The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สาระสังเขปหรือบทคัดย่อabstract

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watpamok, 2022-04-27 10:42:39

สาระสังเขปหรือบทคัดย่อabstract

สาระสังเขปหรือบทคัดย่อabstract

อ. นศิ าชล จาํ นงศรี
204312 การจัดเก็บและการคน คืนสารสนเทศ

บทที่ 3
การจัดทาํ สาระสงั เขป (Abstracting)

ความหมายของสาระสังเขป

สาระสังเขป (Abstract) หมายถึง งานเขียนท่ีเขียนโดยการยอสาระสําคัญของเอกสาร อยางตรง
จุดมุงหมาย ตามลําดับและวิธีเขียนของตนฉบับเดิม โดยปราศจากความคิดเห็นของผูเขียนสาระสังเขป เพื่อให
ไดสาระความรูท่ีแทจริง อยางเที่ยงตรงตามตนฉบับเดิม มีความสมบูรณในตัวเอง เพื่อใหผูอานตัดสินใจในการ
เลอื กอา นเอกสารตนฉบบั ได

เรอื่ งยอ ทมี่ ีลักษณะใกลเ คยี งกับสาระสงั เขป ไดแก
บรรณนิทศั น (Annotation) เปน ขอ คดิ เห็น หรอื คําอธิบาย สั้น ๆ เกีย่ วกบั เนือ้ หาของเอกสาร
การตัดตอน (Extract) เปนการยอเร่ืองโดยการตัดตอนขอความท่ีสําคัญของเอกสารมาเรียงตอกัน เชน
ตัด 3 บรรทดั แรกจากบทนํา แลว ตดั 2 บรรทดั หลังมาจากสรปุ แลว นําทัง้ 5 บรรทัดมาเรียงตอ กัน
เรอ่ื งยอ (Summary) เปน การยอความทเ่ี นน เฉพาะสรุปผลทีส่ าํ คัญ
บทวิจารณ (Review) เปนการแสดงความคิดเห็น การวิพากษวิจารณ รวมทั้งการประเมินเน้ือหาของ
เอกสาร

วัตถุประสงคข องสาระสงั เขป

1. เพื่อประหยัดเวลาใหกับผูอานในการติดตามสารสนเทศที่ตองการ ท้ังที่เปนวรรณกรรมใหม
ทันสมัย และวรรณกรรมยอนหลังซึ่งมีอยูหลายรูปแบบ และอยูกระจัดกระจายอยางกวางขวาง
ทัว่ โลก เน่ืองจากไดน ํามารวบรวมไวในทเี่ ดยี วกัน ภายใตห วั เรอื่ งตาง ๆ

2. เพ่ือใหผูอานทราบถึงเนื้อหาของเอกสารไดอยางรวดเร็ว เน่ืองจากผูอานไมตองอานเอกสารฉบับ
เตม็ ท่ีมเี น้อื หาจาํ นวนมาก และตองใชเ วลามากในการอา น แตอานจากสาระสังเขปท่ีสั้นกวา และ
มเี น้อื หาถกู ตอ งเทีย่ งตรง

3. เพอื่ ชวยใหผอู านตัดสนิ ใจไดอ ยางถกู ตองวา ควรเลอื กเอกสารตน ฉบบั นัน้ ๆ ออกมาอานหรือไม
4. เพื่อชวยขจัดปญหาดานภาษาใหกับผูอาน เนื่องจากเอกสารตนฉบับที่รวบรวมจากที่ตาง ๆ

ท่ัวโลกนั้น จัดทําขึ้นจากหลายภาษา สาระสังเขปจะจัดทําออกมาในลักษณะภาษาท่ีผูอาน
สามารถเขาใจเนื้อหาสาระของเอกสารตนฉบับได อยางไรก็ตาม สาระสังเขปที่ผลิตออกมาเพ่ือ
การจาํ หนายสว นใหญจ ะจัดทาํ เปนภาษาองั กฤษ เนอื่ งจากเปน ภาษาสากลท่ีทว่ั โลกเขาใจ
5. เพื่อชวยใหการผลิตดรรชนีทําไดอยางมีประสิทธิภาพ คือถูกตองและรวดเร็ว เนื่องจาก เปนการ
ดึงคําสําคัญจากเนื้อหาท่ีมีความกะทัดรัดท่ีมีเฉพาะสาระสําคัญของเอกสาร จึงชวยใหการ
ดึงคาํ สําคญั จากเอกสารทาํ ไดง ายและรวดเรว็

30

อ. นศิ าชล จํานงศรี
204312 การจัดเก็บและการคน คืนสารสนเทศ

ประเภทของสาระสงั เขป
การจําแนกประเภทของสาระสงั เขปอาจจาํ แนกไดหลายวธิ ี โดยอาศัยเกณฑท ีแ่ ตกตา งกัน เชน
1. จําแนกตามขนาด หรือ ความยาวของสาระสังเขป เนื่องจากความยาวของสาระสังเขปสามารถ
เขียนไดตงั้ แต 12 - 100 คาํ หรือมากวา 1000 คํา ขึ้นอยูก ับสาระสาํ คัญของเอกสาร
2. จําแนกตามรายละเอียดที่บันทึกในสาระสังเขป เน่ืองจากการเขียนสาระสังเขปสามารถเขียน
ประเด็นสําคัญของเอกสารไดหลายลักษณะ เชน การบันทึกเน้ือหาสําคัญของเอกสารใน
ลักษณะชี้แนะประเด็นสําคัญ หรือใหความรูเกี่ยวกับประเด็นสําคัญของเอกาสารอยางครบถวน
หรือเพมิ่ เติมขอ คดิ เห็นเชิงวิพากษว ิจารณไ วด วย
3. จําแนกตามชนิดของผูเขียนสาระสังเขป เชน สาระสังเขปท่ีจัดทําโดยผูแตงเอกสารตนฉบับ หรือ
จดั ทาํ โดยผเู ช่ียวชาญในสาขาวิชา หรอื จัดทาํ โดยผูเขยี นสาระสงั เขปอาชีพ
ลักษณะการเขียนสาระสังเขปจะแตกตางกันไปตามนโยบายของแตละสถาบัน โดยพิจารณาให

สอดคลองกับสภาพและจุดมุงหมายในการใหบริการแกผูใชของตนเปนสําคัญ ซ่ึงอาจจัดทําเพียงประเภทเดียว
หรือหลายประเภทก็ได ดังนั้น ผูจัดทําสาระสังเขปจึงควรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะโดยท่ัวไปของ
สาระสังเขปแตละประเภทอยางชัดเจน เพ่ือจะไดสามารถกําหนดรูปแบบการเขียนเนื้อหาของสาระสังเขปได
อยางเหมาะสม

อยางไรก็ตาม การจําแนกประเภทของสาระสังเขปนิยมแบงตามรายละเอียดท่ีบันทึกในสาระสังเขป
ดงั นี้

1. สาระสังเขปแบบรรณนา หรอื แบบบอกเลา (Descriptive Or Indicative Abstract)
2. สาระสงั เขปแบบใหความรู (Informative Abstract)
3. สาระสงั เขปแบบพรรณนาและใหความรู (Indicative-Informative Abstract)

1. สาระสงั เขปพรรณนา หรือ แบบบอกเลา (Descriptive Or Indicative Abstract)
เปนสาระสังเขปที่เขียนอยางส้ัน ๆ เพ่ือช้ีแนะใหผูอานเอกสารทราบวา เอกสารตนฉบับกลาวถึง
อะไรบาง เพ่ือใหผูอานทราบวาเรื่องท่ีตองการคนหามีในเอกสารหรือไม เชน "บทความกลาวถึงยอดการ
จําหนายหัวหอมที่เพิ่มข้ึนในรัฐแคลิฟอรเนีย" โดยปราศจากการรายงานใหทราบผลการคนควาหรือบทสรุป หรือ
เร่ืองราวความรูในเอกสาร ไมมุงหวังใหใชแทนเอกสารตนฉบับ (ดังตัวอยางดานลาง) หากตองการทราบ
รายละเอียดตองศกึ ษาจากเอกสาร ตนฉบับ มกั จัดทําสําหรบั หนงั สือ รายงายการประชุมสัมมนา รายงานที่ไม
มขี อสรุป ความเรียง บรรณานุกรมและบทวิจารณเปนตน วลีท่ีนิยมใชเพื่อเร่ิมตนการเขียนคือ อภิปรายเก่ียวกับ
(....is discussed) หรือ ศึกษาเก่ียวกับ (…..has been investigated) เน่ืองจากเปนสาระสังเขปที่ไมตองให
รายละเอียดเกี่ยวกับเน้ือหาของเอกสารตนฉบับ ดังนั้น จึงเขียนงาย ประหยัดเวลา และแรงงานในการเขียน
ผเู ขยี นไมจ ําเปนตอ งเปน ผเู ชี่ยวชาญเฉพาะเร่ือง

ตัวอยา ง
Disraeli, Homer. (1989). Onion Raising in California. Agriculture Happening 201(2): 7-19.

31

อ. นิศาชล จํานงศรี
204312 การจดั เก็บและการคนคืนสารสนเทศ

กลาวถึงยอดการจําหนายหัวหอมของรัฐแคลิฟอรเนียรโดยเปรียบเทียบกับรัฐอ่ืน ๆ
ท่ีเปนคูแขง จําแนกการอภิปรายตามสายพันธของหัวหอมที่ปลูกในรัฐแคลิฟอรเนียรและ
ผลผลิตโดยภาพรวม รวมท้ังกลาวถึงปริมาณการบริโภคหัวหอมภายในรัฐและปริมาณ
การสงออกหัวหอมของรัฐ โดยให รายละเอียดเก่ียวกับ (1) เทคนิคการปลูก (2) การ
ขายสง (3) การขนสง และ (4) ภาวะโดยท่ัวไปของธุรกิจหัวหอม และเนื้อหาสวนหลังของ
บทความไดก ลา วถึง ผลของการบริโภคหวั หอมทม่ี ีตอสขุ ภาพและสังคมของผูบ รโิ ภค

2. สาระสงั เขปแบบใหความรู (Informative Abstract)
เปนสาระสังเขปที่มีวัตถุประสงคใหความรูขาวสารท่ีเปนประเด็นของเอกสารของเอกสารตนฉบับ
อยางครบถวน เชน มีการช้ีแจงวัตถุประสงค เหตุผลการวิจัย วิธีการและเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ช้ีแจงผลการ
คนพบที่สําคัญ และบทสรุปท่ีชี้ใหเห็นความสัมพันธระหวางผลการวิจัย วัตถุประสงค และการนําไปใช เชน
""บทความกลา วถงึ ยอดการจาํ หนายหวั หอมในรฐั แคลิฟอรเ นียทเี่ พ่มิ ขึน้ ถงึ 1,070,000,000 ลานหัว" สาระสังเขป
แบบใหความรูจึงเปนสาระสังเขปที่เสนอขอมูลสําคัญของเอกสารทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ สามารถใช
แทนเอกสารตนฉบับไดเน่ืองจากมีการอธิบายประเด็นสําคัญของเอกสารอยางครบถวน (ดังตัวอยางดานลาง)
สาระสงั เขปประเภทนีจ้ งึ มักมีขนาดยาวกวาประเภทอ่ืน ๆ แตทั้งน้ี ความยาวข้ึนอยูกับเอกสารตนฉบับเปนสําคัญ
สวนมากสาระสังเขปประเภทนี้มักเขียนสําหรับ งานวิจัย หรือบทความวารสารท่ีนําเสนอขอมูล ความรู
การคนควา ทดลอง และมแี กนเรือ่ ง (Theme) เดียว

กลาวถึงยอดการจําหนายหัวหอมของรัฐแคลิฟอรเนียรท่ีเพ่ิมข้ึนถึง 170,000,019 หัว
ขณะที่รัฐอ่ืน ๆ ที่เปนคูแขง คือ โอเรกอน และเท็กซัส รวมกันแลวจําหนายไดเพียง
70,000,017 หัว สวนโรสไอแลนดจําหนายไดเพียง 2 ลานกวาหัวเทาน้ัน หัวหอมท่ีมียอด
จําหนายสูงสุด คือ หัวหอมสีขาว ซึ่งมีขนาดใหญและมีรสหวาน มียอดจําหนาย 120 ลาน
หัว อันดับสองคือ หัวหอมสีเหลืองมียอดจําหนาย 30 ลานหัว และท่ีมียอดจําหนายตํ่าท่ีสุด
คือ หัวหอมสีเขียวซ่ึงมีขนาดเล็ก มียอดจําหนายเพียง 20 ลานหัว ซึ่งปริมาณดังกลาวเปน
การบริโภคในรัฐเพียง 70,000,035 หัว นอกจากน้ันถูกสงไปจําหนายภายนอกรัฐ การ
เพาะปลูกหัวหอมสวนใหญจะใชเครื่องจักรท่ีทันสมัย ซึ่งควบคุมโดยบริษัทดานการเกษตร
ขนาดใหญ สวนการขนสงจะใชรถบรรทุกเปนหลัก และมีบางสวนขนสงโดยทางรถไฟและ
รถกระบะ โดยภาพรวมนับไดวาธุรกิจการจําหนายหัวหอมเปนธุรกิจท่ีมั่นคงและทํารายได
ใหกับผูผลิตพอสมควร นอกจากน้ี ผูเขียนยังไดกลาววา ผูท่ีบริโภคหัวหอมในอาหารทุกม้ือ
จะมีอายุยืนยาวกวาคนท่ัวไปถึง 1% แตอยางไรก็ตาม คนกลุมนี้มีอัตราการเขารวมงาน
สงั สรรคน อยกวา คนท่วั ไปถงึ 20% และมีอตั ราการหยา รางเปน 200%

32

อ. นศิ าชล จํานงศรี
204312 การจดั เก็บและการคน คืนสารสนเทศ

3. สาระสังเขปแบบพรรณนาและใหความรู (Indicative-Informative Abstract)
แนวการเขียนของสาระสังเขปประเภทนี้จะเปนแบบสาระสังเขปประเภทใหความรู และเม่ือ
กลาวถึงสาระสําคัญในระดับรองลงมาจะเขียนแบบสาระสังเขปแบบบอกเลา สาระสังเขปประเภทนี้จะชวยให
ผูอานไดขอมูลที่สําคัญขณะที่ยังคงรักษาความส้ันกระชับของการเขียน เชน " กลาวถึงการปลูกหัวหอมใน
แคลฟิ อรเนียทีเ่ พ่ิมข้ึนถึง 1,070,000,019 ลานหวั " (ดงั ตัวอยางดา นลาง)

กลาวถึงยอดการจําหนายหัวหอมของรัฐแคลิฟอรเนียรท่ีเพิ่มขึ้นถึง 170,000,019 หัว
ขณะที่รัฐอน่ื ๆ ทเี่ ปน คูแขง คอื โอเรกอน เท็กซสั และโรสไอแลนด หัวหอมท่ีมียอดจําหนาย
สูงสดุ คอื หัวหอมสีขาว มยี อดจาํ หนา ย 120 ลา นหัว รองลงมาคือ หัวหอมสีเหลือง 30 ลาน
หัว และท่ีมียอดจําหนายต่ําท่ีสุดคือ หัวหอมสีเขียว 20 ลานหัว เปนปริมาณการบริโภคใน
รัฐเพียง 70,000,035 หัว นอกจากน้ันถูกสงไปจําหนายภายนอกรัฐ การเพาะปลูกหัวหอม
สว นใหญจะใชเครื่องจักรที่ทันสมัย สวนการขนสงจะใชรถบรรทุกเปนหลัก มีบางสวนขนสง
โดยทางรถไฟและรถกระบะ โดยภาพรวมนับไดวาธุรกิจการจําหนายหัวหอมเปนธุรกิจที่
มั่นคงและทํารายไดใหกับผูผลิตพอสมควร นอกจากนี้ ผูเขียนยังไดกลาววา ผูที่บริโภค
หัวหอมในอาหารทุกมื้อจะมีอายุยืนกวาคนทั่วไป 1% อยางไรก็ตาม คนกลุมน้ีมีอัตราการ
เขา รว มงานสงั สรรคน อ ยกวา คนทว่ั ไปถงึ 20% และมีอัตราการหยารา งเปน 200%

นอกจากนี้ ยังมีสาระสังเขปอีกประเภทหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษแตกตางไปจากสาระสังเขปโดยทั่วไป
คือ สาระสังเขปประเภทวิพากษวิจารณ (Critical Abstract) เปนสาระสังเขปประเภทที่ผูเขียนสาระสังเขป
สามารถแสดงความคดิ เห็น หรอื ตีความหมายของเอกสารตนฉบบั รวมท้งั วธิ กี ารนําเสนอลงในสาระสังเขปได ซ่ึง
เปนสิ่งท่ีไมสามารถทําไดในสาระสังเขปประเภทอ่ืนซ่ึงผูเขียนจะตองเขียนไปตามเน้ือหาที่แทจริงของเอกสาร
เทานั้น การเขียนแบบวิพากษวิจารณ เชน " บทความนี้กลาวถึงปริมาณหัวหอมท่ีปลูกเพิ่มข้ึนในแคลิฟอรเนีย แต
ไมไ ดบ อกบอกวาเปน สถิติของปใ ด ซึง่ ทําใหค ุณคา ของสารสนเทศลดลง" (ดังตัวอยางดานลาง) ดังนั้น การเขียน
สาระสังเขปแบบวิพากษวิจารณ ผูเขียนจะตองมีความเขาในเน้ือหาของเอกสารอยางถองแท ตองมีทั้งความ
เช่ียวชาญในเนื้อหาและมีทักษะในการเขียนสาระสังเขปเปนอยางดี สาระสังเขปแบบวิพากษวิจารณมักเขียน
สําหรับบทวิจารณ และหนงั สือ

บทความนีไ้ ดอภปิ รายถึงผลผลิตหวั หอมของรฐั แคลฟิ อรเนียรในประเด็นตาง ๆ หลาย
ประเด็น ตั้งแตการผลิตจนถึงการบริโภค แมวาจะมีการนําเสนอขอมูลตัวเลขและ
ขอเท็จจริงอยางชัดเจน แตรายละเอียดในประเด็นที่สําคัญไดหายไป เชน ผูเขียนไมได
กลาววาเปนขอมูลของปใด ซ่ึงทําใหความสําคัญของขอมูลออนไป หรือเปนขอมูลท่ีใช
ไมไ ด นอกจากนี้เมือ่ ตรวจสอบกับ Statistical Abstracts แลวพบวา ขอมูลท่ีไดไมตรงกับท่ี
ผูเขียนนําเสนอในบทความ รายละเอียดสวนอ่ืนของบทความกลาวถึงเทคนิคการ
เพาะปลูก วิธีการขนสง และภาวะทางเศรษฐกิจของธรุ กิจการผลติ หวั หอม เน้ือหาสวนหลัง
ของบทความไดกลาวถึงผลทางสังคมของการบริโภคหัวหอมในปริมาณที่มากกวาปกติ
และประโยชนทางการแพทยของหัวหอม แตอยางไรก็ตาม ในบทความไมไดแสดง
แหลงขอ มูลใดท่สี นับสนุนขอเทจ็ จริงดังกลาว

33

อ. นศิ าชล จาํ นงศรี
204312 การจัดเก็บและการคน คนื สารสนเทศ

ตวั อยา งสาระสงั เขปประเภทตาง ๆ (Rowley, 1988)
Rowley, Jenifer ; Butcher, D and Tuner, C. (1980). Consumer information and advice :

the role of public libraries. Aslib processing 32 (11/2): 417-424.

closely with advice agencies through

INFORMATIVE ABSTRACT

avaAnilaexabmiinlaittioyn of consumerof the work of Consumer informationAdvice Centres and of athne d

information sources and support activities that public libraries can offer, CACs
have dealt with pre-shopping advice, education on consumers’ rights and

advice both to the public and othercomplaints about goods and services, advising the client and often obtaining

expert assessments. They have drawn on a wide range of information sources

agencies involved in consumerincluding case records, trade literature, contact files and external links. The resent

closure of many CACs has seriously affected the availability of consumer
information and advice. Public libraries can make many kinds of information
sources more widely available, both to the public and to the agencies now

information and advice, is discussed.supplying consumer information and advice. Libraries can cooperate closely with

advice agencies through local coordinating committees, shared premises, joint

of Consumer Advice Centers ise.publicity, referral and the sharing of professional expertise.

INDICATIVE ABSTRACT

The work of Consumer Advice Centers is examined. The information
sources used to support this work are reviewed. The resent closure of many
CACs has seriously affected the availability of consumer information and advice.
The contribution that public libraries can make in enhancing the availability of
consumer information and advice both to the public and other agencies involved
in consumer information and advice, is discussed.

INDICATIVE-INFORMATIVE ABSTRACT

The work of Consumer Advice Centers and the information sources used to
support this work are reviewed. The recent closure of many CACs has seriously
affected the availability of consumer information and advice. Public libraries can make
many kinds of information sources more widely available, both to the public and to the
agencies now supplying consumer information and advice. Libraries can cooperate
closely with advice agencies through local coordinating committees, share premises,
joint publicity, referral and the sharing of professional expertise.

34

อ. นิศาชล จํานงศรี
204312 การจัดเก็บและการคนคืนสารสนเทศ

EXTRACT

With the closure of many CACs, public libraries will need to reassess their
existing provision of consumer information sources, and their cooperation with, and
support for, the remaining consumer information and advice services in the
community.

SHORT ABSTRACT

An example of the work of Consumer Advice Centers and of the information
sources and support activities that public libraries can offer in the field of consumer
information advice.

KEYWORDS

CONSUMER INFORMATION; CONSUMER ADVICE CENTERS;
INFORMATION SOURCES; ADVICE AGENCIES; PUBLIC LIBRARIES; LOCAL
COORDINATING COMMITTEES.

35

อ. นิศาชล จาํ นงศรี
204312 การจัดเก็บและการคนคืนสารสนเทศ

CRITICAL ABSTRACT (Lancaster, 1998: 99)

36

อ. นิศาชล จํานงศรี
204312 การจัดเก็บและการคนคนื สารสนเทศ

ปจจัยทีม่ ผี ลตอ การกาํ หนดรปู แบบการเขียนสาระสงั เขป
การจะกําหนดวาสาระสังเขปจะตองมีขนาดส้ันยาวเทาใดน้ัน ไมสามารถทําได เน่ืองจากมีปจจัยอ่ืน ๆ

ท่ีเก่ียวของอีกหลายประการ และเปนปจจัยที่มีผลกระทบตอวิธีการเขียน ตลอดจนขนาดความส้ันยาวของ
สาระสังเขป ไดแ ก

1. ลกั ษณะเฉพาะของเอกสารตนฉบบั เชน
- ขอบเขตของเน้อื หา (Scope) และความยาวของเอกสาร (Length)
- ลักษณะวชิ าของเอกสาร (Subject)
- ภาษาท่ีเขียนในเอกสาร (Language)
- ความหางายของเอกสาร (Availability)
- ลกั ษณะการเขียนและจุดมงุ หมายของผูเ ขียน (Purpose)
ลักษณะเหลาน้ีมีผลตอการกําหนดรูปแบบของสาระสังเขป และความยาวของสาระสังเขป

เชน หากเอกสารตนฉบับเปนเอกสารที่หายาก หรือเขียนเปนภาษาอ่ืน ควรเขียนสาระสังเขปแบบใหความรู
เพ่ือใหผูอานไดขอเท็จจริงเทียบเทากับการอานจากเอกสารตนฉบับ สวนเอกสารที่เนื้อหามีความยาวมาก
หรือเน้ือหามีความซับซอน ประกอบดวยขอคิดเห็น หรือเร่ืองราวที่หลากหลาย เชน บทวิจารณ รายงานการ
ประชุมสัมมนา หนงั สือ บรรณานกุ รม มักเขยี นเปนสาระสงั เขปแบบพรรณนา

2. จดุ ประสงคในการจดั ทําสาระสงั เขปของหนวยผลิต หากมีจุดประสงคเพื่อช้ีแนะสารสนเทศเทาน้ัน
จะจัดทําสาระสังเขปแบบพรรณนา แตหากตองการจัดทําเพื่อประโยชนในการคนควาอยางถาวร
จะทาํ แบบใหค วามรู

3. ความตอ งการของผใู ช เชน หากผใู ชต องการติดตามความกาวหนาใหม ๆ ในสาขาวิชา จะตองการ
สาระสังเขปท่ีมีขนาดสั้น และผานการเลือกสรรเปนอยางดี สวนผูใชที่ตองการคนควาเร่ืองใด
เรื่องหนงึ่ อยา งลึกซง้ึ จะตอ งการสาระสงั เขปท่ีมเี นอ้ื หามากเพียงพอ ในลกั ษณะของแบบใหความรู

4. การบรหิ ารและการดําเนนิ งานของสาระสังเขป ไดแ ก
- คุณสมบัติของบุคลากรท่ีทําหนาท่ีจัดทําสาระสังเขป ไดแก ความสามารถดานวิชาการ
ความสามารถในการเขยี นสาระสงั เขป เวลาในการทํางาน และความตง้ั ใจในการทาํ งาน
- งบประมาณในการผลติ ซง่ึ จะสมั พันธก ับจาํ นวนบคุ ลากรที่จัดทาํ คาจางและเวลาในการ
จดั ทาํ
- เทคนิคในการผลิตและส่ือที่ใชในการบันทึก หากใชคอมพิวเตอรในการจัดทํามักนิยม
เขียนใหมีเน้ือหายาวแบบใหความรู ซึ่งนอกจากจะใหความรูท่ีชัดเจนข้ึนแลวยังเปนการ
เพิ่มคําสําคัญในสวนของสาระสังเขป แตหากบันทึกในบัตรรายการมักเขียนแบบสั้น
เพื่อใหสามารถบรรจุสาระสาํ คญั ทัง้ หมดลงบนแผนกระดาษได

37

อ. นิศาชล จํานงศรี
204312 การจดั เก็บและการคนคืนสารสนเทศ

ลักษณะของสาระสงั เขปทมี คี ุณภาพ

ในการเขยี นสาระสังเขปเพือ่ ใหส ามารถบรรลุตามวตั ถุท่กี าํ หนไว ตอ งคํานึงลกั ษณะสาํ คญั ดงั ตอไปน้ี
1. สั้น กระชับ (Brevity or Conciseness) การเขียนสาระสังเขปตองเขียนใหส้ันกระชับในขณะที่ได

ประเด็นสําคัญของเอกสารครบถวน โดยการหลีกเลี่ยงคําท่ีมีความหมายคลุมเครือ และการใช
คําฟุมเฟอย เนื่องจากความส้ันของสาระสังเขปจะชวยประหยัดเวลาในการอาน และประหยัด
คาใชจ ายในการจดั ทํา
2. ถูกตองเที่ยงตรงตามขอเท็จจริง (Accuracy or objectivity) ส่ิงที่สําคัญที่สุดของการเขียน
สาระสังเขปคือ ตองถูกตองเที่ยงตรงตามเอกสารตนฉบับ ทั้งในสวนของเน้ือหาและบรรณานุกรม
ของเอกสาร เน่ืองจากหากผดิ พลาดจะทาํ ใหคุณคา ของเอกสารลดลง ดังน้ัน ผูเขียนตองเรียบเรียง
ตาม ขอ เทจ็ จริงของเอกสารตน ฉบับ โดยไมใ สค วามคดิ เหน็ สวนตัวลงไปในเอกสาร
3. ความชัดเจน (Clarity) การเขียนสาระสังเขปควรเขียนใหชัดเจนไมคลุมเครือ ใชภาษาท่ีเขาใจงาย
หลกี เล่ียงประโยคที่มีความกํากวม หรอื การใชศ พั ทวิชาการทีเ่ ขา ใจยาก ไมใชคํายอหรือสัญลักษณ
ที่ไมรูจักโดยท่ัวไป หากตองใชควรอธิบายไวในวงเล็บเมื่อมีการใชครั้งแรก ควรใชคําศัพทที่ผูแตง
เอกสารใช ไมค วรใชค ําศพั ทต ามผเู ขียนสาระสังเขป เน่ืองจากอาจไมตรงกับความตั้งในของผูแตง
และทาํ ใหความหมายผดิ ไป
4. ความคงท่ี (Consistency) การเขียนสาระสังเขปควรเขียนใหม คี วามคงทท่ี ้ังในดาน มาตรฐานท่ีใช
ในการลงรายการบรรณานุกรม รูปแบบการเขียนสาระสังเขป มาตรฐานการสะกดคํา มาตรฐาน
การใชคาํ ยอ ตาง ๆ ซงึ่ จะเหน็ ไดอยา งชดั เจนเมือ่ นาํ สาระสงั เขป 2 รายการมาเปรยี บเทียบกนั

สว นประกอบของสาระสังเขป

สาระสังเขปท่สี มบรู ณป ระกอบดวยสว นประกอบที่สาํ คญั 3 สวน ดงั นี้
1. สวนอางอิง (Reference Section) เปนสวนท่ีใหรายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสารท่ีนํามา

จัดทําสาระสังเขป
2. สวนเนื้อหา (Body Section) เปนสวนของคําดรรชนี และสาระสังเขป คือสวนท่ีอธิบายเนื้อหา

สาํ คญั ของเอกสาร
3. สวนชื่อผูเขียนสาระสังเขป (Signature Section) เปนการลงช่ือผูเขียนสาระสังเขปบทนั้น ๆ เพ่ือ

แสดงใหทราบวาเปน ผลงานของผเู ขยี นคนใด และอาจใสช อื่ ยอ ของหนวยงานทผี่ ลติ ดว ย
องคประกอบดานเน้ือหาของสาระสังเขปท่ีเปนที่ยอมรับของการเขียนสาระสังเขปของบทความทาง
วชิ าการหรือรายงานการวจิ ยั มีดังตอไปนี้
- วัตถุประสงค (Purpose) เพื่อบอกใหทราบถึงเหตุผล หรือความสําคัญของการเขียนบทความหรือการ
ทาํ วจิ ัย เพื่อใหผ อู านทราบถึงสาระสําคัญของงานน้ันวัตถุประสงคจะพบท้ังในสาระสังเขปประเภทบอก
เลาและใหความรู
- วิธีการ (Methodology) คือ ระเบียบวิธีท่ีจะทําใหงานเปนไปตามวัตถุประสงค และทําใหเกิดผลลัพธ
และขอสรุป สําหรับงานวิจัยวิธีการก็คือ ระเบียบวิธีวิจัย เชน การทดลอง การสํารวจ การสัมภาษณ ซ่ึง
ขอมลู นี้ผใู ชค วรไดทราบ โดยเฉพาะถา เปน วิธีการคนควาใหม ๆ ท่ีไมม ผี ูใชม ากอน

38

อ. นิศาชล จาํ นงศรี
204312 การจดั เก็บและการคนคืนสารสนเทศ

- ผลลัพธ (Result) ควรเขียนระบุไวอยางส้ัน ๆ และใหความรูกับผูอาน ผลลัพธอาจเปนผลการคนควา
ทดลอง ขอมูลท่ีเก็บรวบรวมมาได หรือไดจากการวิจัย ในสาระสังเขปประเภทใหความรูจะกลาวถึง
ผลลพั ธ ละเอยี ดมากกวา สาระสงั เขปแบบบอกเลา

- บทสรุป (Conclusion) จะอภิปรายถึงผลลัพธท่ีปรากฏในงาน อาจพิจารณาวาตรงกับวัตถุประสงคที่
ตง้ั ใจหรอื ไม ในบทสรุปจะมีขอ เสนอแนะ การประเมิน และขอ คดิ เห็นตาง ๆ ของผเู ขยี น

- สารสนเทศอื่น ๆ (Miscellaneous Information) นอกจากหัวขอใหญ ๆ ที่กลาวมาแลว สารสนเทศ
ปลีกยอยอน่ื ๆ ก็อาจนํามาเขยี นไวได เชน ตาราง ภาพประกอบ แผนภมู ิ แผนที่ เอกสารอางอิง
องคประกอบดานเน้ือหาเหลานี้ อาจไมตองมีครบในสาระสังเขปของเอกสารแตละช้ิน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
เอกสารตน ฉบับเปนสําคัญ

ตัวอยางองคป ระกอบดานเน้ือหาของเอกสารประเภทตาง

ประเภทเอกสาร องคประกอบดา นเน้อื หา

งานวิจยั และประเมินผล วตั ถุประสงค/ขอบเขต/กลมุ เปาหมาย/วธิ กี าร/
กรณีศกึ ษา ผลลัพธ/ บทสรปุ
ประเภท/วตั ถุประสงค/กลุมผรู บั สารและระดบั
บทความวชิ าการ การศกึ ษา/สถานที่และวนั เดือน ป/ โครงสราง/
รายงานการประชุมเชิงปฏบิ ัติการ/การประชุมและสมั มนา ราคา/การดําเนินการ/ประโยชนแ ละปญหา/
เอกสารแนะนํา คูม อื และเอกสารการปฏิบัตงิ าน การประเมินผล/บทสรุป
ประเด็นหลัก/ประเดน็ รอง/บทสรุป/ขอ แนะนาํ
บรรณานุกรม วัตถุประสงค/ผเู ขา ประชุม/โครงสรา งหรือกิจกรรม
ที่เกยี่ วของ
หวั เรอื่ ง/กลุมเปาหมายและระดับการศกึ ษา/
วัน เดือน ป/ วัตถุประสงค/หวั ขอสําคญั /
การแบงสว นตา ง ๆ ของโครงสรา ง/วธิ กี าร/
ลกั ษณะพิเศษ
หัวเรอื่ ง/ขอบเขตดา นภมู ศิ าสตร/หัวขอ/ผูใช/
ระยะเวลา/จํานวนรายการ/บรรณนิทัศน/ดรรชนี
และแหลง สารสนเทศ

ขัน้ ตอนการเขยี นสาระสงั เขป

1. พยายามอานเอกสารตนฉบับอยางมีจุดหมาย พยายามเขาใจเนื้อหา ขอบเขต และประเด็น
สําคัญของเอกสาร ในบางครั้งอาจตองอานเอกสารมากกวา 1 ครั้ง เพ่ือจับใจความ การอานอาจ
ไมตองอานทุกคําทุกตัวอักษร แตจะอานคราว ๆ เพื่อหาใจความสําคัญ โดยอานจากชื่อเรื่อง
ยอหนาแรก ยอหนาสุดทาย หัวขอสําคัญ ประโยคแรกของแตละยอหนาตลอดจนคํานํา บทนํา

39

อ. นิศาชล จํานงศรี
204312 การจดั เก็บและการคนคืนสารสนเทศ

และภาคผนวกของเอกสารตนฉบับ รวมทั้งบทบรรณาธิการและบทวิจารณ เพ่ือสํารวจ
จุดมุงหมายของผูแตงในการอานเอกสารนั้น ๆ แลวอานซ้ําอีกในประเด็นที่พิจารณาวาเปนสวน
สาํ คัญของเอกสาร ซง่ึ จะแตกตางกนั ไปตามชนิดของเอกสาร ดังตัวอยา งในขา งตน
2. เขยี น หรอื จดประเดน็ สําคญั ของเอกสารออกมาไว ซึ่งสามารถทาํ ไปพรอมกบั ขั้นตอนท่ี 1 ได
3. รางสาระสังเขปตามประเด็นสําคัญที่จดเอาไวในขั้นที่ 2 ตองระวังไมนําคําหรือขอความที่เยิ่นเยอ
ออกมาจากเอกสารตน ฉบับ เขยี นตามรูปแบบการเขยี นทด่ี ี
4. ตรวจรางสาระสังเขป ไดแก การตรวจวรรคตอน ความถูกตองของการสะกดคํา ความส้ันกระชับ
ความถกู ตอ งของชือ่ เฉพาะตา ง ๆ
5. เขยี นสาระสังเขปสดุ ทา ยใหถ ูกตองสมบรู ณ

อยางไรกต็ าม ภาระท่สี าํ คญั ในการเขยี นสาระสงั เขป คอื พยายามใหข อมูลมากท่ีสุดโดยใชคํานอยท่ีสุด
ปญหาท่ีสําคัญคือ จะเขียนอยางไรใหส้ันกระชับแตไดใจความชัดเจน แนวการเขียนท่ีดีคือ พยายาม
สอ่ื ความหมายท่ีจําเปนทีส่ ุดออกมาอยา งรวดเร็ว

วธิ กี ารเขียนใหกระชบั ไดใจความ
1. ข้ึนตนประโยคแรกดวยประโยคที่เปนแกนของเร่ือง และหลีกเล่ียงการเขียนขอความซํ้ากับช่ือเรื่อง

โดยไมจาํ เปน
2. หลกี เลย่ี งประโยคยาว ๆ หรือประโยคทซ่ี ํ้าซอน
3. สาระสังเขปควรอยูในยอหนาเดียว ทุกประโยคควรเปนประโยคที่สมบูรณ อาจเขียนหลายยอหนา

ไดหากเอกสารตนฉบบั น้นั ยาว
4. หลีกเล่ียงการใชคําท่ีมีความหมายคลุมเครือ ระวังการใชคํายอ ช่ือเฉพาะ หากจะใชควรอธิบาย

คํานั้น ๆ เพื่อใหเ กิดความเขา ใจ
5. พยายามตัดคํา หรือวลีท่ีเยิ่นเยอออก เชน ใช " ผูเขียนสรุปวา " แทน " ผูเขียนบทความเร่ืองน้ีได

กลาวไวในตอนทา ยวา " เปนตน
6. ระวังการใชกาล (Tense) และวาจก (Voice) ในการเขียนสาระสังเขปภาษาอังกฤษ สาระสังเขปท่ี

ดีตองใชกาลเดียวกันตลอดท้ังเรื่อง ประเภทใหความรูนิยมใชอดีตกาล (Past tense) และ
กรรตุวาจก (Active voice) สวนประเภทบอกเลานิยมใชปจจุบันกาล (Present tense) และ
กรรมวาจก (Passive voice) เพ่ือการเขียนท่ีช้ัน และชัดเจนสวนกรรมวาจกควรใชตอเมื่อตองการ
เนน ที่การกระทาํ นนั้ ๆ
7. หลีกเล่ียงการใชศัพทว ิชาการชั้นสูงที่ยากตอการเขา ใจ
8. เขียนตารางสั้น ๆ สตู ร สมการ หรือแผนภาพเทาท่ีจาํ เปน หรือเมอื่ ไมมที างเลอื กอ่นื ๆ

40

อ. นิศาชล จาํ นงศรี
204312 การจัดเก็บและการคนคนื สารสนเทศ

การประเมนิ สาระสงั เขป
การประเมินคุณภาพสาระสังเขป อาจพิจารณาไดจ ากประเดน็ ตอ ไปน้ี (พมิ พร ําไพ, 2538)
1. หนาที่ (Function) ของสาระสังเขป หนาท่ีของสาระสังเขปแตละประเภทนั้นแตกตางกัน
สาระสังเขปประเภทใหความรูจะเปนการสรุปจับประเด็นสําคัญของเอกสาร ระบุถึงแนวคิดที่
สําคัญ วิธีการและขอมูลภายในเอกสาร สามารถใชเปนตัวแทนของเอกสาร สวนสาระสังเขป
ประเภทพรรณนาจะระบุถึงเน้ือหาของเอกสารนนั้ ๆ แนะนําใหผ ูอา นทราบวาเร่ืองนั้นกลาวถึงอะไร
ในการพิจารณาควรเปนไปตามประเภทของสาระสังเขป วาผูเขียนใชการเขียนท่ีถูกตองเหมาะสม
กบั ประเภทของเอกสารนั้น ๆ หรอื ไม
2. เนื้อหา (Content) สาระสังเขปควรมีองคประกอบดานเนื้อหาครบตามประเภทของเอกสาร
สวนประกอบที่ผูใชมักมองหาในสาระสังเขปคือ วัตถุประสงค ระเบียบวิธีวิจัย ผลของการ
ศึกษาวิจัย และสรุป หากสวนประกอบใดหายไป อาจหมายความวาเกิดความบกพรองในการ
จดั ทําสาระสังเขป
3. รูปแบบ (Form) จะครอบคลุมถึง แนวการเขียนและความยาวของสาระสังเขป ในสวนของ
แนวการเขียนท่ีดี จะตองสามารถส่ือความหมายท่ีจําเปนที่สุดออกมาใหเร็วท่ีสุด ซ่ึงปญหาที่
สําคัญในการเขียนสาระสังเขปคือ เขียนอยางไรใหมีความกะทัดรัด โดยไดใจความชัดเจน
ดังนั้น หลังจากเขียนแลวควรอานทบทวนอีกครั้งเพื่อตัดขอความที่ไมจําเปนออก การเขียน
สาระสังเขปภาษาอังกฤษตองใชกาลเดียวกันตลอด สวนประเด็นความยาวของสาระสังเขป
โดยปกติจะไมมีการกําหนดความยาวท่ีแนนอนของสาระสังเขป แตผูเขียนสาระสังเขปควรเขียน
ใหส้ันกระชับที่สุดเพ่ือชวยผูอาน ความยาวของสาระสังเขปอาจยืดหยุนไดตามนโยบายของ
หนว ยงานหรอื ประเภทของเอกสาร

สาระสังเขปเปนเขตขอมูลเพิ่มคุณคา (Value-added field) ของฐานขอมูล เปนสิ่งท่ีมีผลตอคุณภาพ
ของฐานขอมูลโดยรวมวาสามารถอํานวยความสะดวกใหกับผูใชไดมากนอยเพียงใด ซ่ึงหากตองการให
ฐานขอมูลสารมารถตอบสนองความตองการของผูใชไดอยางเต็มท่ีควรเพิ่มเขตขอมูลเพ่ิมคุณคาสาระสังเขป
เขาไปในฐานขอมูลดวย

41

อ. นิศาชล จาํ นงศรี
204312 การจดั เก็บและการคน คนื สารสนเทศ

บรรณานุกรม
การคนคืนสารสนเทศออนไลน. (2535). กรงุ เทพฯ: ภาควชิ าบรรณารกั ษศาสตรแ ละสารนิเทศศาสตร

คณะอกั ษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ทิพยว ลั ย ตุลยะสขุ . (2542). การจัดทําดรรชนีและสาระสังเขป. ขอนแกน : ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและ

สารนิเทศศาสตร คณะมนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน .
พมิ พรําไพ เปรมสมิทธ. (2538). ฐานขอ มลู บรรณานกุ รม : การสรางและการใช. กรงุ เทพฯ:

ภาควชิ าบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร คณะอกั ษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
Cleveland, Donald B. and Cleveland, Ana D. (2001). Introduction to indexing and abstracting.

3 rd ed. Englewood, Colorado: Library Unlimited.
Lancaster, F. W. (1998). Indexing and abstracting in theory and practice. 2 nd. ed. London :

Library Association.
Meadow, Charles T. (1992). Text information retrieval system. San Diego, New York: Acedemic

Press.
Rowley, Jenifer E. (1988). Abstracting and indexing. 2 nd. ed. London: Clive Bingley.

42


Click to View FlipBook Version