ฉบบั ที่ 1 พ.ศ.2504-2509
-เน้นเฉพาะด้านเศรษฐกจิ เปน็ สำคัญ โดยเฉพาะการลงทุนใน สิง่ ก่อสร้างขน้ั พื้นฐานในรูปแบบของ
ระบบคมนาคมและ ขนส่ง ระบบเข่ือนเพื่อการชลประทานและพลังงานไฟฟ้า สาธารณปู การ ฯลฯ รฐั
ทุ่มเททรพั ยากรเข้าไปเพือ่ การปู พ้ืนฐานใหม้ กี ารลงทุนในด้านเอกชนเป็นหลกั
ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2510-2514
-ยึดแนวทางแผน 1 โดยขยายขอบเขตของแผนใหค้ รอบคลมุ ถึงการพัฒนาของรฐั โดยสมบูรณก์ ระจาย
ให้บงั เกดิ ผลไปทัว่ ประเทศ เน้นเขตทรุ กนั ดารและห่างไกลความเจรญิ และมี โครงการ พิเศษ
นอกเหนอื ไปจากหน้าทีป่ กติของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาภาค โครงการเร่งรดั
พฒั นาชนบทและโครงการช่วยเหลอื ชาวนา ฯลฯ
ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.2515-2519
-รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ โดยรกั ษาอัตราการขยายตวั ของปรมิ าณเงินตรา, รักษาระดับราคา
สินค้าที่จำเปน็ ต่อการครองชพี , รกั ษาเสถียรภาพทางการเงนิ ระหว่างประเทศ, ส่งเสรมิ การ
ส่งออก, ปรบั ปรุงโครงสร้างการนำเข้า
-ปรบั ปรุงโครงสร้างทางเศรษฐกจิ และยกระดับการผลิต เร่งรัดการสง่ ออกและทดแทนสินค้านำเข้า
ปรับงบลงทนุ ในโครงการก่อสรา้ งมาสนบั สนุนการลงทุนเพอ่ื ใช้ประโยชน์จากโครงการขัน้ พื้นฐานทีม่ อี ยู่
-กระจายรายได้และบริการทางสงั คม โดยลดอัตราการเพิ่มประชากร กระจายบริการเศรษฐกจิ และ
สังคมสชู่ นบท ปรบั ปรงุ สถาบันและองค์กรทางด้านเกษตรและสินเชือ่ รักษาระดบั ราคาสนิ ค้าเกษตร
ฉบับท่ี 4 พ.ศ.2520-2524
-เนน้ การฟนื้ ฟเู ศรษฐกิจของประเทศโดยมงุ่ ขยายการผลติ สาขาเกษตร, ปรบั ปรุงโครงสรา้ ง
อุตสาหกรรมการผลติ เพอ่ื ส่ง ออก, กระจายรายได้และการมงี านทำในภมู ิภาค, มาตรการ กระตุ้น
อุตสาหกรรมทซี่ บเซา, รักษาดุลการชำระเงนิ และการ ขาดดุลงบประมาณ
-เรง่ บูรณะและปรับปรงุ การบรหิ ารทรัพยากรหลักของชาติ รวมทั้งการนำเอาทรพั ยากรธรรมชาติมาใช้
โดยเฉพาะท่ีดิน แหล่งน้ำ ป่าไมแ้ ละแหล่งแร่, เร่งรัดการปฏิรปู ท่ดี ิน, จดั สรร แหลง่ น้ำใน
ประเทศ, อนุรักษ์ทะเลหลวง, สำรวจและพัฒนา แหล่งพลงั งานในอา่ วไทยและภาคใตฝ้ ัง่ ตะวนั ออก
ฉบับท่ี 5 พ.ศ.2525-2529
-ยึดพ้นื ที่เปน็ หลกั ในการวางแผน กำหนดแผนงานและโครง การให้มผี ลทางปฏบิ ัติทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชน เช่น พื้นที่ เป้าหมายเพ่ือพัฒนาชนบท พ้นื ที่ชายฝ่ังทะเลตะวนั ออก พ้ืน ทเี่ มอื งหลัก ฯลฯ
-เนน้ การรักษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจการเงนิ ของประเทศ เปน็ พิเศษโดยการเร่งระดมเงนิ ออม, สร้าง
วินยั ทางเศรษฐกิจ การเงนิ และการปรบั โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ เชน่ ปรับ โครงสร้างการเกษตร
ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมเพื่อการสง่ ออกและกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ส่วนภูมิภาค, ปรบั โครง
สร้างการค้าต่างประเทศ และบรกิ าร, ปรับโครงสร้างการผลิต และการใชพ้ ลงั งาน ฯลฯ
- เน้นความสมดลุ ในการแก้ไขปญั หาเศรษฐกิจและสงั คมของ ประเทศ
-เน้นการแกป้ ัญหาความยากจนในชนบทล้าหลัง กำหนดพนื้ ท่ี เปา้ หมาย 286 อำเภอและกิ่งอำเภอ
-เนน้ การแปลงแผนไปสกู่ ารปฏิบตั ิเช่นมีระบบการบรหิ ารการ พฒั นาชนบทแนวใหม่ประกาศใช้ พ.ศ.
2527
-เน้นบทบาทและการระดมความร่วมมอื จากภาคเอกชน
ฉบับท่ี 6 พ.ศ.2530-2534
-เนน้ การขยายตวั ของระบบเศรษฐกิจควบคูไ่ ปกับการรกั ษาเสถียรภาพของการเงินการคลัง โดยเน้น
การระดมเงินออมในประเทศ เน้นการใช้จ่ายภาครัฐอย่างประหยดั และมปี ระสทิ ธิภาพ และเน้นบทบาท
ภาคเอกชนในการพฒั นา
-เนน้ การพัฒนาฝมี อื แรงงานและคุณภาพชวี ิต
-เนน้ การเพมิ่ บทบาทองคก์ รประชาชนในท้องถ่ินเพอื่ พัฒนาทรพั ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-เร่มิ แผนหลักการพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
-ทบทวนบทบาทรัฐในการพัฒนาประเทศ
- มีแผนพัฒนารฐั วิสาหกจิ
- มงุ่ ปรบั โครงสร้างการผลิตและการตลาดของประเทศใหก้ ระจายตวั มากขึน้
-เนน้ การนำบริการพื้นฐานท่ีมีอย่แู ล้วมาใชป้ ระโยชน์อยา่ งเตม็ ท่ี
-พฒั นาเมอื งและพ้นื ทเ่ี ฉพาะ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค
- ขยายขอบเขตพัฒนาชนบทครอบคลุมทว่ั ประเทศ เขตล้าหลัง 5,787 หม่บู า้ น เขตปานกลาง 35,514
หม่บู ้าน และเขตกา้ วหน้า 11,612 หมู่บ้าน
ฉบับที่ 7 พ.ศ.2535-2539
-เนน้ การรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกจิ อยา่ งต่อเน่อื ง และมีเสถียรภาพ
-เนน้ การกระจายรายได้ และการพฒั นาไปส่ภู มู ิภาคและชนบท
- เนน้ การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ คุณภาพชีวติ และส่งิ แวดล้อม
- เนน้ การพฒั นากฎหมาย รฐั วิสาหกจิ และระบบราชการ
ฉบับที่ 8 พ.ศ.2540-2544
เป็นจุดเปลย่ี นสำคัญของการวางแผนพัฒนาประเทศทใ่ี ห้ความสำคญั กับการมีส่วนร่วมของทุก
ภาคสว่ นในสังคม และมุ่งให้ “คนเป็นศนู ย์กลางการพัฒนา” และใชเ้ ศรษฐกิจเป็นเคร่อื งมอื ช่วยพฒั นา
ใหค้ นมคี วามสุขและมคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี ้ึนพร้อมทงั้ ปรบั เปล่ยี นวิธีการพฒั นาแบบแยกส่วนมาเปน็ บรู ณา
การแบบองค์รวม เพือ่ ให้เกิดความสมดลุ ระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม อยา่ งไรก็
ตามในปแี รกของแผนฯ ประเทศไทยตอ้ ง ประสบวิกฤตเศรษฐกจิ อยา่ งรุนแรง และส่งผลกระทบต่อคน
และสงั คมเปน็ อย่างมาก จงึ ต้องเร่งฟ้นื ฟเู ศรษฐกจิ ให้มีเสถยี รภาพมนั่ คง และลดผลกระทบจากวกิ ฤตที่
ก่อใหเ้ กิดปัญหาการว่างงานและความยากจนเพิม่ ขึน้ อยา่ งรวดเรว็
-การพฒั นาศกั ยภาพของคน
- การพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมใหเ้ ออ้ื ต่อการพัฒนาคน
-การเสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาของภมู ิภาคและชนบทเพ่ือ ยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน
อย่างทั่วถึง
- การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจเพ่อื สนบั สนนุ การพัฒนา คนและคุณภาพชีวติ
-การจดั หาทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
-การพัฒนาประชารฐั เปน็ การพฒั นาภาครฐั ใหม้ ีสมรรถนะ และพนั ธกิจหลกั ในการเสรมิ สร้าง
ศกั ยภาพและสมรรถนะ ของคนและมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาประเทศ
-การบรหิ ารจัดการเพือ่ ใหม้ ีการนำแผนพัฒนาฯไปดำเนินการ ใหเ้ กดิ ผลในทางปฏบิ ัตดิ ว้ ยแนวทางการ
แปลงแผนไปสกู่ ารปฏิบัติ
ฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2545 - 2549
- เปน็ แผนทีไ่ ดอ้ ญั เชิญแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยหู่ ัว มาเปน็ ปรัชญานำทางในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศ ไดอ้ ญั เชญิ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง” มาเปน็ ปรชั ญานำทางในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศ ควบคไู่ ปกับกระบวนทรรศน์การ
พฒั นาแบบบรู ณาการเปน็ องคร์ วมทมี่ ี “คนเป็นศนู ยก์ ลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่
8 โดยยดึ หลักทางสายกลาง เพ่อื ให้ประเทศรอดพ้นจากวกิ ฤต สามารถดำรงอย่ไู ด้อย่างมั่นคง และ
นำไปส่กู ารพัฒนาทส่ี มดลุ มีคณุ ภาพและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และสถานการณเ์ ปลีย่ นแปลง
ตา่ ง ๆ โดยให้ความสำคัญกับการพฒั นาทส่ี มดุลทงั้ ด้านตัวคน สงั คม เศรษฐกิจ และสง่ิ แวดล้อมเพอ่ื
นำไปสูก่ ารพฒั นาทย่ี งั่ ยืนและความอยู่ดมี สี ขุ ของคนไทย ผลการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ
ฉบับท่ี 9 สรุปได้วา่ ประสบความสำเร็จที่นา่ พอใจ เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวได้อย่างต่อเนือ่ งใน
อตั ราเฉลี่ยรอ้ ยละ 5.7 ต่อปี เสถียรภาพทางเศรษฐกิจปรับตวั สคู่ วามม่ันคง ความยากจนลดลง
ขณะเดยี วกนั ระดับคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนดขี น้ึ มาก อันเน่ืองมาจากการดำเนินการเสริมสร้าง
สุขภาพอนามยั การมหี ลกั ประกันสขุ ภาพท่ี มกี ารปรับปรงุ ทง้ั ด้านปริมาณและคุณภาพ โดยครอบคลมุ
คนสว่ นใหญ่ของประเทศ และการลดลงของปญั หายาเสพติด
วตั ถุประสงค์
(1) เพ่ือฟื้นฟเู ศรษฐกิจให้มีเสถยี รภาพและมีภมู คิ มุ้ กัน
(2) เพือ่ วางรากฐานการพฒั นาประเทศให้เข้มแข็ง ยั่งยนื สามารถพ่ึงตนเองไดอ้ ย่างร้เู ทา่ ทนั โลก
(3) เพอ่ื ให้เกดิ การบรหิ ารจัดการทด่ี ใี นสังคมไทยทุกระดับ
(4) เพอื่ แกป้ ญั หาความยากจนและเพ่ิมศกั ยภาพและโอกาสของคนไทยในการพง่ึ พาตนเอง
ลำดับความสำคัญของการพัฒนา
1. การเรง่ ฟื้นฟเู ศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจให้ฟน้ื ตัวอย่างรวดเร็วและมี
เสถียรภาพ
2. การสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกจิ ฐานราก
3. การบรรเทาปญั หาสังคม
4. การแก้ปัญหาความยากจน
ฉบบั ที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554
- ประเทศไทยยงั คงตอ้ งเผชิญกบั การเปลยี่ นแปลงท่ีสำคญั ในหลายบริบท ท้ังท่ีเปน็ โอกาสและขอ้ จำกดั
ตอ่ การพฒั นาประเทศ จึงต้องมีการเตรียมความพร้อมของคนและระบบใหม้ ีภมู คิ มุ้ กัน พร้อมรบั การ
เปลย่ี นแปลงและผลกระทบทอี่ าจเกิดข้นึ โดยยังคงอัญเชญิ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาเป็น
แนวปฏิบัตใิ นการพฒั นาแบบบรู ณาการเปน็ องค์รวมท่มี ี “คนเปน็ ศนู ยก์ ลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจาก
แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 8 และแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 9 และให้ความสำคัญต่อการรวมพลังสังคมจากทุก
ภาคส่วนให้มสี ว่ นร่วมดำเนินการใน ทกุ ขน้ั ตอนของแผนฯ พร้อมท้ังสร้างเครอื ข่ายการขับเคลอื่ น
ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาส่กู ารปฏิบัติ รวมทง้ั การติดตามตรวจสอบผลการดำเนนิ งานตามแผนอย่าง
ตอ่ เนื่อง
ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559
- ตามวสิ ัยทศั น์ 3 พนั ธกิจ 3 วตั ถปุ ระสงค์ 4 เปา้ หมายหลกั และ 7 ยุทธศาสตร์ ตามการศึกษาจาก
บริบทตลอดจนจุดแข็ง จดุ อ่อนโอกาสและภัยคุกคามของประเทศไทย
วสิ ัยทศั น์ "ประเทศมคี วามม่ันคงเปน็ ธรรม และมีภมู คิ ้มุ กนั ต่อการเปลีย่ นแปลง"
3 พนั ธกจิ ไดแ้ ก่ การพฒั นาฐานการผลิตและบรกิ าร การสร้างความเปน็ ธรรมและ ลดความเหลื่อมล้ำ
ทางเศรษฐกิจ สังคม และสร้างภูมิค้มุ กนั จากวกิ ฤตการณ์
3 วตั ถุประสงค์ เพ่ือใหท้ รพั ยากรและสิ่งแวดลอ้ มอุดมสมบรู ณอ์ ย่างยั่งยนื คนไทยอยรู่ ว่ มกนั อย่างสันติ
สุข และพร้อมเชิญกับการเปลีย่ นแปลงไดอ้ ย่างเป็นสุข
4 เป้าหมายหลกั ได้แก่ เศรษฐกิจมีความเข้มแข็งสมดลุ ความสามารถในการแข่งขันสงู ขนึ้ มี
หลกั ประกนั สงั คมทีท่ ว่ั ถงึ และสงั คมไทยมีความสขุ อย่างมีธรรมาภิบาล
7 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ การสร้างฐานการผลิตใหเ้ ขม้ แขง็ สมดลุ อยา่ งสร้างสรรค์ การสรา้ ง
สภาพแวดล้อมท่ีเอ้อื อำนวยต่อการผลิต การคา้ การลงทนุ การพัฒนาคณุ ภาพคน ทั้งความรคู้ ู่
คณุ ธรรม สงั คม มนั่ คงเปน็ ธรรม มพี ลงั และเอ้ืออาทร เนน้ การผลิตและบรโิ ภคที่เปน็ มิตรกบั
สง่ิ แวดลอ้ ม มคี วามมั่นคงของพลงั งานและอาหาร และเพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
จะเห็นไดว้ ่า แผนฉบับที่ 11 นนั้ เน้นการ "ตงั้ รบั " มากกว่า "รกุ " โดยเน้นการปอ้ งกนั ปัญหาจาก
วกิ ฤตการณท์ ีอ่ าจเกิดขึ้นในอนาคต เพราะเราเพงิ่ ผ่านวิกฤตการณเ์ ศรษฐกจิ โลก และวกิ ฤตการณท์ าง
การเมอื งภายในประเทศมาหมาดๆ
การเน้น "ภูมคิ มุ้ กัน" นัน้ เปน็ เพียงเป้าหมายขน้ั ต่ำเหมือนคนที่ปลอดโรค เพราะมีภมู ติ ้านทาน
โรค แตไ่ ม่ได้บอกว่าสุขภาพแขง็ แรงมกี ำลังวงั ชาดีเพียงไร เชอ่ื ว่าพวกเราไมไ่ ด้ต้องการเพียงใหป้ ระชาชน
พอมกี ินประชาชนควรจะ "กินดีอยู่ดี" และมี "คณุ ภาพชีวิต" ทดี่ ีขึน้ กว่าเดิม อกี นัยหนึ่ง ผลโดยรวม
ประเทศไมค่ วรมสี ถานะเพียงเกณฑเ์ ฉลี่ยของประเทศอาเซียนดว้ ยกนั หรอื เพียงแต่ดีกวา่ พม่า ลาว
กัมพชู า บ้าง แต่เราควรจะตั้งเป้าหมายใหป้ ระเทศไทยมีความ "ม่ังคั่ง" อยู่ในช้นั แนวหน้าของอาเซยี น ที่
จะแข่งขันกบั ประเทศ อินโดนเี ซยี มาเลเซีย และสิงคโปร์ได้ และตวั อยา่ งทด่ี ีๆ ของประเทศนอกอาเซียน
อ่นื ๆ เช่น เกาหลี และจนี เปน็ ต้น
ฉบบั ท่ี 12 พ.ศ.2560-2564
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 จะยดึ หลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”
ต่อเนือ่ งจากแผนพัฒนาฯ ฉบบั กอ่ นหนา้ ได้กำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตรแ์ ละแนวทางการพัฒนา
ประเทศในระยะ 5 ปี ซ่ึงจะเป็นแผนท่ีมคี วามสำคญั ในการวางรากฐานการพัฒนาประเทศไปสสู่ งั คมทม่ี ี
ความสุขอย่างมัน่ คง มั่งคั่ง และยัง่ ยนื สอดคล้องตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ท่เี ป็นกรอบการพฒั นา
ประเทศในระยะยาว
รฐั บาลมีนโยบายในการสร้างความมนั่ คงและเข้มแขง็ ใหก้ บั ระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทงั้
เรง่ สร้างสังคมท่ีมคี ณุ ภาพ โดยการขจดั อุปสรรคตา่ ง ๆ ทมี่ ตี ่อการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจและการ
ลดความเหลื่อมล้ำทางสงั คม ตลอดจนการวางแผนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ในระยะยาว ครอบคลุมถึง
การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ เพื่อเพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั การสร้างความมนั่ คง มั่งคง่ั ทาง
เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ เปน็ สิง่ สำคัญทป่ี ระเทศจะต้องมที ิศทางและเป้าหมายการพัฒนาระยะ
ยาวทช่ี ัดเจน โดยทุกภาคสว่ นในสังคมต้องรว่ มมอื กันอย่างเข้มแข็ง เพ่อื ผลกั ดนั ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธิอ์ ยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง และสอดรบั กบั การปฏริ ูปประเทศที่มุ่งสู่ความ “มนั่ คง ม่ังคงั่ และยง่ั ยืน” ในอนาคต เน้นให้
“คนเปน็ ศนู ย์กลางการพัฒนา” สรา้ งความมน่ั คงของชาติ พฒั นาคนทุกวัยให้เปน็ คนดี คนเก่ง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติถือเปนแผนระดับชาติที่มีความสำคัญในการกำหนดทิศทางการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในการวางแผนการทำงานของหนวยงานราชการ และภาคเอกชน
จะตองคำนึงถึงความสอดคลองกับแผนดังกลาว โดยปจจุบันประเทศไทยอยูระหวางการจัดทำแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 13 เพ่ือใชในปงบประมาณ 2566 - 2570 ทดแทนแผนพัฒนาฯฉบับที่
12 ที่กำลังจะสิ้นสุดอายุในปหนา
ซ่ึงขั้นตอนปจจุบันสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ไดมีการดำเนินการยกราง
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 13 แลวเสร็จ และอยูระหวางการรับฟงความคิดเห็นจากภาคสวนตางๆท่ัวประเทศ
ระหวางเดือน พ.ย. - ธ.ค.นี้ จากนั้นจะนำเสนอตอคณะกรรมการยุทธศาสตรชาติ คณะรัฐมนตรี (ครม.)และ
รัฐสภา กอนนำขึ้นทูลเกลาถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใชแผนฯ อยางเปนทางการในเดือน
ตุลาคม 2565 ตอไป
ดนุชา พิชยนันท เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) เปดเผยวา รางแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 13 ยังคงนอมนำ "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มากำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมทั้งเปน
หลักนำทางในการขับเคล่ือนแผน ตลอดจนยึดโยงกับเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนของโลก (Sustainable
Development Goals: SDGs) ซึ่งจะเปนจุดเริ่มตนในการนำประเทศไทยไปสูการเปนประเทศที่เศรษฐกิจ
เติบโต สังคมกาวหนา ควบคูไปกับการรักษาส่ิงแวดลอมอยางสมดุลในระยะยาว
ทั้งนี้รางแผนพัฒนาฯฉบับท่ี 13 มีเปาหมายหลักของการพัฒนาในระยะ 5 ป (2566 -2570)ของแผนรวม 5
เปาหมายหลัก ไดแก
1.การปรับโครงสรางการผลิตสูเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม
2.การพัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหม
3.การมุงสูสังคมแหงโอกาสและความเปนธรรม
4.การเปลี่ยนผานไปสูความย่ังยืน
5.การเสริมสรางความสามารถของประเทศในการรับมือกับความเส่ียงและการเปลี่ยนแปลง ภายใตบริบท
โลกใหม
เพื่อถายทอดเปาหมายหลักไปสูภาพของการขับเคล่ือนที่ชัดเจนในลักษณะของวาระการพัฒนา (Agenda) ท่ี
เอื้อใหเกิดการทำงานรวมกันของหลายหนวยงานและหลายภาคสวนในการผลักดันการพัฒนาในเรื่องใดเรื่อง
หน่ึงใหเกิดผลไดอยางเปนรูปธรรม
นอกจากน้ีในการจัดทำรางแผนฯ 13 จึงไดกำหนดหมุดหมายการพัฒนา จำนวน 13 ประการ โดยแบงเปน
4 มิติ ไดแก
1. มิติภาคการผลิตและบริการเปาหมาย ประกอบดวย หมุดหมายที่ 1 ไทยเปนประเทศช้ันนำดานสินคา
เกษตรและเกษตรแปรรูปมูลคาสูง หมุดหมายที่ 2 ไทยเปนจุดหมายของการทองเที่ยวท่ีเนนคุณภาพและ
ความยั่งยืน หมุดหมายที่ 3 ไทยเปนฐานการผลิตยานยนตไฟฟาที่สำคัญของโลก หมุดหมายที่ 4 ไทยเปน
ศูนยกลางทางการแพทยและสุขภาพมูลคาสูง หมุดหมายที่ 5 ไทยเปนประตูการคาการลงทุนและ
ยุทธศาสตรทางโลจิสติกสที่สำคัญของภูมิภาค หมุดหมายท่ี 6 ไทยเปนศูนยกลางดานดิจิทัลและ
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะของอาเซียน
2. มิติโอกาสและความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบดวย หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดยอมที่เขมแข็ง มีศักยภาพสูง และสามารถแขงขันได หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมือง
อัจฉริยะที่นาอยู ปลอดภัย เติบโตไดอยางย่ังยืน หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนขามรุนลดลง และคนไทย
ทุกคนมีความคุมครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม
3. มิติความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ประกอบดวย หมุดหมายที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจ
หมุนเวียนและสังคมคารบอนต่ำ หมุดหมายท่ี 11 ไทยสามารถลดความเส่ียงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติ
และการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
4. มิติปจจัยผลักดันการพลิกโฉมประเทศ ประกอบดวย หมุดหมายท่ี 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุง
เรียนรูอยางตอเน่ือง ตอบโจทยการพัฒนาแหงอนาคต และหมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐท่ีทันสมัย มี
ประสิทธิภาพ และตอบโจทยประชาชน
นายดนุชา กลาวดวยวาในการแสดงความคิดเห็นตอรางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 สศช. ยังไดจัดใหมีชองทาง
ออนไลนใหประชาชนทั่วไปไดรวมแสดงความคิดเห็นตอรางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13
ตั้งแตบัดนี้จนถึงสิ้นเดือนธันวาคม 2564 ไดทาง เว็บไซต สศช. , Facebook สภาพัฒน,
Email: [email protected] และ ตู ปณ.49 ปทฝ.หลานหลวง กรุงเทพฯ 10102 ซึ่งภายหลังจากท่ีไดรับ
ฟงความคิดเห็นจากประชาชนทุกภาคสวนแลวจะไดนำมาปรับปรุงรางแผนพัฒนาฯฉบับที่ 13 กอนนำเสนอ
รางแผนพัฒนาฯใหหนวยงานตาๆพิจารณาตามลำดับตอไป