ้ ยแปดสิบวนั นับแตว่ นั ทผ่ี นู้ ัน้ พ้นจากราชการ

ใ น ก ร ณีต า ม ว ร ร ค ห นึ่ง ถ้า ผ ล ก า ร ส อ บ ส ว น พิจ า ร ณ า ป ร า ก ฏ ว ่า ผู้นั้น ก ร ะ ทา ผิด ว ิน ัย
อย่างไม่ร้ายแรงกใ็ ห้งดโทษ

มาตรา ๑๐๑ ข้าราชการพลเรือนสามัญผใู้ ดมีกรณีถกู กล่าวหาวา่ กระทาผดิ วินัยอย่างร้ายแรง
จนถูกตั้งกรรมการสอบสวน หรือถูกฟ้องคดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา เว้นแต่เป็นความผิด
ที่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอานาจ
ส่ังพักราชการหรือสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนเพอ่ื รอฟังผลการสอบสวนหรอื พิจารณา หรือผลแหง่ คดไี ด้

ถา้ ภายหลังปรากฏผลการสอบสวนหรอื พจิ ารณาว่าผูน้ ้ันมิได้กระทาผิดหรือกระทาผิดไม่ถึงกับ
จะถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก และไม่มีกรณีที่จะต้องออกจากราชการด้วยเหตุอื่น ก็ให้ผู้มีอานาจดังกล่าว
สั่งให้ผู้นั้นกลับเข้าปฏิบัติราชการหรือกลับเข้ารับราชการในตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอ่ืนในประเภท
เดียวกันและระดับเดียวกันหรือในตาแหน่งประเภทและระดับท่ี ก.พ. กาหนด ท้ังนี้ ผู้น้ันต้องมีคุณสมบัติ
ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนัน้

เม่ือได้มีการส่ังให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดพักราชการหรือออกจากราชการไว้ก่อน
แล้วภายหลังปรากฏว่าผู้น้ันมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงในกรณีอ่ืนอีก ผู้บังคับบัญชา
ซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอานาจดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณา และแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนตามมาตรา ๙๓ ตลอดจนดาเนนิ การทางวนิ ยั ตามที่บญั ญัติไว้ในหมวดน้ีตอ่ ไปได้

ในกรณีท่ีสงั่ ใหผ้ ู้ถกู สงั่ ให้ออกจากราชการไว้ก่อนกลับเข้ารับราชการ หรือส่ังให้ผู้ถูกส่ังให้ออก
จากราชการไว้ก่อนออกจากราชการด้วยเหตุอ่ืนท่ีมิใช่เป็นการลงโทษเพราะกระทาผิดวินัยอ ย่างร้ายแรง
กใ็ หผ้ ้นู นั้ มีสถานภาพเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญตลอดระยะเวลาระหว่างที่ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน
เสมอื นวา่ ผนู้ น้ั เปน็ ผู้ถกู สงั่ พกั ราชการ

เงินเดือน เงินอื่นท่ีจ่ายเป็นรายเดือน และเงินช่วยเหลืออย่างอื่น และการจ่ายเงินดังกล่าว
ของผูถ้ กู สั่งพักราชการ และผถู้ ูกส่ังให้ออกจากราชการไว้กอ่ น ให้เปน็ ไปตามกฎหมายหรือระเบียบว่าดว้ ยการน้นั

การส่งั พกั ราชการใหส้ ั่งพักตลอดเวลาท่ีสอบสวนหรือพิจารณา เว้นแต่ผู้ถูกสั่งพักราชการผู้ใด
ได้ร้องทุกข์ตามมาตรา ๑๒๒ และผู้มีอานาจพิจารณาคาร้องทุกข์เห็นว่าสมควรส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ี
ราชการก่อนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จสิ้นเน่ืองจากพฤติการณ์ของผู้ถูกส่ังพักราชการไม่เป็นอุปสรรค
ต่อการสอบสวนหรือพิจารณา และไม่ก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยต่อไป หรือเน่ืองจากการดาเนินการ
ทางวินัยไดล้ ว่ งพน้ หนึ่งปนี ับแต่วนั พักราชการแล้วยังไม่แล้วเสร็จและผู้ถูกส่ังพักราชการไม่มีพฤติกรรมดังกล่าว
ให้ผู้มีอานาจส่ังพกั ราชการสง่ั ใหผ้ นู้ ัน้ กลบั เข้าปฏิบัตหิ น้าท่ีราชการกอ่ นการสอบสวนหรอื พจิ ารณาเสรจ็ สนิ้

ใหน้ าความในวรรคหกมาใช้บงั คบั กับกรณถี กู สั่งใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ นด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการเก่ียวกับการส่ังพักราชการ การส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน
ระยะเวลาให้พักราชการและให้ออกจากราชการไว้ก่อน การให้กลับเข้าปฏิบัติราชการหรือกลับเข้ารับราชการ
และการดาเนนิ การเพือ่ ให้เป็นไปตามผลการสอบสวนหรอื พจิ ารณาใหเ้ ป็นไปตามทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๑๐๒ การลงโทษข้าราชการพลเรือนสามัญในส่วนราชการที่มีกฎหมายว่าด้วย
วินัยข้าราชการโดยเฉพาะ ในกรณีเป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามพระราชบัญญัตินี้จะลงโทษ
ตามพระราชบัญญัตินี้หรือลงทัณฑ์หรือลงโทษตามกฎหมายว่าด้วยวินัยข้าราชการนั้ นอย่างใดอย่างหน่ึง
ตามควรแก่กรณีและพฤติการณ์ก็ได้ แต่ถ้าเป็นกรณีกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงตามพระราชบัญญัตินี้
ไม่ว่าจะได้ลงทัณฑ์หรือลงโทษตามกฎหมายดังกล่าวแล้วหรือไม่ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาดาเนินการ
ตามที่กาหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั นิ ี้
มาตรา ๑๐๓ เม่ือผู้บังคับบัญชาได้ส่ังลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้หรือลงทัณฑ์
ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยข้าราชการโดยเฉพาะ หรือส่ังยุติเรื่อง หรืองดโทษแล้ว ให้รายงาน อ.ก.พ. กระทรวง
ซ่ึงผู้ถูกดาเนินการทางวินัยสังกัดอยู่เพ่ือพิจารณา เว้นแต่เป็นกรณีดาเนินการทางวินัยกับข้าราชการ
ตา่ งกระทรวงกนั หรือกรณดี าเนนิ การทางวินัยตามมติ อ.ก.พ. กระทรวง ตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง ให้รายงาน
ก.พ. ทง้ั นี้ ตามระเบียบท่ี ก.พ. กาหนด
ในกรณีที่ อ.ก.พ. กระทรวงหรือ ก.พ. เห็นว่าการดาเนินการทางวินัยเป็นการไม่ถูกต้อง
หรือไม่เหมาะสม หากมีมติเป็นประการใด ให้ผู้บังคับบัญชาส่ังหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามท่ี อ.ก.พ. กระทรวง
หรือ ก.พ. มีมติ
ในกรณีตามวรรคสองและในการดาเนินการตามมาตรา ๑๐๔ ให้ ก.พ. มีอานาจสอบสวนใหม่
หรอื สอบสวนเพม่ิ เตมิ ไดต้ ามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ี ก.พ. กาหนดตามมาตรา ๙๕
มาตรา ๑๐๔ ในการดาเนินการของ อ.ก.พ. กระทรวงตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง หรือ
มาตรา ๑๐๓ วรรคสอง หากผู้แทน ก.พ. ซ่ึงเป็นกรรมการใน อ.ก.พ. กระทรวงดังกล่าวเห็นว่าการดาเนินการ
ของผู้บังคับบัญชาหรือมติ อ.ก.พ. กระทรวง เป็นการไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ีหรือปฏิบัติไม่เหมาะสม
ให้รายงาน ก.พ. เพื่อพิจารณาดาเนินการตามควรแก่กรณีต่อไป และเมื่อ ก.พ. มีมติเป็นประการใด
ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามที่ ก.พ. มีมติ ทั้งน้ี เว้นแต่ผู้ถูกลงโทษได้อุทธรณ์คาสั่งลงโทษ
ของผู้บังคับบัญชาต่อ ก.พ.ค. ในกรณีเช่นน้ีให้ ก.พ. แจ้งมติต่อ ก.พ.ค. เพ่ือประกอบการพิจารณาวินิจฉัย
อทุ ธรณ์

มาตรา ๑๐๕ เมื่อมีกรณีเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ให้ผู้สั่งมีคาสั่งใหม่
และในคาสั่งดังกล่าวให้ส่ังยกเลิกคาสั่งลงโทษเดิม พร้อมท้ังระบุวิธีการดาเนินการเกี่ยวกับโทษท่ีได้รับไปแล้ว
ทงั้ นี้ ตามทก่ี าหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๑๐๖ ข้าราชการพลเรือนสามัญซึ่งโอนมาตามมาตรา ๖๔ ผู้ใดมีกรณีกระทาผิดวินัย
อยู่ก่อนวันโอนมาบรรจุ ให้ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการพลเรือนสามัญผู้น้ันดาเนินการทางวินัยตามหมวดน้ี
โดยอนุโลม แต่ถ้าเป็นเร่ืองท่ีอยู่ในระหว่างการสืบสวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนของผู้บังคับบัญชา เดิม
กอ่ นวนั โอนก็ให้สืบสวนหรอื พิจารณา หรือสอบสวนต่อไปจนเสร็จ แล้วส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการ
พลเรือนสามัญผู้นั้นพิจารณาดาเนินการต่อไปตามหมวดน้ีโดยอนุโลม แต่ทั้งนี้ ในการส่ังลงโทษทางวินัย
ให้พิจารณาตามความผิดและลงโทษตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารง านบุคคลส่วนท้องถ่ินหรือกฎหมาย
วา่ ด้วยระเบยี บขา้ ราชการทโี่ อนมานั้น แล้วแต่กรณี

หมวด ๘
การออกจากราชการ

มาตรา ๑๐๗ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ออกจากราชการเมอื่
(๑) ตาย
(๒) พ้นจากราชการตามกฎหมายวา่ ด้วยบาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ
(๓) ลาออกจากราชการและได้รับอนญุ าตให้ลาออกหรอื การลาออกมผี ลตามมาตรา ๑๐๙
(๔) ถกู สง่ั ใหอ้ อกตามมาตรา ๕๙ มาตรา ๖๗ มาตรา ๑๐๑ มาตรา ๑๑๐ หรือมาตรา ๑๑๑ หรือ
(๕) ถกู สัง่ ลงโทษปลดออก หรอื ไล่ออก
วันออกจากราชการตาม (๔) และ (๕) ให้เปน็ ไปตามระเบียบท่ี ก.พ. กาหนด
มาตรา ๑๐๘ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดเมอื่ อายคุ รบหกสบิ ปีบริบูรณ์ในส้ินปีงบประมาณ
และทางราชการมีความจาเป็นที่จะให้รับราชการต่อไปเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในทางวิชาการหรือหน้าท่ีที่ต้องใช้
ความสามารถเฉพาะตัว ในตาแหน่งตามมาตรา ๔๖ (๓) (ง) หรือ (จ) หรือ (๔) (ค) หรือ (ง) จะให้รับราชการ
ตอ่ ไปอีกไมเ่ กนิ สบิ ปีกไ็ ด้ตามทกี่ าหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๑๐๙ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการให้ย่ืนหนังสือ
ขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่งโดยยื่นล่วงหน้าก่อนวันขอลาออกไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
เพอ่ื ให้ผ้บู ังคับบญั ชาซงึ่ มีอานาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ เปน็ ผู้พิจารณาก่อนวนั ขอลาออก
ใ น ก ร ณ ีที ่ผู ้ป ร ะ ส ง ค ์จ ะ ล า อ อ ก ยื ่น ห น ัง ส ือ ข อ ล า อ อ ก ล ่ว ง ห น ้า น ้อ ย ก ว ่า ส า ม ส ิบ ว ัน
และผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นว่ามีเหตุผลและความจาเป็นจะอนุญาตให้ลาออก
ตามวันที่ขอลาออกกไ็ ด้

ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นว่าจาเป็น เพ่ือประโยชน์
แก่ราชการ จะยับย้ังการลาออกไว้เป็นเวลาไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันขอลาออกก็ได้ ในกรณีเช่นน้ันถ้าผู้ขอลาออก
มิได้ถอนใบลาออกก่อนครบกาหนดระยะเวลาการยับย้ัง ให้ถือว่าการลาออกนั้นมีผลเมื่อครบกาหนดเวลา
ตามที่ไดย้ บั ยงั้ ไว้

ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ มิได้ยับย้ังตามวรรคสาม
ใหก้ ารลาออกนน้ั มผี ลตงั้ แต่วนั ขอลาออก

ในกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการเพื่อดารงตาแหน่ง
ในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ตาแหน่งทางการเมือง หรือตาแหน่งอื่นที่ ก.พ. กาหนด หรือเพ่ือสมัคร
รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถ่ิน ให้ย่ืนหนังสือขอลาออก
ต่อผ้บู งั คบั บญั ชาตามวรรคหนึ่ง และใหก้ ารลาออกมผี ลนบั ต้ังแต่วันทผ่ี ูน้ ัน้ ขอลาออก

หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตให้ลาออกและการยับย้ัง
การลาออกจากราชการ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บท่ี ก.พ. กาหนด

มาตรา ๑๑๐ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอานาจสั่งให้ข้าราชการ
พลเรือนสามัญออกจากราชการเพื่อรับบาเหน็จบานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญ
ข้าราชการไดใ้ นกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) เมื่อข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดเจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ราชการของตนได้
โดยสม่าเสมอ

(๒) เมื่อข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดสมัครไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงค์ของ
ทางราชการ

(๓) เม่ือข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดขาดคุณสมบัติท่ัวไปตามมาตรา ๓๖ ก. (๑) หรือ (๓)
หรือมลี ักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๓๖ ข. (๑) (๓) (๖) หรอื (๗)

(๔) เมื่อทางราชการเลิกหรือยุบหน่วยงานหรือตาแหน่งท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญ
ปฏิบัติหน้าท่ีหรือดารงอยู่ สาหรับผู้ที่ออกจากราชการในกรณีน้ีให้ได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงือ่ นไขท่กี ระทรวงการคลังกาหนดดว้ ย

(๕) เม่ือข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพและ
เกิดประสทิ ธผิ ลในระดับอันเปน็ ทพ่ี อใจของทางราชการ

(๖) เมื่อข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดหย่อนความสามารถในอันท่ีจะปฏิบัติหน้าที่ราชการ
บกพรอ่ งในหน้าทีร่ าชการ หรือประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าท่ีราชการ ถ้าให้ผู้น้ันรับราชการต่อไป
จะเปน็ การเสียหายแกร่ าชการ

(๗) เมื่อข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีกรณีถูกสอบสวนว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ตามมาตรา ๙๓ และผลการสอบสวนไม่ไดค้ วามแน่ชัดพอที่จะฟังลงโทษตามมาตรา ๙๗ วรรคหน่ึง แต่มีมลทิน
หรอื มัวหมองในกรณีทถ่ี กู สอบสวน ถา้ ให้รับราชการต่อไปจะเป็นการเสยี หายแก่ราชการ

(๘) เมื่อข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดต้องรับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก
ในความผิดทไี่ ด้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือต้องรับโทษจาคุกโดยคาสั่งของศาลซึ่งยังไม่ถึงกับ
จะต้องถกู ลงโทษปลดออกหรือไล่ออก

การสั่งให้ออกจากราชการตามวรรคหน่ึงให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ. ท้ังนี้ ให้นา
มาตรา ๙๗ วรรคสอง มาใช้บงั คับกับการสง่ั ใหอ้ อกจากราชการตามกรณี (๓) เฉพาะมาตรา ๓๖ ก. (๓) กรณี (๖)
และกรณี (๗) โดยอนโุ ลม

เมื่อผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ส่ังให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใด
ออกจากราชการตามมาตรานี้แล้ว ให้รายงาน อ.ก.พ. กระทรวง หรือ ก.พ. แล้วแต่กรณี และให้นามาตรา ๑๐๓
มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๑๑ เม่ือข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วย
การรับราชการทหาร ให้ผ้บู งั คับบญั ชาซึง่ มอี านาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ สงั่ ใหผ้ ู้น้ันออกจากราชการ

ผู้ใดถูกส่ังให้ออกจากราชการตามวรรคหน่ึง และต่อมาปรากฏว่าผู้น้ันมีกรณีที่จะต้องถูกสั่ง
ให้ออกจากราชการตามมาตราอ่ืนอยู่ก่อนไปรับราชการทหาร ก็ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ มอี านาจเปลีย่ นแปลงคาสัง่ ใหอ้ อกตามวรรคหน่งึ เปน็ ให้ออกจากราชการตามมาตราอ่นื นน้ั ได้

มาตรา ๑๑๒ ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไม่ใช้อานาจ
ตามมาตรา ๑๑๐ โดยไม่มเี หตุอันสมควร ใหผ้ ู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ระดับเหนือข้ึนไป
มีอานาจดาเนนิ การตามมาตรา ๑๑๐ ได้

มาตรา ๑๑๓ การออกจากราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ดารงตาแหน่ง
ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ัง ให้นาความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการให้พ้นจากตาแหน่ง
นบั แตว่ ันออกจากราชการ เว้นแตอ่ อกจากราชการเพราะความตายใหน้ าความกราบบงั คมทูลเพื่อทรงทราบ

หมวด ๙
การอทุ ธรณ์

มาตรา ๑๑๔ ผู้ใดถูกส่ังลงโทษตามพระราชบัญญัติน้ีหรือถูกส่ังให้ออกจากราชการ
ตามมาตรา ๑๑๐ (๑) (๓) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ผู้น้ันมีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ภายในสามสิบวันนับแต่
วนั ทราบหรือถือวา่ ทราบคาสั่ง

การอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามท่ีกาหนด
ในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา ๑๑๕ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเองหรือจะตั้ง
คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ เพ่ือทาหน้าที่เป็นผู้พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ก็ได้ ท้ังนี้ ให้เป็นไปตามที่กาหนด
ในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา ๑๑๖ เมอ่ื ก.พ.ค. พจิ ารณาวนิ ิจฉยั อุทธรณ์แล้ว ใหผ้ บู้ ังคบั บัญชาซง่ึ มอี านาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ ดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามคาวนิ ิจฉัยน้นั ภายในสามสิบวนั นบั แตว่ นั ที่ ก.พ.ค. มคี าวนิ ิจฉยั

ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัยอุทธรณ์ของ ก.พ.ค. ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครอง
สูงสุดภายในเก้าสบิ วันนบั แตว่ นั ทีท่ ราบหรือถือว่าทราบคาวินจิ ฉยั ของ ก.พ.ค.

ผู้บังคับบัญชาผู้ใดไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็นการจงใจละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ี
โดยมชิ อบเพือ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายแกบ่ ุคคลอนื่

มาตรา ๑๑๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้กรรมการ ก.พ.ค. และ
กรรมการวนิ จิ ฉัยอุทธรณ์ เปน็ เจา้ พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และให้มอี านาจดังตอ่ ไปนี้

(๑) สั่งให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งส่ังลงโทษหรือส่ังให้ออกจากราชการอันเป็นเหตุให้มีการอุทธรณ์
สง่ สานวนการสอบสวนและการลงโทษให้ ก.พ.ค. ภายในเวลาทก่ี าหนด

(๒) ส่ังให้กระทรวง กรม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐรวมตลอดท้ัง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เก่ียวข้องสอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติมหรือส่งตัวข้าราชการหรือเจ้าหน้าท่ี
ในสังกดั มาให้ถ้อยคา ในการนี้จะกาหนดระยะเวลาในการสอบสวนใหมห่ รอื สอบสวนเพมิ่ เติมไวด้ ้วยกไ็ ด้

(๓) มีคาสั่งให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของกระทรวง กรม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
และหน่วยงานอ่ืนของรัฐ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือบุคคลใดที่เกี่ยวข้อง มาให้ถ้อยคาหรือ
ใหส้ ง่ เอกสารหรอื หลกั ฐานทเ่ี ก่ียวข้อง

(๔) เข้าไปในอาคาร หรือสถานท่ีใด ๆ ที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของ ก.พ.ค. ท้ังน้ี
ในระหวา่ งพระอาทติ ย์ขนึ้ ถึงพระอาทติ ยต์ ก หรือในเวลาทาการของสถานทนี่ นั้

(๕) สอบสวนใหมห่ รอื สอบสวนเพิ่มเตมิ
มาตรา ๑๑๘ การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๑๔ ให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จ
ภายในหนึ่งร้อยย่ีสิบวันนับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ เว้นแต่มีเหตุขัดข้องท่ีทาให้การพิจารณาไม่แล้วเสร็จ
ภายในระยะเวลาดังกล่าว ก็ให้ขยายระยะเวลาได้อีกซึ่งไม่เกินสองคร้ัง โดยแต่ละคร้ังจะต้องไม่เกินหกสิบวัน
และใหบ้ ันทึกเหตุขดั ข้องใหป้ รากฏไวด้ ว้ ย
มาตรา ๑๑๙ ขา้ ราชการพลเรือนสามัญซ่ึงโอนมาตามมาตรา ๖๔ ผู้ใดถูกสั่งลงโทษทางวินัย
อยู่ก่อนวันโอนมาบรรจุ และผู้น้ันมีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน
หรือกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการท่ีโอนมาแต่ยังไม่ได้ใช้สิทธิอุทธรณ์ตามกฎหมายดังกล่าว ก็ให้ผู้นั้น
มีสิทธอิ ุทธรณ์ตามมาตรา ๑๑๔ ได้ แตถ่ ้าผู้นั้นได้ใช้สิทธิอุทธรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคล
ส่วนท้องถ่ินหรือกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการที่โอนมาไว้แล้วและในวันท่ีผู้นั้นได้โอนมาบรรจุ
เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ยังไม่แล้วเสร็จ ก็ให้ส่งเรื่องให้ ก .พ.ค.
เป็นผ้พู จิ ารณาอุทธรณ์

มาตรา ๑๒๐ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ให้ ก.พ.ค. มีอานาจไม่รับอุทธรณ์ ยกอุทธรณ์
หรือมีคาวินิจฉัยให้แก้ไขหรือยกเลิกคาสั่งลงโทษ และให้เยียวยาความเสียหายให้ผู้อุทธรณ์ หรือให้ดาเนินการ
อืน่ ใดเพือ่ ประโยชนแ์ ห่งความยตุ ิธรรม ตามระเบยี บท่ี ก.พ.ค. กาหนด

การวินิจฉัยให้แก้ไขหรือให้ดาเนินการอื่นตามวรรคหน่ึง ก.พ.ค. จะให้เพิ่มโทษไม่ได้ เว้นแต่
เป็นกรณีได้รับแจ้งจาก ก.พ. ตามมาตรา ๑๐๔ ว่าสมควรเพ่ิมโทษ ในกรณีเช่นน้ัน ก.พ.ค. มีอานาจวินิจฉัย
ให้เพม่ิ โทษได้

มาตรา ๑๒๑ เมอื่ มีกรณดี ังต่อไปน้ี กรรมการวินิจฉัยอุทธรณอ์ าจถกู คัดคา้ นได้
(๑) รู้เห็นเหตุการณ์ในการกระทาผิดวินัยท่ีผู้อุทธรณ์ถูกลงโทษหรือการถูกส่ังให้ออก
จากราชการ
(๒) มสี ่วนได้เสียในการกระทาผดิ วินัยท่ผี ู้อุทธรณถ์ ูกลงโทษหรือการถูกสั่งใหอ้ อกจากราชการ
(๓) มีสาเหตุโกรธเคอื งกับผู้อทุ ธรณ์
(๔) เป็นผูก้ ลา่ วหา หรอื เป็นหรือเคยเปน็ ผบู้ ังคับบัญชาผสู้ ง่ั ลงโทษหรือสง่ั ใหอ้ อกจากราชการ
(๕) เป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดาเนินการทางวินัยหรือการส่ังให้ออกจากราชการ
ท่ผี ู้อุทธรณถ์ กู ลงโทษหรือถกู สงั่ ให้ออกจากราชการ
(๖) มีความเก่ียวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)
อันอาจก่อใหเ้ กดิ ความไม่เปน็ ธรรมแกผ่ ้อู ทุ ธรณ์
กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ซึ่งมีกรณีตามวรรคหน่ึง ให้แจ้งต่อประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว
จากการพิจารณาวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์
การย่ืนคาคัดคา้ น และการพจิ ารณาคาคดั คา้ น ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ าหนดในกฎ ก.พ.ค.

หมวด ๑๐
การร้องทกุ ข์

มาตรา ๑๒๒ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีความคับข้องใจอันเกิดจากการปฏิบัติ
หรือไมป่ ฏิบัติต่อตนของผบู้ งั คบั บัญชา และเป็นกรณีที่ไม่อาจอุทธรณ์ตามหมวด ๙ การอุทธรณ์ ได้ ผู้นั้นมีสิทธิ
ร้องทุกขไ์ ด้ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการท่กี าหนดไว้ในหมวดน้ี

มาตรา ๑๒๓ การร้องทุกข์ที่เหตุเกิดจากผู้บังคับบัญชา ให้ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชา
ชั้นเหนอื ขน้ึ ไป ตามลาดบั

การรอ้ งทุกข์ที่เหตุเกิดจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบ
การปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงรัฐมนตรีเจ้าสังกัด หรือ
นายกรฐั มนตรี ให้รอ้ งทุกข์ตอ่ ก.พ.ค.

เมื่อ ก.พ.ค. ได้พิจารณาวินิจฉัยเร่ืองร้องทุกข์ประการใดแล้ว ให้หัวหน้าส่วนราชการ
ระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ้าสังกัด หรือนายกรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี ดาเนินการให้เป็นไปตามคาวินิจฉัย
ของ ก.พ.ค.

การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยเร่ืองร้องทุกข์ตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็นไป
ตามท่กี าหนดในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา ๑๒๔ ในการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ให้ ก.พ.ค. มีอานาจไม่รับเร่ืองร้องทุกข์
ยกคาร้องทุกข์ หรือมีคาวินิจฉัยให้แก้ไขหรือยกเลิกคาสั่ง และให้เยียวยาความเสียหายให้ผู้ร้องทุก ข์
หรอื ให้ดาเนนิ การอ่นื ใดเพื่อประโยชนแ์ หง่ ความยุติธรรมตามระเบยี บท่ี ก.พ.ค. กาหนด

ในการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเอง หรือจะต้ังกรรมการ
ก.พ.ค. คนหน่งึ หรอื จะตง้ั คณะกรรมการวินจิ ฉัยรอ้ งทุกข์ เพ่อื ทาหน้าทเ่ี ป็นผู้พิจารณาวินิจฉัยเร่ืองร้องทุกข์ก็ได้
ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.ค. และในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้กรรมการวินิจฉัย
ร้องทกุ ขเ์ ป็นเจา้ พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และให้มีอานาจตามมาตรา ๑๑๗ โดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๒๕ เม่อื มกี รณดี งั ต่อไปน้ี กรรมการวนิ ิจฉัยร้องทกุ ข์อาจถกู คดั คา้ นได้
(๑) เป็นผู้บังคับบัญชาผู้เป็นเหตุให้เกิดความคับข้องใจ หรือเป็นผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
ของผบู้ ังคับบญั ชาดังกล่าว
(๒) มสี ว่ นไดเ้ สยี ในเรอื่ งที่ร้องทกุ ข์
(๓) มีสาเหตโุ กรธเคืองกบั ผรู้ ้องทกุ ข์
(๔) มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓)
อนั อาจก่อใหเ้ กดิ ความไม่เป็นธรรมแกผ่ ้รู อ้ งทุกข์
กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ซ่ึงมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ให้แจ้งต่อประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว
จากการพิจารณาวินิจฉยั เร่อื งร้องทกุ ข์
การยน่ื คาคดั ค้าน และการพจิ ารณาคาคัดคา้ น ให้เป็นไปตามทีก่ าหนดในกฎ ก.พ.ค.

หมวด ๑๑
การคมุ้ ครองระบบคณุ ธรรม

มาตรา ๑๒๖ ในกรณีท่ี ก.พ.ค. เหน็ ว่ากฎ ระเบยี บ หรือคาสงั่ ใดท่ีออกตามพระราชบัญญัติน้ี
และมุ่งหมายให้ใช้บังคับเป็นการท่ัวไป ไม่สอดคล้องกับระบบคุณธรรมตามมาตรา ๔๒ ให้ ก.พ.ค. แจ้ง
ใหห้ นว่ ยงานหรือผู้ออกกฎ ระเบียบ หรือคาสัง่ ดังกล่าวทราบ เพอื่ ดาเนนิ การแกไ้ ข หรอื ยกเลกิ ตามควรแกก่ รณี

ลกั ษณะ ๕
ขา้ ราชการพลเรอื นในพระองค์

มาตรา ๑๒๗ การแตง่ ตงั้ และการให้ขา้ ราชการพลเรอื นในพระองค์พน้ จากตาแหน่งให้เป็นไป
ตามพระราชอธั ยาศัย

เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคลจะตราพระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ
เก่ยี วกบั การกาหนดตาแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่ง การบรรจุ การแต่งตั้ง การเพ่ิมพูน
ประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ การรักษาจรรยา การรักษาวินัย การออก
จากราชการ การอุทธรณ์ การร้องทุกข์ และการอื่นตามท่ีจาเป็นของข้าราชการพลเรือนในพระองค์ก็ได้
แตท่ ง้ั น้ี ต้องไม่กระทบตอ่ พระราชอานาจตามวรรคหนง่ึ

พระราชกฤษฎีกาตามวรรคสองจะกาหนดให้นาบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ท้ังหมด
หรือบางส่วน มาใช้บังคับหรอื จะกาหนดใหแ้ ตกต่างจากที่บัญญตั ิในพระราชบัญญตั นิ ก้ี ็ได้

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๑๒๘ ให้ ก.พ. อ.ก.พ. วสิ ามญั และ อ.ก.พ. สามัญ ซ่ึงปฏิบตั หิ นา้ ทีอ่ ยูใ่ นวันกอ่ นวันท่ี
พระราชบญั ญัตินใี้ ชบ้ ังคบั ปฏิบตั หิ น้าท่ีต่อไปจนกวา่ จะไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ัง ก.พ. หรือจนกว่า
จะไดแ้ ตง่ ต้ัง อ.ก.พ. วิสามัญ หรืออนกุ รรมการใน อ.ก.พ. สามัญ แล้วแตก่ รณี ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

การดาเนินการแต่งต้ัง ก.พ. ให้กระทาให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยย่ีสิบวันนับแต่วันท่ี
พระราชบัญญัตนิ ้ใี ช้บังคบั

มาตรา ๑๒๙ ในระหว่างที่ยังมิได้ดาเนินการให้มี ก.พ.ค. ให้ ก.พ. ทาหน้าท่ี ก.พ.ค.
ตามพระราชบญั ญัตนิ ไี้ ปพลางก่อนจนกว่าจะไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แต่งตง้ั ก.พ.ค. ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้

การดาเนินการแต่งตั้ง ก.พ.ค. ให้กระทาให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ี
พระราชบัญญตั นิ ้ีใชบ้ งั คับ

มาตรา ๑๓๐ ผู้ใดเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ หรือข้าราชการพลเรือนในพระองค์
ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ
ให้ผู้นั้นเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ หรือข้าราชการพลเรือนในพระองค์ตามพระราชบัญญัติน้ี แล้วแต่กรณี
ตอ่ ไป

มาตรา ๑๓๑ ในระหว่างท่ี ก.พ. ยังมิได้จัดทามาตรฐานกาหนดตาแหน่งตามมาตรา ๔๘
บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข้าราชการพลเรือนในพระองค์
ยงั ไมใ่ ช้บงั คับ โดยใหน้ าบทบัญญัติในลกั ษณะ ๓ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือน
ในพระองค์ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม ตลอดจนบัญชี
อัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือนและบัญชีอัตราเงินประจาตาแหน่งข้าราชการพลเรือนท้ายพระราชบัญญัติ
เงินเดือนและเงินประจาตาแหน่ง พ.ศ. ๒๕๓๘ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติมมาใช้บังคับแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ
และข้าราชการพลเรือนในพระองค์ไปพลางก่อนจนกว่า ก.พ. จะจัดทามาตรฐานกาหนดตาแหน่งเสร็จ
และจัดตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญของทุกส่วนราชการเข้าประเภทตาแหน่ง สายงาน และระดับ
ตาแหน่งตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่ง และประกาศให้ทราบ จึงให้นาบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการ
พลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ แห่งพระราชบัญญัติน้ีมาใช้บังคับตั้งแต่วันท่ี
ก.พ. ประกาศเป็นต้นไป และให้ผู้บังคับบัญชาส่ังแต่งตั้งข้าราชการให้ดารงตาแหน่งใหม่ภายในสามสิบวัน
นับแตว่ ันที่ ก.พ. ประกาศ

ในการจัดตาแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหนึ่ง หากมีเหตุผล
และความจาเป็น ก.พ. อาจอนุมัติให้แต่งต้ังข้าราชการพลเรือนสามัญผู้มีคุณสมบัติต่างไปจากคุณสมบัติเฉพาะ
สาหรบั ตาแหนง่ ตามท่ีกฎหมายกาหนดไวเ้ ป็นการเฉพาะตวั ได้

ให้ ก.พ. ดาเนินการประกาศตามวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงปีนับแต่วันท่ี
พระราชบญั ญัตนิ ้ใี ช้บงั คับ

มาตรา ๑๓๒ ในระหว่างที่ยังมิได้ตราพระราชกฤษฎีกา หรือออกกฎ ก.พ. ข้อบังคับ หรือ
ระเบียบหรือกาหนดกรณีใด เพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นาพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ. ข้อบังคับ
หรือระเบียบหรือกรณที ก่ี าหนดไวแ้ ลว้ ซงึ่ ใช้อยู่เดิมมาใช้บังคบั เทา่ ทไ่ี มข่ ดั หรือแยง้ กบั พระราชบัญญตั นิ ้ี

ในกรณีที่ไม่อาจนาพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ. ข้อบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีที่กาหนดไว้
แล้วมาใชบ้ ังคบั ไดต้ ามวรรคหนง่ึ การจะดาเนินการประการใดใหเ้ ปน็ ไปตามที่ ก.พ. กาหนด

มาตรา ๑๓๓ ข้าราชการพลเรือนผู้ใดมีกรณีกระทาผิดวินัยหรือกรณีท่ีสมควรให้ออก
จากราชการอยู่ก่อนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข้าราชการ
พลเรือนในพระองค์ แห่งพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้บังคับบัญชาตามพระราชบัญญัตินี้มีอานาจสั่งลงโทษ
ผู้นั้นหรือสั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนที่ใช้อยู่ ในขณะน้ัน
ส่วนการสอบสวน การพิจารณา และการดาเนินการเพ่ือลงโทษหรือให้ออกจากราชการ ให้ดาเนินการ
ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี เว้นแต่

(๑) กรณีท่ีผู้บังคับบัญชาได้ส่ังให้สอบสวนโดยถูกต้องตามกฎหมายท่ีใช้อยู่ในขณะน้ันไปแล้ว
ก่อนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข้าราชการพลเรือนในพระองค์
แห่งพระราชบัญญัตนิ ี้ใชบ้ ังคบั และยังสอบสวนไมเ่ สรจ็ ก็ให้สอบสวนตามกฎหมายนน้ั ต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ

(๒) ในกรณีท่ีได้มีการสอบสวนหรือพิจารณาโดยถูกต้องตามกฎหมายท่ีใช้อยู่ในขณะน้ัน
เสร็จไปแล้วก่อนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข้าราชการพลเรือน
ในพระองค์ แห่งพระราชบญั ญตั นิ ใี้ ช้บังคับ ให้การสอบสวนหรือพจิ ารณา แลว้ แต่กรณนี ้นั เป็นอันใช้ได้

(๓) กรณีท่ีได้มีการรายงานหรือส่งเรื่อง หรือนาสานวนเสนอ หรือส่งให้ อ.ก.พ. สามัญใด
พิจารณาโดยถูกต้องตามกฎหมายท่ีใช้อยู่ในขณะน้ัน และ อ.ก.พ. สามัญพิจารณาเร่ืองนั้นยังไม่เสร็จ
ก็ให้ อ.ก.พ. สามญั พิจารณาตามกฎหมายนั้นต่อไปจนกวา่ จะแลว้ เสร็จ

มาตรา ๑๓๔ ข้าราชการพลเรือนซึ่งโอนมาจากพนักงานส่วนท้องถิ่นหรือข้าราชการ
ประเภทอ่ืนก่อนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข้าราชการพลเรือน
ในพระองค์ แห่งพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ผู้ใดมีกรณีกระทาผิดวินัยหรือกรณีท่ีสมควรให้ออกจากงาน
หรือให้ออกจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ินหรือกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบข้าราชการน้ันอยู่ก่อนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕
ขา้ ราชการพลเรือนในพระองค์ แห่งพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้ผู้บังคับบัญชาตามพระราชบัญญัติน้ีมีอานาจ
ดาเนินการทางวินยั แก่ผู้นั้น หรอื ดาเนนิ การสง่ั ใหผ้ นู้ ั้นออกจากราชการได้ ท้งั นี้ ให้นามาตรา ๑๐๖ มาใช้บังคับ
โดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๓๕ ผู้ใดถูกส่ังลงโทษหรือถูกส่ังให้ออกจากราชการตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ถ้ายังมิได้ยื่นอุทธรณ์หรือร้องทุกข์ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว
และยังไม่พ้นกาหนดเวลาอุทธรณ์หรือร้องทุกข์ในวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ
และลักษณะ ๕ ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ แห่งพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้มีสิทธิอุทธรณ์หรือร้องทุกข์
ตามพระราชบัญญัติน้ีได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ
และลักษณะ ๕ ขา้ ราชการพลเรือนในพระองค์ แห่งพระราชบญั ญัตนิ ้ใี ช้บงั คบั

มาตรา ๑๓๖ เรอื่ งอุทธรณ์และเรือ่ งรอ้ งทกุ ขต์ ามพระราชบัญญัตริ ะเบยี บข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๓๕ ทไี่ ดย้ ื่นไวก้ ่อนวันที่บทบญั ญตั ใิ นลกั ษณะ ๔ ข้าราชการพลเรอื นสามญั และลักษณะ ๕ ข้าราชการ
พลเรือนในพระองค์ แหง่ พระราชบญั ญตั ินี้ใช้บงั คบั และอยู่ในอานาจการพจิ ารณาของ อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ.
ให้ อ.ก.พ. สามญั หรือ ก.พ. แลว้ แต่กรณี พิจารณาต่อไปจนกว่าจะแลว้ เสรจ็

เรื่องอุทธรณ์และเร่ืองร้องทุกข์ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕
ท่ีได้ยื่นต่อ อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ. ในวันหรือหลังวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ
และลักษณะ ๕ ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ แห่งพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับและเป็นกรณีท่ีมีการลงโทษ
หรอื สั่งการไวก้ ่อนวนั ท่บี ทบัญญตั ิในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข้าราชการพลเรือน
ในพระองค์ แหง่ พระราชบญั ญัตนิ ้ีใชบ้ ังคับ ให้ ก.พ.ค. เปน็ ผ้พู ิจารณาดาเนนิ การต่อไป

มาตรา ๑๓๗ การใดท่ีอยู่ระหว่างดาเนินการหรือเคยดาเนินการได้ตามพระราชบัญญัติ
ระเบยี บข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๓๕ และมไิ ดบ้ ัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือมีกรณีท่ีไม่อาจดาเนินการ
ตามพระราชบัญญัตินี้ การดาเนินการต่อไปในเรื่องนั้นจะสมควรดาเนินการประการใดให้เป็นไปตามที่ ก.พ.
กาหนด

มาตรา ๑๓๘ การปรับเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ
เข้าตามบญั ชีทา้ ยพระราชบัญญัตนิ ้ี ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการทีค่ ณะรัฐมนตรีกาหนด

เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหน่ึง ข้าราชการพลเรือนสามัญที่ได้รับเงินเดือน
ยังไม่ถึงขั้นต่าของระดับตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ให้ได้รับเงินเดือนไม่ต่ากว่าขั้นต่าชั่วคราวตามบัญชี
ท้ายตามพระราชบัญญัตินี้ และให้ได้รับการปรับเงินเดือนจนได้รับเงินเดือนในขั้นต่าของระดับตามบัญชี
ท้ายพระราชบัญญตั ิน้ี ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารทค่ี ณะรัฐมนตรกี าหนด

มาตรา ๑๓๙ ในกรณีท่ีกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทต่าง ๆ กาหนดให้
นากฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับข้าราชการพลเรือนสามัญมาใช้บังคับ
หรือใช้บังคับโดยอนุโลม ให้ยังคงนาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และท่ีแก้ไข
เพิ่มเติม มาใช้บังคับหรือใช้บังคับโดยอนุโลมต่อไป การให้นาพระราชบัญญัตินี้ไปใช้บังคับกับข้าราชการ
ประเภทดังกล่าวท้ังหมดหรือบางส่วน ให้กระทาได้โดยมติขององค์กรกลางบริหารงานบุคคลหรือองค์กร
ที่ทาหน้าที่องคก์ รกลางบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการประเภทนนั้ ๆ โดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี

ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สรุ ยทุ ธ์ จลุ านนท์
นายกรฐั มนตรี

บญั ชีเงินเดอื นขนั้ ตา่ ขนั้ สูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ๓
ตาแหน่งประเภทบรหิ าร

ข้ันสูง บาท บาท
ขน้ั ต่า
ข้นั ตา่ ชว่ั คราว ๗๔,๓๒๐ ๗๖,๘๐๐
๕๑,๑๔๐ ๕๖,๓๘๐
ระดบั ๒๔,๔๐๐ ๒๙,๙๘๐

ตน้ สูง

บัญชีเงนิ เดอื นข้นั ต่าขั้นสูงของข้าราชการพลเรอื นสามัญ
ตาแหนง่ ประเภทอานวยการ

ขัน้ สงู บาท บาท
ขั้นต่า
ขน้ั ตา่ ช่วั คราว ๕๙,๕๐๐ ๗๐,๓๖๐
๒๖,๖๖๐ ๓๒,๘๕๐
ระดบั ๑๙,๘๖๐ ๒๔,๔๐๐

ตน้ สูง

บัญชีเงนิ เดือนขัน้ ต่าขัน้ สงู ของข้าราชการพลเรอื นสามัญ
ตาแหน่งประเภทวชิ าการ

ขนั้ สงู บาท บาท บาท บาท บาท
ข้ันต่า
ข้ันต่าช่วั คราว ๒๖,๙๐๐ ๔๓,๖๐๐ ๕๘,๓๙๐ ๖๙,๐๔๐ ๗๖,๘๐๐
๘,๓๔๐ ๑๕,๐๕๐ ๒๒,๑๔๐ ๓๑,๔๐๐ ๔๓,๘๑๐
ระดับ ๗,๑๔๐ ๑๓,๑๖๐ ๑๙,๘๖๐ ๒๔,๔๐๐ ๒๙,๙๘๐
ชานาญการ
ปฏิบตั กิ าร ชานาญการ พเิ ศษ เชยี่ วชาญ ทรงคณุ วฒุ ิ

บัญชเี งินเดือนข้นั ตา่ ขนั้ สูงของข้าราชการพลเรอื นสามัญ
ตาแหน่งประเภททว่ั ไป

บาท บาท บาท บาท

ข้นั สงู ๒๑,๐๑๐ ๓๘,๗๕๐ ๕๔,๘๒๐ ๖๙,๐๔๐

ขัน้ ต่า ๔,๘๗๐ ๑๐,๑๙๐ ๑๕,๔๑๐ ๔๘,๒๒๐

ระดับ ปฏบิ ัตงิ าน ชานาญงาน อาวโุ ส ทักษะพเิ ศษ

๓ บญั ชเี งนิ เดอื นขัน้ ต่าข้ันสูงของข้าราชการพลเรือนสามญั แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรือน (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๘

ตารางบัญชอี ัตราเงินประจาตาแหนง่ ของข้าราชการพลเรือนสามญั

๑. ประเภทบรหิ าร ระดบั อตั รา (บาท/เดอื น)

ระดบั สงู ๒๑,๐๐๐
ระดับต้น ๑๔,๕๐๐
๑๐,๐๐๐

๒. ประเภทอานวยการ ระดบั อัตรา (บาท/เดือน)

ระดบั สงู ๑๐,๐๐๐
ระดบั ต้น ๕,๖๐๐

๓. ประเภทวิชาการ ระดับ อตั รา (บาท/เดือน)

ทรงคุณวฒุ ิ ๑๕,๖๐๐
๑๓,๐๐๐
เช่ียวชาญ ๙,๙๐๐
ชานาญการพิเศษ ๕,๖๐๐
ชานาญการ ๓,๕๐๐

๔. ประเภททัว่ ไป ระดบั อตั รา (บาท/เดอื น)
ทกั ษะพเิ ศษ ๙,๙๐๐

หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เน่ืองจากพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติให้ดาเนินการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการ
พลเรือน เพื่อกาหนดภารกิจของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และสานักงานคณะกรรมการข้าราชการ
พลเรอื นใหเ้ หมาะสม ประกอบกบั พระราชบญั ญตั ิระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้ใช้บังคับมานาน
บทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับพัฒนาการด้านการบริหารราชการที่เปลี่ยนไป ดังนั้น เพ่ือกาหนด
ภารกิจของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนให้เหมาะสม
และเพื่อให้การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐสอดคล้องกับทิศทางการบริหารราชการ สมควรปรับปรุง
กฎหมายดงั กลา่ ว โดยปรับบทบาทของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน จากเดิมท่ีเป็นท้ังผู้จัดการงานบุคคล
ของฝ่ายบริหาร ผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรม และผู้จัดโครงสร้างส่วนราชการ ให้เป็นเพียงผู้จัดการงานบุคคล
ของฝ่ายบรหิ าร โดยมิให้ซ้าซ้อนกับบทบาทของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ส่วนบทบาทในการพิทักษ์
ระบบคุณธรรมให้เป็นของคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ปรับบทบาทของสานักงานคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือนจากเดิมท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีเก่ียวกับการดาเนินงานของคณะกรรมก ารข้าราชการพลเรือน
ให้เป็นเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการดาเนินงานของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและคณะกรรมการพิทักษ์
ระบบคุณธรรม และมิให้ซ้าซ้อนกับบทบาทของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ปรับปรุงระบบ
ตาแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญให้จาแนกตามกลุ่มลักษณะงาน ตลอดจนกระจายอานาจการบริหาร
ทรพั ยากรบุคคลภาครฐั ให้ส่วนราชการเจ้าสงั กัดดาเนนิ การมากข้ึน จึงจาเปน็ ต้องตราพระราชบัญญัติน้ี

พระราชกฤษฎีกาการปรับเงินเดอื นขั้นตา่ ขนั้ สูงของขา้ ราชการพลเรอื นสามญั พ.ศ. ๒๕๕๔๔

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎกี าน้ใี หใ้ ชบ้ งั คับต้ังแตว่ นั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เปน็ ตน้ ไป

หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับน้ี คือ โดยที่มาตรา ๕๑ วรรคหน่ึง
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ บัญญัติให้คณะรัฐมนตรีจะพิจารณา
ป รั บ เ งิ น เ ดื อ น ข้ั น ต่ า ข้ั น สู ง ข อ ง ข้ า ร า ช ก า ร พ ล เ รื อ น ส า มั ญ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ยิ่ ง ข้ึ น ต า ม ค ว า ม จ า เ ป็ น ก็ ไ ด้
โดยหากเป็นการปรับเงินเดือนข้ันต่าขั้นสูงเพิ่มไม่เกินร้อยละสิบของเงินเดือนท่ีใช้บังคับอยู่ ให้กระทาได้
โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ประกอบกับบัญชีเงินเดือนข้ันต่าข้ันสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญในปัจจุบัน
ไม่เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและค่าครองชีพท่ีเพ่ิมสูงขึ้น สมควรปรับเงินเดือนขั้นต่าข้ันสูงของข้าราชการ
พลเรือนสามัญให้เหมาะสมยิ่งขึ้น โดยปรับเพ่ิมบางอัตราและปรับเพิ่มเป็นร้อยละท่ีแตกต่างกันร้อยละห้า
ถึงร้อยละสิบ จงึ จาเป็นต้องตราพระราชกฤษฎกี าน้ี

๔ ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๒๘/ตอนที่ ๒๒ ก/หนา้ ๙/๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔

พระราชบัญญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรือน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘๕
มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั ินี้ใหใ้ ช้บังคบั ต้ังแตว่ นั ที่ ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เปน็ ตน้ ไป
มาตรา ๕ ในวาระเริ่มแรก ให้ปรับเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญที่ได้รับอยู่เดิม

เข้าส่อู ตั ราในบญั ชีทา้ ยพระราชบญั ญตั ิน้ี
ให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการและ

ระดับชานาญการและผู้ดารงตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับปฏิบัติงานและระดับชานาญงานได้รับเงินเดือน
ในอัตราที่สูงกว่าอัตราท่ีได้รับอยู่เดิมตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติน้ีอีกร้อยละสี่ของเงินเดือนท่ีได้รับอยู่
ในกรณที ่กี ารปรบั เงนิ เดอื นดังกลา่ วทาให้มเี ศษไม่ถงึ สิบบาทให้ปรบั ตวั เลขเงินเดอื นดงั กลา่ วเพมิ่ ข้นึ เปน็ สบิ บาท

มาตรา ๖ ให้นายกรฐั มนตรีรกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้
หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรปรับอัตราเงินเดือน
ของขา้ ราชการพลเรอื นสามัญให้เหมาะสม เป็นธรรม และได้มาตรฐาน โดยคานึงถึงค่าครองชีพท่ีเปล่ียนแปลงไป
คา่ ตอบแทนในภาคเอกชน ฐานะการคลงั ของประเทศ ความแตกตา่ งระหว่างรายได้ของข้าราชการระดับต่าง ๆ
ในประเภทเดียวกันและต่างประเภทกัน และปัจจัยอื่นท่ีจาเป็น สมควรปรับบัญชีเงินเดือนข้ันต่าข้ันสูง
ของข้าราชการพลเรือนสามัญให้เหมาะสมย่ิงขึ้น และกาหนดมาตรการเยียวยาให้ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ได้รับเงินเดือนหรือเงินประจาตาแหน่งที่เหมาะสมและเป็นธรรมตามควรแห่งกรณี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ที่คณะรฐั มนตรกี าหนด จึงจาเป็นต้องตราพระราชบญั ญัตินี้

๕ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนที่ ๔๓ ก/หนา้ ๑/๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘


Click to View FlipBook Version