The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้บรรณารักษ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watpamok, 2022-04-26 08:24:15

ความรู้บรรณารักษ์

ความรู้บรรณารักษ์

รหัส :

2.7 มีระบบ Authority Control ตรวจสอบรายการผแู้ ตง่ หวั เร่ืองใหเ้ ป็นมาตรฐาน
3. ระบบงานบริการยมื -คนื (Circulation)

3.1 สามารถกาหนดระเบียบการยมื -คืนวสั ดุหอ้ งสมุดไดต้ ามประเภทสมาชิก
3.2 สามารถกาหนดเวลาการยมื วสั ดุแต่ละประเภทได้
3.3 สามารถเก็บประวตั ิรายละเอียดการยมื ของสมาชิกแตล่ ะคนได้
3.4 สามารถดูรายการยมื และรายการจองของตนเองผา่ นอินเทอร์เน็ต
3.5 สามารถกาหนดปฏิทิน เพือ่ จดั การเรื่องกาหนดวนั ส่งได้
3.6 สามารถจดั การเก่ียวกบั คา่ ปรับ
3.7 สามารถจดั การเก่ียวกบั การยมื วสั ดุหอ้ งสมุดในช่วงเวลาส้นั ได้
3.8 สามารถจดั การเก่ียวกบั การยมื -คืนวารสารในลกั ษณะ In-House-Use
3.9 สามารถพิมพร์ ายงานและสถิติไดต้ ามความตอ้ งการ
คุณลกั ษณะของระบบงานบริการยมื -คนื (Circulation)
1) กลุ่มผใู้ ชเ้ ป็นท้งั แบบ National และ Local
2) สามารถทาการยมื -คืน โดยใชร้ ะบบบาร์โคด้ หรือเลข ID ของสมาชิกหอ้ งสมุด
3) สามารถแสดงขอ้ มลู รายละเอียดของผใู้ ชบ้ ริการได้
4) สามารถทาการคานวณเงินค่าปรับไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ
4. ระบบงานวารสารและเอกสาร (Serial Control)
4.1 สามารถใชข้ อ้ มูล Vendor ร่วมกนั
4.2 สามารถสร้างรายการ Holding วารสารและใหแ้ สดงผลท่ี OPAC
4.3 สามารถตรวจสอบสถานะของวารสารแตล่ ะรายช่ืออยใู่ นสถานะใด
4.4 สามารถจดั ระบบควบคุมและคานวณค่าใชจ้ า่ ย คา่ บอกรับวารสาร ทาบญั ชีวารสาร
4.5 สามารถออกจดหมายทวงวารสาร ไปยงั ผจู้ ดั จาหน่ายหรือตวั แทนได้
5. ระบบงานสืบค้นรายการทรัพยากร (Online Public Access Catalog)
5.1 สนบั สนุนการทางานแบบ Internet Web Clients
5.2 สามารถสืบคน้ ขอ้ มลู ไดห้ ลายรูปแบบ โดยคน้ จากชื่อผแู้ ตง่ นิติบุคคล ชื่อเร่ือง หวั เร่ือง เลข
เรียกหนงั สือและคาสาคญั
5.3 สามารถสืบคน้ แบบเทคนิคตรรกบลู ีน
5.4 สามารถสืบคน้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยเรียง ลาดบั อกั ษรตาม
พจนานุกรม
5.5 สนบั สนุนการสืบคน้ ผา่ นมาตรฐานโปรโตคอล Z39.50 ส่วนที่เป็นองคป์ ระกอบเสริมก็มีอีก
เช่น การรองรับขอ้ มลู ในอนาคต ฐานขอ้ มูลที่ใช้ ระบบเครือขา่ ย ฯลฯ

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
101

รหสั :

ระบบห้องสมุดอตั โนมัติควรจะต้องคานึงถงึ มาตรฐาน
ระบบหอ้ งสมุดอตั โนมตั ิที่ดีควรจะรองรับเร่ืองมาตรฐานอีกมากมาย เช่น MARC21, ISO2709,

Z39.50 ฯลฯ
- ระบบออนไลน์ ระบบหอ้ งสมุดอตั โนมตั ิท่ีดีควรทางานไดใ้ นระบบออนไลน์ ท้งั ในแง่ผใู้ ชบ้ ริการ

และบรรณารักษเ์ ช่น สืบคน้ ออนไลน์ จองหนงั สือผา่ นระบบออนไลน์ ต่ออายกุ ารยมื ออนไลน์
- การบริหารจัดการระบบทด่ี ี ระบบหอ้ งสมุดอตั โนมตั ิท่ีดีควรมีระบบท่ีสามารถบริหารจดั การ

ขอ้ มูลภายในไดท้ ้งั ในเง่ของการนาขอ้ มูลตา่ งๆ มาใชไ้ ด้ เช่น สถิติการใชง้ าน รายงานการใชง้ าน และ
เก็บขอ้ มลู การเขา้ ใชง้ าน

- การแลกเปลยี่ นข้อมูล ระบบหอ้ งสมุดอตั โนมตั ิท่ีดีควรมีฟังคช์ น่ั ท่ีรองรับในการแลกเปลี่ยน
ขอ้ มลู กบั หอ้ งสมุดอื่นๆ

- อนาคต ระบบหอ้ งสมุดอตั โนมตั ิที่ดีควรคานึงถึงการเติบโตทางดา้ นเทคโนโลยใี นอนาคต
ที่มา: libraryhub. http://www.libraryhub.in.th/2009/06/18/selected-ils-for-library/

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
102

รหัส :

UTQ online e-Training Course

ใบความรู้ที่ 7.2
เรื่อง “ฐานขอ้ มลู ”
โครงการยกระดบั คุณภาพครูท้งั ระบบ ภายใตป้ ฏิบตั ิการไทยเขม้ แขง็
(Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

ฐานข้อมูล

ฐานข้อมูล หรือ (Database) มาจากคา 2 คา คือ Data และ Base

Data คือ ทรัพยากรที่ประกอบดว้ ยขอ้ เทจ็ จริงท่ีมีปริมาณมาก สามารถเพม่ิ ข้ึนและ

เปล่ียนแปลงไดใ้ นขณะที่ Base คือ สิ่งท่ีเป็นฐานใหส้ ร้างต่อข้ึนไปได้ ดงั น้นั เมื่อนาคาวา่ Database

มารวมกนั และนามาใชใ้ นวงการสารสนเทศ มีความหมายดงั น้ี

ฐานข้อมูล หรือ Database เป็นแหล่งท่ีจดั เก็บสารสนเทศซ่ึงอยใู่ นรูปแฟ้ มขอ้ มลู ที่ตอ้ งใช้

คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประมวลผลอ่ืนในการเรียกอา่ นขอ้ มลู ขอ้ มลู ในฐานขอ้ มูลอาจจะเป็นตวั เลข

รายการอา้ งอิงทาง บรรณานุกรม บทคดั ยอ่ ขอ้ มลู เตม็ รูปของบทความ รายงานทางวชิ าการ บทความใน

สารานุกรม

ประเภทของฐานข้อมูล จาแนกตามลกั ษณะการจดั เกบ็ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ

1. ฐานข้อมูลเตม็ รูป (Full Text) คือ ฐานขอ้ มูลท่ีประกอบดว้ ยแฟ้ มขอ้ มูลซ่ึงเป็นเน้ือหาสาระ

สมบรู ณ์ตามท่ีปรากฏอยเู่ ตม็ โดยไม่มีการตดั หรือยอ่ จากฐานขอ้ มูลน้ี ผคู้ น้ จะสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลที่มี

อยไู่ ม่วา่ จะเป็นสารานุกรม กฎหมาย ข่าวหนงั สือพมิ พ์ คุณสมบตั ิทางเคมี สิทธิบตั ร ขอ้ มูลประชากร

ฐานขอ้ มูลประเภทน้ีใชใ้ นการตอบคาถามทวั่ ไ ป ซ่ึงจะใหข้ อ้ มลู เน้ือหาเบ้ืองตน้ แก่ผใู้ ช้ และพบไดท้ ้งั

ในรูปออนไลนแ์ ละออฟไลน์ เช่น CHEMSEARCH , Academic American Encyclopedia รวมท้งั

ฐานขอ้ มูลท่ีพบในอินเทอร์เน็ต

2. ฐานข้อมูลอ้างองิ (Reference Database) เป็นฐานขอ้ มูลอกั ขระ ประกอบดว้ ย รายละเอียด

ทางบรรณานุกรม หรือดรรชนีแหล่งที่มาของสารสนเทศ โดยมุง่ เนน้ ท่ีจะช่วยให้ ผใู้ ชท้ ราบวา่

ขอ้ มลู ข่าวสารที่ตอ้ งการสามารถหาไดจ้ ากส่ิงพมิ พใ์ ดบา้ ง และส่ิงพิมพน์ ้นั อยทู่ ี่ใด โดยผใู้ ชจ้ ะไมไ่ ด้

เน้ือหาของขอ้ มลู เหมือนกบั ฐานขอ้ มูลประเภทแรก ฐานขอ้ มลู ประเภทน้ี เช่น ฐานขอ้ มลู

ทรัพยากรหอ้ งสมุด ดรรชนีวารสารไทย MEDLINE, ERIC, LISA

3. ธนาคารข้อมูล (Data Bank) เป็นฐานขอ้ มูลเชิงตวั เลขในรูปของสถิติ กราฟ ตาราง และ

ขอ้ มูลดิบฐานขอ้ มลู ประเภทน้ีใหค้ าตอบโดยตรง โดยไม่ตอ้ งอา้ งอิงไปยงั เอกสารตน้ เหล่ง

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
103

รหัส :

ประโยชน์ของฐานข้อมูล
1. จดั เก็บสารสนเทศไดใ้ นปริมาณสูงทาใหป้ ระหยดั เน้ือท่ีในการจดั เก็บมากกวา่ เกบ็

ในกระดาษ
2. จดั เกบ็ สารสนเทศอยา่ งเป็นระบบ ทาใหเ้ ขา้ ถึงขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็วและ

มีประสิทธิภาพกวา่ การคน้ ดว้ ยมือ ท้งั ยงั เป็นการช่วยประหยดั เวลาในการคน้ หา
3. ปรับปรุงและแกไ้ ขสารสนเทศในฐานขอ้ มลู ไดง้ ่ายและรวดเร็ว ทาใหผ้ ใู้ ชไ้ ดร้ ับขอ้ มลู ท่ี

ถูกตอ้ งและทนั สมยั เสมอ
4. เช่ือมโยงแหล่งขอ้ มูลท่ีอยหู่ ่างไกลไดโ้ ดยระบบออนไลน์ ทาใหผ้ ใู้ ชเ้ ขา้ ถึงขอ้ มูล

สารสนเทศท่ีตอ้ งการไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง โดยไมต่ อ้ งเดินทางไปคน้ หาจากหลายแหล่ง
5. มีการเชื่อมโยงฐานขอ้ มูลเขา้ ระบบโทรคมนาคมที่ทนั สมยั ทาใหฐ้ านขอ้ มลู แพร่หลายและ

สามารถจดั หาไดง้ ่ายจากทวั่ โลก

ฐานข้อมูลทนี่ ่าสนใจ (Useful Database)
[กด Ctrl+Click เพื่อเข้าศึกษาเวบ็ ไซต์ฐานข้อมลู ต่าง ๆ ]

บริการสืบคน้ บทความทางวิชาการจากส่ิงพิมพป์ ระเภทต่างๆ
ไดแ้ ก่ Peer-reviewed Journals วิทยานิพนธ์ หนงั สือ รายงานการ
วิจยั จากสานกั พิมพ์ สมาคม มหาวิทยาลยั และสถาบนั การศึกษา
ต่างๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยีของ Google

ระบบสืบคน้ เอกสารสิทธิบตั รจาก The United States Patent and
Trademark Office (USPTO) ดว้ ยเทคโนโลยขี อง Google เปิ ดตวั
อยา่ งเป็นทางการเม่ือ 13 ธนั วาคม 2549

ฐานข้อมลู พพิ ธิ ภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย
: รวบรวมขอ้ มลู ต่าง ๆ ของพิพิธภณั ฑท์ อ้ งถิ่นในประเทศไทยท่ี
น่าสนใจ

ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย
: รวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกบั จารึกในประเทศไทย มีคาแปลและ
รูปภาพประกอบครบถว้ น

NLM Databases แหล่งรวมฐานขอ้ มลู ต่างๆ ของ National
Library of Medicine (NLM)

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
104

รหสั :

MedLine บริการสืบคน้ ขอ้ มลู ดา้ นสุขภาพแก่ประชาชนทว่ั ไป
ของ National Library of Medicine ครอบคลุมเอกสารต่างๆ
รวมท้งั ขอ้ มลู ยา สารานุกรมและพจนานุกรมทางการแพทย์

PubMed ฐานขอ้ มลู เพ่ือการสืบคน้ บรรณานุกรมและบทคดั ยอ่
ของบทความสาขาชีวการแพทย์ จากฐานขอ้ มลู MEDLINE
จานวนมากกวา่ 16 ลา้ นระเบียน ครอบคลุมวารสาร 4,900+ ชื่อ
จาก 70 กวา่ ประเทศทว่ั โลกยอ้ นหลงั ต้งั แต่ปี 1950 ถึงปัจจุบนั
รวมท้งั วารสารสาขาอ่ืนนอกเหนือจากท่ีปรากฎใน MEDLINE
ดว้ ย มี LinkOut เชื่อมโยงไปยงั เวบ็ ไซตข์ องวารสาร เพ่ือเรียกดู
บทความฉบบั เตม็ (full-text) ได้ และเชื่อมโยงกบั Entrez
Databases อื่นๆ ดว้ ย เช่น PMC, e-Books, Nucleotide, Protein,

ToxNet ฐานขอ้ มลู ทางดา้ นสารพิษ พิษวทิ ยา จดั ทาโดย The U.S.
National Library of Medicine

BioMed Central (BMC) BMC เป็นสานกั พิมพอ์ อนไลน์
วารสารทางวชิ าการสาขาชีวการแพทย์ ที่มีนโยบายสนบั สนุนการ
ตีพิมพใ์ นลกั ษณะ "Open Access Publisher" รวมท้งั ใหบ้ ริการ
บทความฉบบั เตม็ ของวารสารต่างๆ ท่ีอยใู่ นเครือ BMC ฟรี

PDFGeni is a dedicated pdf search engine for PDF ebooks,
sheets, forms and documents.

Scribd is a free, web-based, document sharing community and
self-publishing platform that enables anyone to easily publish,
distribute, share, and discover documents of all kinds.

PDFoo was developed for free services to provide resources of
PDF files. All files based on popular section and it short by
number of the most download by people.

My First Brain เวบ็ ไซตท์ ่ีเปิ ดใหบ้ ริการดา้ นการศึกษา ฟรี เพื่อ
ประโยชนใ์ นการศึกษาหาความรู้ดว้ ยตวั เองอยา่ งมีสาระและ
ครบถว้ นโดยไมจ่ ากดั วยั

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
105

รหสั :

Asian Resources for Librarians More than 758 Library
Science e-Journals, 693 Asian Databases, Conferences &
Exhibitions for Librarians and Information Specialists, Access
Magazine (Asian newspaper on electronic information, products
and services)

Arxiv.org E-Print Archive ระบบสืบคน้ เอกสารทางวชิ าการทุก
ประเภท (e-print service) ในสาขา physics, mathematics, non-
linear science, computer science, และ quantitative biology
ปัจจุบนั มีขอ้ มลู จานวนมากกวา่ 388,775 รายการ

Chemical Information from the Environmental Health
Information Program of the National Library of Medicine
ฐานขอ้ มลู พิเศษของ National Library of Medicine (NLM) ท่ีให้
ขอ้ มลู เกี่ยวกบั โครงสร้างสารเคมี ยา และพิษวิทยา

Civil Engineering Database ASCE'S Electronic Information
Retrieval Service to All. Its Publications Published since 1970
the CEDB provides access to over 100,000 bibliographic and
abstracted records. ฐานขอ้ มลู เพ่ือการสืบคน้ วารสารและสิ่งพิมพ์
ต่างๆ ของ ASCE (American Society of Civil Engineers) ขอ้ มลู
ยอ้ นหลงั ต้งั แต่ปี 1970-ปัจจุบนั

Faculty of 1000 Biology is the next generation literature
awareness tool. It is a revolutionary new online research service
that will comprehensively and systematically highlight and
review the most interesting papers published in the biological
sciences, based on the recommendations of a faculty of nearly
2500 selected leading researchers.

IPCS INCHEM ฐานขอ้ มลู เพ่ือการสืบคน้ ขอ้ มลู ทางวชิ าการ
เก่ียวกบั สารเคมีท่ีใชก้ นั มากทว่ั โลก ที่อาจเป็นอนั ตรายต่อ
สิ่งแวดลอ้ มและปนเป้ื อนในอาหาร

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
106

รหสั :

ISIHighlyCited.com ฐานขอ้ มลู ฟรี ของ ISI ใชส้ าหรับคน้ หา
ประวตั ินกั วิจยั ท่ีไดร้ ับการอา้ งอิงสูงระดบั โลกในสาขาวชิ าต่างๆ
โดยการสืบคน้ จากช่ือนกั วิจยั สถาบนั ประเทศ และสาขาวชิ า

Public Library of Science (PLoS) The Public Library of
Science (PLoS) is a non-profit organization of scientists and
physicians committed to making the world's scientific and
medical literature a freely available public resource. The Public
Library of Science (PLoS) seeks to catalyze a change from
traditional subscription-based scientific and medical journal
publishing to open access publishing

Science.gov ระบบบริการสืบคน้ ฐานขอ้ มลู ทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี จากหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลอเมริกนั

European Patent Office เครือข่ายฐานขอ้ มลู เอกสารสิทธิบตั ร
ของกลมุ่ ประเทศยโุ รป (The European Patent Organisation)
สามารถสืบคน้ เอกสารสิทธิบตั รของประเทศต่างๆ จากทวั่ โลก
ใหบ้ ริการเอกสารฉบบั เตม็ ฟรี สาหรับสิทธิบตั รของ EPO, WIPO,
USA, UK

The World Intellectual Property Organization (WIPO) is an
international organization dedicated to promoting the use and
protection of intellectual property. With headquarters in Geneva,
Switzerland, WIPO is one of the 16 specialized agencies of the
United Nations system of organizations. It administers 23
international treaties dealing with different aspects of
intellectual property protection. The Organization counts 183
nations as member states.

ฐานขอ้ มลู สิ่งพิมพแ์ ละเอกสารขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO)
ในสาขาแพทยศาสตร์, สาธารณสุขศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
สุขภาพ ดว้ ยความร่วมมือระหวา่ งคณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั นเรศวรและองคก์ ารอนามยั โลก ใหบ้ ริการสืบคน้

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
107

รหสั :

และดาวนโ์ หลดเอกสาร วารสารและหนงั สือต่างๆ

ฐานข้อมูลวทิ ยานิพนธ์/งานวจิ ัย (Theses & Research Database)

TDC หรือ Thai Digital Collection : เป็นโครงการหน่ึงของ
ThaiLIS ใหบ้ ริการสืบคน้ ฐานขอ้ มลู เอกสารฉบบั เตม็ ซ่ึงเป็น
เอกสารของ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจยั ของนกั ศึกษาและ
คณาจารย์ รวบรวมจากมหาวทิ ยาลยั ต่างๆทวั่ ประเทศไทย

วทิ ยานิพนธ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (BSRU e-Theses) : ใหบ้ ริการ
รายช่ือวิทยานิพนธอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ระดบั บณั ฑิตศึกษาของ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา

ฐานข้อมูลวทิ ยานพิ นธอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (TKC e-Theses) :
จดั ทาข้ึนโดยศูนยก์ ลางความรู้แห่งชาติ โดยไดร้ วบรวม
ขอ้ มลู วทิ ยานิพนธพ์ ร้อมบทคดั ยอ่ จากสถาบนั การศึกษาท้งั
ภายในและต่างประเทศ ตลอดจนงานวิจยั ต่าง ๆ เพื่อ
ใหบ้ ริการและเผยแพร่ในการนาไปใชป้ ระโยชนจ์ ากองค์
ความรู้

ปริญญานพิ นธ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (SWU e-Theses) : ปริญญา
นิพนธอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ฉบบั เตม็ (Full Text) ของ
สานกั หอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ

คลงั ปัญญาจุฬาฯ (CUIR : Chulalongkorn University
Institutional Repository) : ฐานขอ้ มลู วทิ ยานิพนธแ์ ละ
งานวจิ ยั ของนิสิตและคณาจารยจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ให้
ขอ้ มลู สาระสงั เขปในเบ้ืองตน้

Mahidol e-Thesis : วิทยานิพนธ์อิเลก็ ทรอนิกส์ฉบบั เตม็ ของ
สานกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั มหิดล จานวนไม่ต่ากวา่ 1,000
รายการ จาแนกตามคณะและสาขาวิชา ครอบคลมุ สาขาวชิ า
วทิ ยาศาสตร์สุขภาพ, วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย,ี ดนตรี,
สงั คมศาสตร์และภาษาศาสตร์

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
108

รหสั :

ฐานข้อมูล CMU e-Theses มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ :
ฐานขอ้ มลู วทิ ยานิพนธ์อิเลก็ ทรอนิกส์ สืบคน้ เอกสารฉบบั
เตม็ (Full Text) จากวทิ ยานิพนธแ์ ละการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ
ของมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ต้งั แต่ปี 2524-2549

ฐานข้อมลู CMU e-Research มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ :
ฐานขอ้ มลู งานวจิ ยั อิเลก็ ทรอนิกส์ (CMU e-Research) สืบคน้
เอกสารฉบบั เตม็ (Full Text) และบทคดั ยอ่ (Abstract) จาก
งานวจิ ยั ของอาจารยแ์ ละบุคลากรมหาวิทยาลยั เชียงใหม่

ฐานข้อมลู วทิ ยานพิ นธ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ : ฐานขอ้ มลู วทิ ยานิพนธ์
อิเลก็ ทรอนิกส์ สืบคน้ เอกสารฉบบั เตม็ (Full Text) และ
บทคดั ยอ่ (Abstract) จากวิทยานิพนธ์ งานวิจยั ของคณาจารย์
และ นกั ศึกษาระดบั ปริญญาโทและปริญญาเอกของ
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์

ฐานข้อมูลวทิ ยานพิ นธ์ออนไลน์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร :
ฐานขอ้ มลู วทิ ยานิพนธอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ สืบคน้ เอกสารฉบบั
เตม็ (Full Text) และบทคดั ยอ่ (Abstract) จากวทิ ยานิพนธ์
ของนกั ศึกษาระดบั ปริญญาโทและปริญญาเอกของ
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

ฐานข้อมูล DCMS มหาวทิ ยาลยั บูรพา : ฐานขอ้ มลู
วทิ ยานิพนธ์อิเลก็ ทรอนิกส์ สืบคน้ เอกสารฉบบั เตม็ (Full
Text) และบทคดั ยอ่ (Abstract) จากวิทยานิพนธ์ งานวิจยั ของ
คณาจารยแ์ ละ นกั ศึกษาระดบั ปริญญาโทและปริญญาเอก
ของมหาวิทยาลยั บูรพา

ฐานข้อมลู e-Theses มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง : ฐานขอ้ มลู
วิทยานิพนธแ์ ละงานวจิ ยั อิเลก็ ทรอนิกส์ มหาวิทยาลยั
รามคาแหง ใหข้ อ้ มลู บทคดั ยอ่ และเอกสารฉบบั เตม็
ครอบคลมุ เน้ือหาทุกสาขาวิชาท่ีมีการเรียนการสอนภายใน
มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
109

รหสั :

ฐานข้อมูล e-Theses มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช :
ฐานขอ้ มลู วิทยานิพนธอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ใหข้ อ้ มลู บทคดั ยอ่
และเอกสารฉบบั เตม็ ครอบคลมุ เน้ือหาทุกสาขาวชิ าที่มีการ
เรียนการสอนภายในมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช

ฐานข้อมลู e-Theses มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม : ฐานขอ้ มลู
วทิ ยานิพนธอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ใหข้ อ้ มลู บทคดั ยอ่ และเอกสาร
ฉบบั เตม็ ครอบคลุมเน้ือหาทุกสาขาวชิ าท่ีมีการเรียนการ
สอนภายในมหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ฐานข้อมูล DCMS มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี : ฐานขอ้ มลู
วทิ ยานิพนธ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ใหข้ อ้ มลู บทคดั ยอ่ และเอกสาร
ฉบบั เตม็ ครอบคลุมเน้ือหาทุกสาขาวิชาที่มีการเรียนการ
สอนภายในมหาวิทยาลยั อุบลราชธานี

ฐานข้อมลู e-Theses มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย : ฐานขอ้ มลู
วทิ ยานิพนธอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ใหข้ อ้ มลู บทคดั ยอ่ และเอกสาร
ฉบบั เตม็ ครอบคลมุ เน้ือหาสาขาการบริหารธุรกิจ (BBA,
MBA, DBA) และสาขาอื่นๆของมหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย

ฐานข้อมูล e-Theses มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม : ฐานขอ้ มลู
วิทยานิพนธ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ใหข้ อ้ มลู บทคดั ยอ่ และเอกสาร
ฉบบั เตม็ ครอบคลุมเน้ือหาทุกสาขาวชิ าท่ีมีการเรียนการ
สอนภายในมหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม

Australasian Digital Theses Program : ฐานขอ้ มลู
วิทยานิพนธ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ใหข้ อ้ มลู บทคดั ยอ่ และเอกสาร
ฉบบั เตม็ ครอบคลุมเน้ือหาทุกสาขาวชิ าท่ีมีการเรียนการ
สอนของมหาวิทยาลยั ภายในประเทศออสเตรเลีย

The UK Statute Law Database : ฐานขอ้ มลู ดา้ นกฎหมาย
ของสหราชอาณาจกั ร

ฐานข้อมลู ผลงานวจิ ยั กรมวชิ าการเกษตร : สืบคน้ บทคดั ยอ่
ผลงานวิจยั สาขาเกษตรศาสตร์ของกรมวชิ าการเกษตร

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
110

รหสั :

ฐานข้อมูลวทิ ยานิพนธ์ไทย (STKS) : โดยศูนยบ์ ริการความรู้
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ฐานข้อมลู งานวจิ ยั ไทย : รวมงานวจิ ยั จานวนประมาณ
80,000 ชื่อเรื่อง ของ 4 หน่วยงาน คือ สานกั งานพฒั นา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช), สานกั งาน
กองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว), สถาบนั วิจยั ระบบ
สาธารณสุข และสานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ

ห้องสมดุ สานักงานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั : รวมงานวจิ ยั
ระดบั ชาติหลากหลายสาขาวชิ า ซ่ึงไดร้ ับการสนบั สนุนการ
วิจยั จากสานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั

ห้องสมุดงานวจิ ยั สานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ
(วช.) : หอ้ งสมดุ งานวิจยั ในศนู ยข์ อ้ สนเทศการวิจยั
สานกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ(วช.) ภายใตส้ ภาวจิ ยั
แห่งชาติ เป็นศูนยก์ ลางตามมติคณะรัฐมนตรีในการรวบรวม
และเผยแพร่รายงานวิจยั วทิ ยานิพนธ์ และขอ้ มลู งานวจิ ยั
ของประเทศ

ศูนย์บริการเอกสารการวจิ ยั แห่งประเทศไทย

ฐานข้อมูลการวจิ ยั การศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ

ฐานข้อมูลงานวจิ ยั ทางชาตพิ นั ธ์ุ : รวบรวมขอ้ มลู งานวิจยั ที่
เป็นการศึกษาเก่ียวกบั กลุ่มชาติพนั ธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย
และเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

ห้องสมุดสถาบันวจิ ยั ระบบสาธารณสุข

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
111

รหสั :

ฐานข้อมลู วจิ ยั ด้านแรงงาน
ที่มา: http://www.lib.ru.ac.th/libthai.html และ http://stang.sc.mahidol.ac.th/

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
112

รหัส :

UTQ online e-Training Course
ใบความรู้ที่ 7.3

เรื่อง “เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศเบอื้ งต้น”
โครงการยกระดบั คุณภาพครูท้งั ระบบ ภายใตป้ ฏิบตั ิการไทยเขม้ แขง็
(Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

การสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง ความพยายามของบุคคลในการคน้ หาใหไ้ ดม้ าซ่ึงสารสนเทศท่ี

ตอ้ งการ โดยใชเ้ คร่ืองมือสืบคน้ ดว้ ยมือ หรือเทคโนโลยี ความสาเร็จในการสืบคน้ โดยทวั่ ไป มกั ข้ึนกบั
กลยทุ ธ์และเทคนิคการสืบคน้ ที่ใช้ ทกั ษะในการใชเ้ คร่ืองมือสืบคน้ ต่างๆ รวมท้งั ความรู้ความเขา้ ใจ
เกี่ยวกบั ประเภทของสารสนเทศ ผสู้ ืบคน้ จะเขา้ ถึงแหล่งที่จดั เกบ็ และใหบ้ ริการสารสนเทศและ
ทรัพยากรสารสนเทศที่ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และตรงตามความตอ้ งการ

หอ้ งสมุดจดั การ ผใู้ ชส้ ารสนเทศ ผใู้ ชไ้ ดท้ รัพยากร
ทรัพยากรสารสนเทศ กาหนดคาหรื อ สารสนเทศตรงความ
ข้อความท่ีตอ้ งการคน้
ตอ้ งการ

ช่ือผแู้ ตง่ หวั เร่ือง/คาคน้ - ชื่อเร่ือง /
- ช่ือหนงั สือ

ช่ือผแู้ ตง่

การกาหนดรายการบรรณานุกรมเพ่อื ให้ผใู้ ชบ้ ริการสามารถเขา้ ถึงทรัพยากรสารสนเทศตา่ ง ๆ ไดน้ ้นั

ความหมายเคร่ืองมือสืบค้นสารสนเทศ
เครื่องมือสืบคน้ สารสนเทศ หมายถึง เคร่ืองมือและรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆท่ีอานวยความสะดวก

แก่ผใู้ ชใ้ นการสืบคน้ รายการสารสนเทศท่ีตอ้ งการไดอ้ ยา่ งรวดเร็วทนั ความตอ้ งการโดยทว่ั ไปเคร่ืองมือ
สืบคน้ สารสนเทศจะใหร้ ายละเอียด เพ่อื การเขา้ ถึงทรัพยากรสารสนเทศ ดงั น้ี

 ขอ้ มูลบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ตีพมิ พแ์ ละไม่ตีพิมพเ์ ช่น
ชื่อผเู้ ขียน ช่ือหนงั สือ หรือช่ือบทความ คร้ังที่พมิ พ์ สานกั พมิ พ์ ปี พมิ พ์ จานวนหนา้ เป็นตน้

 ขอ้ มูลดรรชนีและสาระสังเขปบทความในวารสารและหนงั สือพมิ พ์ เช่น
ชื่อผเู้ ขียนบทความ ชื่อบทความ ช่ือวารสาร ปี ที่ ฉบบั ที่ หนา้ ท่ีตีพมิ พ์ เป็นตน้ และบางเคร่ืองมือให้
ขอ้ มลู เน้ือหายอ่ ดว้ ย (สาระสังเขป)

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
113

รหสั :

 ขอ้ มลู เน้ือหาฉบบั เตม็ (Full Text) ขอ้ มลู เน้ือหาฉบบั เตม็ โดยทวั่ ไปมกั เป็นการ

สืบคน้ วารสารอิเลก็ ทรอนิกส์ นกั ศึกษาจะไดข้ อ้ มลู ท่ีมีลกั ษณะเน้ือหาฉบบั เตม็ คือมีเน้ือหาของบทความ

ที่นาไปใชป้ ระโยชน์ไดท้ นั ที รวมถึงขอ้ มูลบรรณานุกรมของบทความวารสาร

 ขอ้ มูลส่ือประสม (Multimedia) เป็นขอ้ มูลที่ประกอบดว้ ยขอ้ ความ ภาพน่ิง

ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ขอ้ มลู ในลกั ษณะน้ีส่วนใหญเ่ ป็นขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการศึกษาคน้ สารานุกรม

ออนไลน์ หรือเป็นขอ้ มูลที่อยใู่ นแผน่ ซีดีรอม ตวั อยา่ งขอ้ มลู สื่อประสมจากฐานขอ้ มูลสารานุกรม

ออนไลนช์ ื่อ Grolier Multimedia Encyclopedia

ประเภทของเคร่ืองมือสืบค้น

เคร่ืองมือคน้ สารสนเทศจาแนกเป็น 2 ประเภทใหญๆ่ ดงั น้ี

1. เคร่ืองมือสืบคน้ สารสนเทศดว้ ยมือ หมายถึง เครื่องมือสืบคน้ ที่บนั ทึกรายละเอีย ด

ของรายการสารสนเทศไวใ้ นรูปแบบท่ีผใู้ ชต้ อ้ งสืบคน้ ดว้ ยมือ ส่วนใหญม่ กั บนั ทึกในรูปแบบสิ่งตีพมิ พ์

เช่น บตั รรายการ (Card catalog) หรือมีลกั ษณะเป็นเล่ม (Book catalog)

2. เคร่ืองมือสืบคน้ สารสนเทศดว้ ยเทคโนโลยี หมายถึงเคร่ืองมือสืบคน้ ที่บนั ทึก

รายละเอียดของรายการสารสนเทศไวใ้ นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์โดยใชเ้ ทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ในการ

บนั ทึกและสืบคน้ สารสนเทศทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถสืบคน้ สารสนเทศไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและครอบคลุม

ประเด็นหวั ขอ้ ที่ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งลึกซ้ึงกวา้ งขวาง

ปัจจุบนั แนวโนม้ การใชเ้ คร่ืองมือสืบคน้ ดว้ ยเทคโนโลยใี นหอ้ งสมุดและแหล่งใหบ้ ริการ

สารสนเทศตา่ งๆ เพิ่มมากข้ึนตามความกา้ วหนา้ ของวทิ ยาการทางเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ปัจจุบนั น้ี

เคร่ืองมือสืบคน้ รูปแบบน้ีไดเ้ ขา้ มาแทนท่ีเคร่ืองมือสืบคน้ ดว้ ยมือมากข้ึน

เคร่ืองมือสืบคน้ สารสนเทศดว้ ยเทคโนโลยที ่ีใชอ้ ยา่ งแพร่หลายในหอ้ งสมุดและแหล่ง

ใหบ้ ริการสารสนเทศ จาแนกเป็น 4 ประเภทยอ่ ย ดงั น้ี

1. OPAC ยอ่ มาจากคาวา่ Online Public Access Catalog หรือบางคร้ังอาจเรียกวา่ Online

Catalog เป็นเครื่องมือท่ีบนั ทึกรายละเอียดขอ้ มลู บรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่มีในหอ้ งสมุด

ไวใ้ นฐานขอ้ มูลดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ในรูปแบบที่ตอ้ งใชเ้ คร่ืองอ่าน (Machine-readable format) และ

ใหผ้ สู้ ืบคน้ สารสนเทศแบบเช่ือมตรงกบั ฐานขอ้ มูลจากเครื่องคอมพวิ เตอร์ที่เรียกวา่ Terminal หรือ

workstation ซ่ึงผใู้ ชส้ ามารถป้ อนคาสาคญั หรือหวั เรื่องท่ีตอ้ งการสืบคน้ และแสดงผลการสืบคน้ ไดท้ าง

จอภาพ

2. ฐานขอ้ มูลออนไลน์ (Online Database) เป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศอยา่ งเป็นระบบ เพื่อ

ความสะดวกในการจดั เก็บและคน้ คืนสารสนเทศ ใหร้ ายละเอียดทางบรรณานุกรม บทคดั ยอ่ และหรือ

เน้ือหาเตม็ (Full-text) เอกสารอา้ งอิง ของส่ิงพมิ พป์ ระเภทตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็นหนงั สือ บทความวารสาร

งานวจิ ยั วทิ ยานิพนธ์ ฯลฯ

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
114

รหสั :

3. CD-ROM โดยทว่ั ไปมกั ใช้ CD-ROM เป็นเคร่ืองมือท่ีใชส้ ืบคน้ ฐานขอ้ มลู บรรณานุกรม

(Bibliographic database) และหรือขอ้ มูลเน้ือหาเตม็ (Fulltext) ส่วนมากจะเป็นบทความวารสาร

ภาษาตา่ งประเทศ รายงานการประชุมทางวชิ าการ รายงานการวจิ ยั บทวจิ ารณ์หนงั สือหรือสิ่งพิมพ์

อื่นๆที่เป็นภาษาตา่ งประเทศ ส่วนมากซีดี-รอม 1 ช่ือมกั รวบรวมขอ้ มูลเนน้ เฉพาะทางใดทางหน่ึง เช่น

Agricola รวบรวมขอ้ มูลทางดา้ นการเกษตร ERIC รวมรวมขอ้ มลู ในสาขาการศึกษา เป็นตน้ ซ่ึงแต่

เดิมฐานขอ้ มูลซีดี-รอมใหบ้ ริการเฉพาะในรูปของแผน่ ซีดี –รอมเทา่ น้นั แต่ในปัจจุบนั มีผผู้ ลิตบาง

รายได้ ใหบ้ ริการออนไลนผ์ า่ นเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ตดว้ ย ซ่ึงเป็นการอานวยความสะดวกในการสืบคน้

ขอ้ มลู อีกทางหน่ึง

4. เคร่ืองมือสืบคน้ บน Internet จะช่วยใหก้ ารเขา้ ถึงสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตเป็นไปไดต้ รง

ต่อความตอ้ งการอยา่ งง่ายและสะดวก มีอยู่ 3 ประเภทไดแ้ ก่ นามานุกรม กลไกการสืบคน้ และกลไก

การสืบคน้ ที่ทางานร่วมกนั หลายกลไก ท้งั น้ี ผใู้ ชต้ อ้ งทราบ URL (Uniform Resource Locator) หรือที่

อยทู่ าง Internet ของ Web ท่ีตอ้ งการสืบคน้ เพือ่ ใชใ้ นในการเขา้ ถึง Web น้นั ๆได้ รวมท้งั ใหข้ อ้ มูลสื่อ

ประสม (Multimedia) ดว้ ย โดยเฉพาะการสืบคน้ ขอ้ มูลพจนานุกรม สารานุกรม และดรรชนีวารสาร

หอ้ งสมุดท่ีทนั สมยั ส่วนใหญ่ในปัจจุบนั มกั จดั บริการเคร่ืองมือสืบคน้ สารสนเทศหลกั

ใหแ้ ก่ผใู้ ช้ คือ OPAC โดยเฉพาะในรูปแบบ WebPac ซ่ึงนอกจากผใู้ ชจ้ ะสามารถสืบคน้ ทรัพยากร

สารสนเทศท่ีมีในหอ้ งสมุดแห่งน้นั ๆ แลว้ ผใู้ ชย้ งั สามารถเขา้ ถึงและสืบคน้ สารสนเทศอ่ืนๆไดจ้ าก CD-

ROM หรือ Search Engines ตลอดจนสามารถสืบคน้ รายการทรัพยากรสารสนเทศท่ีมีในหอ้ งสมุดอื่นๆ

โดยผา่ นทาง WebPac ไดด้ ว้ ย

การสืบค้นด้วยคาสาคัญ

การสืบคน้ ดว้ ยคาสาคญั เป็นการสืบคน้ โดยใชค้ าท่ีโปรแกรมคน้ หาจดั ทาดรรชนี และเก็บไว้

ในรูปฐานขอ้ มลู ซ่ึงมีความแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะโปรแกรม เวบ็ ไซตท์ ่ีบริการเคร่ืองมือสืบคน้ ดว้ ยวธิ ีน้ี

ที่รู้จกั กนั ดี เช่น Google (www.google.com) และ Lycos (www.lycos.com) เป็นตน้ โปรแกรมคน้ หา

แตล่ ะโปรแกรมมีขอ้ ดีและขอ้ จากดั แตกต่างกนั ผใู้ ชค้ วรทราบวา่ โปรแกรมคน้ หา ท่ีใชเ้ นน้ การทา

ดรรชนีประเภทใด มีการใหน้ ้าหนกั สารสนเทศแต่ละเร่ืองอยา่ งไร และควรใชม้ ากกวา่ หน่ึงโปรแกรม

เพอื่ ใหส้ ืบคน้ สารสนเทศสมบรู ณ์ยง่ิ ข้ึน นอกจากน้ี ผใู้ ชท้ ่ีสนใจสามารถติดตามความเคล่ือนไหวและ

ศึกษาเก่ียวกบั โปรแกรมคน้ หาแตล่ ะช่ือไดจ้ าก www.searchengines.com และเวบ็ ไซตอ์ ่ืน ๆ ท่ี

คลา้ ยคลึงกนั

ตวั อย่างโดเมนเนม หรือ ชื่อเร่ือง (Domain Name) ช่วยใหผ้ ใู้ ชร้ ู้วา่ เป็นเวบ็ ไซตส์ ังกดั

หน่วยงานใด

.gov (government) หมายถึง หน่วยงานของรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา

.go.th (government หมายถึง หน่วยงานของรัฐบาลไทย

Thailand)

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
115

รหสั : หมายถึง หน่วยงานสถาบนั อุดมศึกษาของสหรัฐ
หน่วยงานสถาบนั อุดมศึกษาไทย
.edu (education) องคก์ รอื่น ๆ ของสหรัฐ
กลุ่มองคก์ รอื่น ของไทย
.ac.th (academic Thailand) หมายถึง
กลุ่มองคก์ รธุรกิจการคา้
.org (organizatons) หมายถึง กลุ่มธุรกิจการคา้ ของไทย

.or.th (organization หมายถึง กลุ่มเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กลุ่มหน่วยงานระหวา่ งประเทศ
Thailand) หน่วยงานทางทหารของสหรัฐ

.com (commercial) หมายถึง

.co.th (commercial หมายถึง

Thailand)

.net (network services) หมายถึง

.int (International) หมายถึง

.mil (Military) หมายถึง

ตัวอย่างเวบ็ ไซต์สาหรับค้นหาข้อมูลบนอนิ เทอร์เน็ต

1. Search Engine และ Directory

ชื่อ URL
Google
Yahoo http://www.google.com
AllTheWeb http://www.yahoo.com
Altavista http://www.alltheweb.com
MSN Search http://www.altavista.com
http://www.search.msn.com

2. Meta search Engine URL
ชื่อ
http://www.dogpile.com
Dogpile http://www.mamma.com
Mamma http://www.surfwax.com
SurfWax http://www.clusty.com
Clusty

3. Multimedia Search Engine : รูปภาพ เสียงและวดิ ีโอ

ชื่อ URL หมายเหตุ
คน้ หาไฟลเ์ สียง
Findsound http://www.foundsounds.com คน้ หารูปภาพ
คน้ หารูปภาพ
Ditto http://www.ditto.com คน้ หารูปภาพหรือเสียงจาก
tab ท่ีอยดู่ า้ นบนของคาคน้
Picsearch http://www.picsearch.com

Altavista/Alltheweb/Google altavista.com,

alltheweb.com,google.com

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
116

รหสั :

การค้นหาข้อมูลข้ันสูงของ Search Engine

ตวั ดาเนินการ หน้าที่ ตัวอย่าง
Text: แสดงหนา้ ท่ีมีคาน้นั ในส่วนใดส่วนหน่ึงภายในเน้ือหาของหนา้ Text: biology
ยกเวน้ ส่วนของ image tag, link และ url
Title: แสดงหนา้ ที่มีคาหรือวลีที่คน้ หาอยใู่ นส่วนของช่ือ (title) Title: MWIT School
url: แสดงหนา้ ท่ีมีคาคน้ หาในเวบ็ (url) url: MWIT
Link: แสดงหนา้ ท่ีเชื่อมโยงไปยงั url กาหนด Link: mwit.ac.th
Anchor: แสดงหนา้ ท่ีมีคาคน้ ท่ีเป็น hyperlink ท่ีเชื่อมโยงมายงั หนา้ ที่ Anchor: Click here
กาหนด to visit MWIT
Related: แสดงหนา้ ท่ีคลา้ ยกบั url ท่ีกาหนด Related: mwit.ac.th
Image: แสดงหนา้ ท่ีมีรูปภาพซ่ึงมีไฟลต์ รงกบั คาที่คน้ Image: mwit
File type: จากดั ผลลพั ทข์ องหนา้ ท่ีชนิดของไฟลท์ ่ีกาหนด File type: pdf
Defined: คน้ หาความหมายของคาที่ตอ้ งการ Defined: vocabulary
Host: แสดงหนา้ ที่อยใู่ นเครื่อง host computer เคร่ืองใดเครื่อง Host: mwit.ac.th
หน่ึง

ตัวอย่างการคานวณทางคณติ ศาสตร์ด้วย Google

ตัวดาเนนิ การ หน้าที่ ตวั อย่าง

+,-,*,/ บวก, ลบ, คูณ, หาร 10+5, 10-5,10*5, 10/5
^ ยกกาลงั 10 ^ 5
% of
X เปอร์เซนต์ Y 10% of 500
th root of รากท่ี...ของ... 5th root of 32
sqrt Square root
คานวณเชิงตรีโกณมิติ sqrt(9)
sin,cos,etc. tan(45 degrees)
! factorial
5!

บริการอน่ื ๆ ของGoogle http://www.google.com/translate_t
Google Translate http://books.google.com/
Google Books http://scholar.google.com
Google Scholar http://www.google.com
Google VDO http://www.google.com
Google Directory http://googleblog.blogspot.com/
Google Blog

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
117

รหัส :

การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศจากบตั รรายการ

หอ้ งสมุด โรงเรียนบาง แห่ง ยงั มีการจดั ทาบตั รรายการหนงั สือและทรัพยากรสารสนเทศไว้

เพื่ออานวยความสะดวกในการคน้ หา หนงั สือ ฉะน้นั ถา้ ผใู้ ชต้ อ้ งการทราบวา่ หอ้ งสมุดมีทรัพยากร

สารสนเทศน้นั หรือไม่ ใหค้ น้ หาจากบตั รรายการวธิ ีใชบ้ ตั รรายการที่ถูกตอ้ งคือ

1. ใชบ้ ตั รผแู้ ตง่ เม่ือทราบช่ือผแู้ ตง่ หรือ ผแู้ ตง่ ร่วม ผแู้ ปล บรรณาธิการ ผรู้ วบรวม

ผวู้ าดภาพประกอบ ชื่อนิติบุคคลและบตั รโยงชื่อนิติบุคคล

2. ใชบ้ ตั รชื่อเรื่อง เม่ือทราบชื่อเร่ืองหรือช่ือชุดของหนงั สือ สาหรับบตั รหลกั ที่ลงช่ือเร่ืองเป็น

รายการหลกั และลงรายการแบบยอ่ หนา้ คาคา้ งกเ็ รียงอยใู่ นลิ้นชกั บตั รช่ือเร่ือง

3. ใชบ้ ตั รเร่ือง เมื่อไม่ทราบชื่อผแู้ ต่งและชื่อเรื่องของหนงั สือ ใหค้ ิดคาที่ครอบคลุมเน้ือหา ของ

หนงั สือท่ีตอ้ งการซ่ึงจะพบไดใ้ นลิ้นชกั บตั รเร่ือง
4. หากไมพ่ บบตั รท่ีตรงกบั ขอ้ มูลท่ีมีแสดงวา่ หอ้ งสมุดไม่มีหนงั สือเร่ืองน้นั หากพบ

บตั รรายการที่ตอ้ งการ ใหจ้ ดเลขเรียกหนงั สือจากมุมซา้ ยบนของบตั ร เพอ่ื นาไปคน้ หาหนงั สือจากช้นั

หนงั สือ หา้ มดึงบตั รรายการออกจากลิ้นชกั โดยเดด็ ขาด
5. เมื่อใชบ้ ตั รรายการเสร็จแลว้ ใหน้ าลิ้นชกั บตั รรายการเกบ็ เขา้ ตบู้ ตั ร โดยเรียงหมายเลขประจา
ลิ้นชกั บตั รรายการใหถ้ ูกตอ้ งตามลาดบั

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
118

รหัส :

UTQ online e-Training Course
ใบความรู้ที่ 7.4

เรื่อง “การสื่อสารในงานบริการสารสนเทศ”
โครงการยกระดบั คุณภาพครูท้งั ระบบ ภายใตป้ ฏิบตั ิการไทยเขม้ แขง็
(Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

ความหมายของการส่ือสาร

สวนิต ยมาภยั (2531: 18) ใหค้ วามหมายของการส่ือสารวา่ หมายถึง การนาเรื่องราวต่างๆ ท่ี
เป็นขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็น หรือ ความรู้สึกโดยอาศยั เครื่องมือนาไปโดยวธิ ีการใดวธิ ีหน่ึงใหไ้ ปถึง
จุดหมายปลายทางที่ตอ้ งการ จนทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ความหมายแห่งเร่ืองราวเหล่าน้นั ร่วมกนั ได้

สนิท สัตโยภาส (2542 : 2) หมายถึง กระบวนการที่มนุษยถ์ ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก
และประสบการณ์ตลอดจนขา่ วสารขอ้ มลู ตา่ งๆ ใหก้ นั และกนั โดยผา่ นทางสัญลกั ษณ์ ต่าง ๆ จนรู้
เรื่องราวเหล่าน้นั ร่วมกนั

ความสาคญั ของการส่ือสารในงานบริการสารสนเทศ

ในปัจจุบนั เทคโนโลยสี ารสนเทศไดเ้ ขา้ มามีบทบาทสาคญั ในการดาเนินงานหอ้ งสมุด หรือการ
สืบคน้ ขอ้ มลู ที่อยบู่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการสื่อสารท่ีเหมาะสมกบั หอ้ งสมุด
นบั เป็นกลจกั รสาคญั ในการส่ือสารในงานบริการสารสนเทศที่สามารถทาใหผ้ ใู้ ชห้ อ้ งสมุดเขา้ ถึง
สารสนเทศไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเร็ว และก่อใหเ้ กิดความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ ริการ
การส่ือสารมีความสาคญั ต่อการปฏิบตั ิงานของบุคลากรในหอ้ งสมุด และการมีปฏิสมั พนั ธ์กบั
สถาบนั ชุมชน และสงั คมภายนอก การดาเนินงานบริการสารสนเทศเพ่อื เสริมสร้างความเขา้ ใจทาให้
การดาเนินงานหอ้ งสมุดบรรลุเป้ าหมาย/วตั ถุประสงคท์ ี่ตอ้ งการได้ หอ้ งสมุดสามารถปรับเปล่ียนใหท้ นั
กบั ยคุ ขอ้ มูลขา่ วสาร และสงั คมยคุ เทคโนโลยที ่ีกาลงั เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วไดห้ อ้ งสมุดมีภาระงานที่
ตอ้ งรับผดิ ชอบหลายดา้ นดว้ ยกนั เช่น บริการยมื –คืน บริการวารสารและหนงั สือพิมพ์ บริการส่ือ
โสตทศั นวสั ดุ บริการตอบคาถามและช่วยการคน้ ควา้ เป็นตน้ ซ่ึงงานบริการในลกั ษณะดงั กล่าว ผู้
ใหบ้ ริการตอ้ งมีปฏิสัมพนั ธ์โดยตรงกบั ผใู้ ชบ้ ริการในการเขา้ มาใชบ้ ริการ ผใู้ ชบ้ ริการมกั จะมีความ
คาดหวงั ในการเขา้ มาใชบ้ ริการจากบรรณารักษ์ แต่ในบางคร้ังพบวา่ ผใู้ หบ้ ริการไม่สามารถทาตาม
ความคาดหวงั ของผใู้ ชบ้ ริการไดใ้ นทุกๆ เรื่อง ท้งั น้ีอาจเป็นเพราะปัญหาในการส่ือสารกนั ระหวา่ งผู้
ใหก้ บั ผใู้ ชบ้ ริการที่เขา้ ใจคลาดเคล่ือน หรือสื่อสารไม่ตรงกนั กเ็ ป็นปัจจยั หน่ึงท่ีทาใหผ้ ใู้ ชไ้ ม่พงึ พอใจ
ต่อการบริการเทา่ ที่ควร จะเห็นไดว้ า่ ปัญหาท่ีเกิดข้ึน มาจากสาเหตุหลกั ของการการสื่อสารนน่ั คือ การ
ใหบ้ ริการสารสนเทศผา่ นช่องทางการส่ือสารระหวา่ งบุคคลต่อบุคคล หรือระหวา่ งบุคคลกบั กลุ่มคน

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
119

รหสั : สู่ความสาเร็จ ข้ึนอยกู่ บั ความสามารถของ

การสื่อสารกบั ผใู้ ชห้ อ้ งสมุดเป็นกุญแจไขไป

บรรณารักษใ์ นการฟัง และความสามารถในการรับข่าวสารท่ีไดย้ นิ ทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจ และโตต้ อบกบั

ผใู้ ช้ (ผอ่ งพรรณ ลวนานนท.์ 2547: 18)

จุดประสงค์ในการสื่อสาร

จุดประสงคโ์ ดยทว่ั ไปของการส่ือสาร มีดงั น้ี

1. เพือ่ ส่งขอ้ มลู ข่าวสาร ใหผ้ รู้ ับสารไดข้ อ้ มูลข่าวสาร หรือความรู้ ความเขา้ ใจ ทาใหผ้ รู้ ับสารมี

ความเขา้ ใจ ไดข้ อ้ มูลขา่ วสารมากข้ึน ช่วยในการตดั สินใจและแกป้ ัญหาได้

2. เพื่อถ่ายทอดความคิดโนม้ นา้ วใจ มุ่งสร้างเจตคติ ความน่าเช่ือถือ ความศรัทธาแก่ผรู้ ับสาร

การสื่อสารลกั ษณะน้ี ผสู้ ่งสารตอ้ งใชจ้ ิตวทิ ยาในการนาเสนอขอ้ มลู จูงใจใหน้ ่าเช่ือถือ ทาใหเ้ กิดการ

เปล่ียนแปลงพฤติกรรมของบุคลากร

3. เพอื่ สอน/ฝึกอบรม เป็นการช่วยเหลือบุคคลอื่นปฏิบตั ิตาม จะใหป้ ระสบความสาเร็จ

4. เพ่อื เป็นท่ีปรึกษา ใหค้ าแนะนาท่ีดี ช่วยใหบ้ ุคคลสามารถแกป้ ัญหาส่วนตวั ได้ เพื่อสร้างขวญั

และกาลงั ใจ

5. เพอื่ จรรโลงใจ ผรู้ ับสารจะเกิดความรู้ท่ีดีตอ่ ตนเอง ตอ่ สิ่งแวดลอ้ มและต่อสังคม

4. เพ่ือความบนั เทิง เพือ่ ผอ่ นคลายความเครียด เกิดความสุข ความรื่นรมยใ์ นการรับสาร เช่น

การฟังดนตรี การชมภาพยนตร์ การอา่ นหนงั สือ เป็นตน้

องค์ประกอบของการสื่อสาร

การสื่อสารน้นั เกิดข้ึนอยทู่ ุกขณะ หากเราอยตู่ ามลาพงั กเ็ ป็นการสื่อสารกบั ตนเอง เมื่อเราไดม้ ี

การสื่อสารกบั ผอู้ ่ืน จะดว้ ยคาพดู น้าเสียง หรือกิริยาทา่ ทาง ถา้ บุคลท่ีเราสื่อสารดว้ ยเกิดความเขา้ ใจ รับรู้

ไดถ้ ือวา่ มีการส่ือสารเกิดข้ึนแลว้ องคป์ ระกอบพ้นื ฐานของการสื่อสารคือ

ผสู้ ่งสาร สาร (Message) ผรู้ ับสาร
(Sender) (Receiver)

ไมว่ า่ จะเป็นการส่ือสารตวั ต่อตวั การสื่อสารกลุ่มยอ่ ย หรือการส่ือสารมวลชนยอ่ มประกอบไปดว้ ย
องคป์ ระกอบดงั กล่าวขา้ งตน้ ท้งั สิ้น

ปัญหาของการสื่อสารในงานบริการสารสนเทศ
ปัญหาของลกั ษณะของการสื่อสารในงานบริการสารสนเทศ มีดงั น้ี
1. การสื่อสารระหวา่ งคนกบั คน ผใู้ ชแ้ ละผใู้ หบ้ ริการสารสนเทศสามารถตอบโตก้ นั ได้

โดยตรง ซกั ถามขอ้ มลู เพ่ิมเติมได้ สงั เกตกริยาทา่ ทาง ท้งั สองฝ่ าย ผใู้ ชอ้ าจไม่ชอบวธิ ีการใชส้ ารสนเทศ
ท่ีเปลี่ยนแปลงไปจากวธิ ีเดิมที่เคยรู้จกั ใช้ และไม่ยอมรับในเร่ืองของการขาดความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
120

รหัส :

สารสนเทศท่ีตอ้ งการศึกษา นอกจากน้ี ผใู้ ชย้ งั ไมท่ ราบวา่ จะหาสารสนเทศท่ีตอ้ งการไดจ้ ากที่ใดบา้ ง ทา
ใหเ้ กิดความล่าชา้ ในการหาเอกสารอา้ งอิง เพ่ือแกป้ ัญหาเฉพาะเร่ืองไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ส่วนผใู้ หบ้ ริการอาจ
เขา้ ใจผใู้ ชไ้ มด่ ีพอและไม่ทราบความตอ้ งการท่ีแทจ้ ริงของผใู้ ช้

2. การสื่อสารระหวา่ งคนกบั เครื่องจกั ร ผใู้ ชไ้ ม่ทราบขีดความสามารถในการทางานของระบบ
การจดั เก็บและคน้ คืนสารสนเทศ รวมท้งั ไมท่ ราบวธิ ีการใชง้ านระบบ และปัญหาท่ีสาคญั อีกประการ
หน่ึงคือผใู้ ชย้ งั ไมม่ ีความรู้เก่ียวกบั วธิ ีการใชร้ ะบบคน้ คืนสารสนเทศที่จดั เก็บในฐานขอ้ มูล
อิเลก็ ทรอนิกส์ ซ่ึงผใู้ ชจ้ าเป็นตอ้ งไดร้ ับการฝึกอบรม ท้งั วธิ ีการใช้ และเทคนิควธิ ีการในการเขา้ ถึง
สารสนเทศ และตวั ระบบสารสนเทศตอ้ งออกแบบใหม้ ีลกั ษณะเป็นมิตรกบั ผใู้ ช้ ใชง้ ่ายและไมต่ อ้ งใช้
เวลามากเพอื่ เรียนรู้การใชง้ านระบบ

3. ภาษา เน่ืองจากสารสนเทศมีหลายภาษา โดยเฉพาะสารสนเทศที่ผลิตออก เพ่อื เผยแพร่
ความรู้ในแขนงวชิ าตา่ งๆ แมจ้ ะพยายามเผยแพร่ออกมาเป็นภาษาสากลคือ ภาษาองั กฤษ ซ่ึงปัญหาเรื่อง
ความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาจดั เป็นอุปสรรคสาคญั ในการเขา้ ถึงสารสนเทศเพอ่ื นามาใชป้ ระโยชน์ได้
อยา่ งเตม็ ท่ี ผใู้ หบ้ ริการและผใู้ ชอ้ าจตอ้ งใชท้ ้งั เวลา แรงงานและคา่ ใชจ้ ่ายในการถ่ายทอดสารสนเทศ
ออกมาเป็นภาษาท่ีเขา้ ใจ ซ่ึงบางคร้ังอาจไมท่ นั ต่อความตอ้ งการในขณะน้นั โดยเฉพาะการตดั สินใจทาง
ธุรกิจที่ตอ้ งอาศยั ขอ้ มูลที่รวดเร็วและเท่ียงตรง เพอ่ื การตดั สินใจที่ถูกตอ้ ง

4. การใชศ้ พั ทเ์ ฉพาะกลุ่มอาชีพ มกั ใชเ้ ฉพาะในกลุ่มนกั วชิ าการ นกั วจิ ยั จึงยากสาหรับบุคคล
ทว่ั ไปท่ีจะทราบถึงความหมายที่ผเู้ ขียนตอ้ งการส่ือสาร โดยเฉพาะศพั ทเ์ ฉพาะ ศพั ทท์ ี่สร้างข้ึนใหม่ คา
ยอ่ เป็นตน้

5. วฒั นธรรม ความแตกตา่ งดา้ นวฒั นธรรมเป็นอุปสรรคสาคญั ในการเรียนรู้และเขา้ ถึง
สารสนเทศท่ีมาจากแหล่งสารสนเทศต่างวฒั นธรรมกนั อาจทาใหก้ ารเขา้ ถึงเน้ือหาสารสนเทศทาไดย้ าก
ไมส่ ามารถนามาใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่

6. รูปแบบ การนาเสนอการทาความเขา้ ใจกบั สารสนเทศในบางเรื่อง บางคร้ังการอธิบายดว้ ย
ตวั อกั ษรอาจไม่ชดั เจนเทา่ กบั การนาเสนอดว้ ยภาพประกอบ นอกจากรูปแบบของเน้ือหาที่นาเสนอแลว้
รูปแบบของสื่อที่จดั เก็บจะส่งผลต่อการนาสารสนเทศมาใชป้ ระโยชน์ดว้ ยเช่นกนั เช่น สารสนเทศท่ี
จดั เกบ็ ในรูปของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ หากขาดอุปกรณ์ประเภทฮาร์ดแวร์หรือไม่มีไฟฟ้ าจะไม่สามารถนา
สารสนเทศท่ีจดั เกบ็ ไวม้ าใชง้ านได้

7. การผลิตเกินพกิ ดั การเกิดภาวะของสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ท้งั อยใู่ นรูปแบบบทความ
การตีพิมพซ์ ้าและสารสนเทศของตน้ ฉบบั เดิม ท้งั น้ีเน่ืองมาจากการทุม่ เทดา้ นการวจิ ยั พฒั นา ความ
ตอ้ งการสารสนเทศของนกั วจิ ยั สภาพเช่นน้ีก่อใหป้ ัญหาแก่ผใู้ ชส้ ารสนเทศท้งั ในการเขา้ ถึงและการ
เลือกใช้ คือ ผใู้ ชต้ อ้ งใชค้ วามพยายามและค่าใชจ้ า่ ยมากข้ึนเพือ่ ใหไ้ ดส้ ารสนเทศที่ตอ้ งการ เน่ืองจาก
สารสนเทศมีใหเ้ ลือกจานวนมากยากแก่การติดตามคน้ ควา้ อยา่ งทว่ั ถึง ปัญหาอีกประการหน่ึงคือความ
ลา้ สมยั ของสารสนเทศเพราะยงิ่ อตั ราการเพิม่ มากข้ึนเทา่ ไร อตั ราความลา้ สมยั กเ็ ร็วข้ึนเทา่ น้นั

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
121

รหัส :

8. เวลา สารสนเทศจะมีประโยชนต์ ่อผใู้ ชเ้ มื่อผใู้ ชไ้ ดร้ ับสารสนเทศทนั เวลาที่ตอ้ งการ สามารถ
นาไปใชไ้ ดถ้ ูกตอ้ ง ถูกที่และถูกเวลาโดยเฉพาะสารสนเทศที่ใชป้ ระกอบการตดั สินใจ ถา้ ไดข้ อ้ มูลท่ี
ถูกตอ้ งยอ่ มไดเ้ ปรียบ การดาเนินงานเก่ียวกบั สารสนเทศที่ล่าชา้ อาจเกิดจากการจดั พิมพ์ การแปล การ
ดาเนินงานดา้ นเทคนิค การคน้ คืน การจดั ส่งสารสนเทศและการประเมินค่าสารสนเทศ เป็นตน้

9. ค่าใชจ้ ่าย สารสนเทศท่ีดีและมีคุณภาพตอ้ งมีคา่ ใชจ้ า่ ยประกอบในการดาเนินงาน โดยเฉพาะ
ในปัจจุบนั มีการนาเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั เขา้ มาใชเ้ พอ่ื ใหก้ ารบริการมีประสิทธิภาพ แหล่งสารสนเทศจึง
ตอ้ งคิดคา่ บริการ รวมถึงค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนินงาน

10. ระยะทาง ปัจจุบนั ไดม้ ีการนาเทคโนโลยกี ารสื่อสารและโทรคมนาคมเขา้ มาใหบ้ ริการมาก
ข้ึน เพ่อื แกป้ ัญหาเรื่องระยะทางที่เป็นอุปสรรคสาคญั ในการเขา้ ถึงสารสนเทศ ช่วยใหผ้ ใู้ ชท้ ราบวา่
สารสนเทศท่ีตอ้ งการอยทู่ ี่ไหนสามารถเขา้ ถึงสารสนเทศท่ีตอ้ งการไดอ้ ยา่ งสะดวก

การเลอื กสื่อเพอื่ การส่ือสารในงานบริการสารสนเทศ
สื่อ ในท่ีน้ีหมายถึง ระบบหรือวธิ ีการที่คดั เลือกสื่อเพือ่ ใชใ้ นการส่งสารท้งั ภายในและภายนอก

การใชส้ ่ือหลาย ๆ อยา่ งจะเป็นสิ่งท่ีดีท่ีสุด เพราะการใชส้ ่ือมากกวา่ หน่ึงวธิ ีทาใหม้ นั่ ใจไดว้ า่ สารสาคญั
จะถูกส่งไปถึงผรู้ ับสารได้

ประเภทของสื่อเพอ่ื การสื่อสาร

ประเภทของสื่อเพื่อการสื่อสารภายในและภายนอกหอ้ งสมุด ไดแ้ ก่ ประกาศ ขอ้ แนะนา

ป้ ายประกาศ การจดั นิทรรศการ คูม่ ือการใช้ หรือคู่มือแนะนาการใช้ ขา่ วหรือการโฆษณาใน

หนงั สือพิมพ/์ นิตยสาร/โทรทศั น์ บทความ ป้ ายประกาศ โปสเตอร์ เอกสารแผน่ พบั ใบปลิว

จดหมายข่าว จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ โทรศพั ท์ เป็นตน้

การเลือกสื่อเพอื่ การสื่อสารในงานสารสนเทศน้นั ควรพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบจะช่วยทาใหก้ าร

ส่ือสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ การเลือกประเภทส่ือท่ีดีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ อาจจะเป็นส่วน

หน่ึงที่เพิม่ คุณคา่ หรือลดคุณค่าของการส่ือสารได้

อยา่ งไรกต็ ามปัจจยั สาคญั ที่มีส่วนช่วยให้บรรณารักษ์สามารถส่ือสารในงานบริการสารสนเทศ

ไดป้ ระสบผลสาเร็จน้นั นอกจากการสื่อสารแลว้ ผใู้ หบ้ ริการสารสนเทศ ควรมีคุณสมบตั ิเฉพาะ

ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ความคดิ เชิงวเิ คราะห์ เป็นผมู้ ีความคิดเชิงวเิ คราะห์สามารถใชค้ วามคิดพจิ ารณาสิ่งตา่ ง ๆ ได้

อยา่ งชดั เจนรอบคอบ

2. ความช่างสังเกต เป็นผชู้ ่างสงั เกตวา่ ผใู้ ชค้ นใดตอ้ งการความช่วยเหลือ แต่ไม่กลา้ เขา้ มา

ซกั ถาม หรือ ผใู้ ชค้ นใดตอ้ งการช่วยตนเองมากกวา่ ท่ีจะใหผ้ ใู้ หบ้ ริการคอยติดตามซกั ถาม หรือแสดง

ความช่วยเหลือ

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
122

รหัส :

3. ความคริ ิเริ่ม เป็นผมู้ ีจินตนาการดีและมีความคิดริเริ่มในการหาลู่ทางใหม่ ๆ ที่เหมาะสมใน

การใหบ้ ริการสารสนเทศ

4. ความอดทน มีความอดทนในการติดต่อกบั ผใู้ ชท้ ี่มีลกั ษณะตา่ ง ๆ ท้งั ผทู้ ่ีมีความสุภาพ

อ่อนโยน ผทู้ ี่มีความกา้ วร้าว หรือผทู้ ่ีมีปัญหาดา้ นอื่น

5. ความจาดี เป็นผมู้ ีความจาดี ท้งั ในดา้ นที่เกี่ยวขอ้ งกบั ผใู้ ช้ (ที่มาขอใหบ้ ริการสม่าเสมอ) วา่ มี

ความสนใจข่าวสารดา้ นใด ตลอดท้งั จาแหล่งสารสนเทศและคุน้ เคยกบั ทรัพยากรสารสนเทศที่อาจเป็น

ประโยชนต์ อ่ การใหบ้ ริการได้

6. ความคิดกว้างขวาง เป็นผมู้ ีความคิดกวา้ งขวาง ยอมรับฟังความคิดเห็นจากผรู้ ่วมงานและ

ผใู้ ชบ้ ริการ ตลอดท้งั เป็นผมู้ ีหูตากวา้ งไกลท่ีจะปรับปรุงตนเอง และปรับปรุงงานใหม้ ีคุณภาพดีข้ึน

7. ความมนี า้ ใจ เป็นผมู้ ีน้าใจต่อเพือ่ นร่วมงาน เมื่อผรู้ ่วมงานมีปัญหาตอ้ งคน้ ควา้ หาคาตอบท่ีตน

ทราบแหล่งคาตอบ ก็ควรใหค้ าแนะนา ไมป่ ล่อยใหเ้ พื่อนร่วมงานตอ้ งยงุ่ ยากคน้ หาใหม่ นอกจากน้ี ยงั

ไม่ควรกล่าวแก้ คาแนะนาของเพ่ือนร่วมงานท่ีกาลงั ใหค้ าปรึกษาแก่ผใู้ ชด้ ว้ ยวธิ ีที่จะทาใหเ้ กิดการเสีย

หนา้ ข้ึนได้ กล่าวคือ สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นได้

8. ใจรักบริการ เป็นผมู้ ีทศั นคติที่ดีตอ่ การบริการ มีใจรักท่ีจะทางาน ใหค้ วามช่วยเหลือแก่ผใู้ ช้

9. จรรยาในการทางาน เป็นผมู้ ีจรรยาในการทางานบริการ ไม่นาปัญหาของผใู้ ชไ้ ปบอกเล่าให้

ผอู้ ื่นฟังท้งั ในเชิงขบขนั หรือติเตียน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สาหรับผทู้ ่ีปฏิบตั ิงานในหน่วยบริการของ

หอ้ งสมุด ขอ้ มูลหรือสารสนเทศบางอยา่ งอาจเป็นสิ่งท่ียงั ไมค่ วรเปิ ดเผย เน่ืองจากเป็นเร่ืองส่วนตวั หรือ

อาจนาความลม้ เหลวมาสู่หน่วยงานที่หอ้ งสมุดน้นั ๆ สงั กดั อยไู่ ด้

10. ความรอบคอบ เป็นผมู้ ีความรอบคอบถ่ีถว้ นในการกาหนดแหล่งสารสนเทศท่ีผใู้ ชต้ อ้ งการ

11. ความศรัทธาต่อการศึกษา เป็นผมู้ ีความศรัทธาตอ่ การศึกษาวา่ เป็นสิ่งสาคญั ที่มีส่วนช่วย

ปรับปรุงคุณภาพชีวติ ของมนุษยใ์ หด้ ีข้ึน และมีความกระตือรือร้นในการใหบ้ ริการแก่ผใู้ ช้ ท้งั

โดยทางตรงและโดยทางออ้ มเพอื่ เตรียมการใหบ้ ริการสารสนเทศอยา่ งเตม็ ที่

12. ความยดื หย่นุ เป็นผมู้ ีความยดื หยนุ่ ไมต่ ิดยดึ กบั กฎเกณฑแ์ ละระเบียบจนเกินไป

ทาใหผ้ ใู้ ชไ้ มไ่ ดร้ ับความสะดวกในการใชบ้ ริการ

เน่ืองจากผใู้ หบ้ ริการสารสนเทศเป็นบุคลากรที่ทาหนา้ ที่ติดตอ่ ใกลช้ ิดกบั ผใู้ ชโ้ ดยตรง ทาหนา้ ที่

เป็นตวั กลางเช่ือมโยงระหวา่ งความตอ้ งการของผใู้ ชก้ บั แหล่งสารสนเทศ เพื่อช่วยใหผ้ ใู้ ช้

บริการไดร้ ับประโยชนอ์ ยา่ งเตม็ ท่ีจากทรัพยากรสารสนเทศทุกรูปแบบ บุคลากรดงั กล่าวจึงเป็น

องคป์ ระกอบสาคญั ที่จะก่อใหเ้ กิดภาพลกั ษณะอนั ดีงามของผใู้ ชต้ อ่ หอ้ งสมุด อีกท้งั ยงั ช่วยใหง้ านบริการ

สารสนเทศของหอ้ งสมุดบรรลุเป้ าหมายท่ีไดว้ างไวอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

ผทู้ ่ีจะปฏิบตั ิงานบริการสารสนเทศ จึงควรเป็นบุคคลท่ีมีคุณสมบตั ิและบุคลิกภาพโดยทวั่ ไปท่ี

เหมาะสมในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
123

รหัส :

1. การแต่งกาย เป็นผแู้ ตง่ กายเหมาะสม กล่าวคือ ไม่แตง่ ตวั มากไปหรือนอ้ ยไปจนดูไม่สุภาพ
ควรดูใหพ้ อเหมาะกบั สภาพของหน่วยงานตน้ สงั กดั ที่สถาบนั บริการสารสนเทศสังกดั อยู่ และเหมาะสม
กบั ประเภทของผใู้ ช้ เช่น เม่ือใหบ้ ริการในหอ้ งสมุดประชาชนในชนบท ผใู้ หบ้ ริการสารสนเทศควร
แตง่ ตวั แตพ่ อควร เพ่อื ใหผ้ ใู้ ชม้ ีความสบายใจ อยากที่จะเขา้ มาไตถ่ ามเม่ือมีคาถาม

2. ท่าทาง มีท่าทางท่ีเป็นมิตร ไม่ทาหนา้ บ้ึงเฉย ควรมีทา่ ทางที่น่าเขา้ ใกล้ ยมิ้ แยม้ แจ่มใส ยนิ ดี
รับคาถาม สบตากบั ผใู้ ช้ ไม่ทางานอื่นในขณะที่รอใหบ้ ริการ

3. ความมมี นุษยสัมพนั ธ์ เป็นผมู้ ีมนุษยสัมพนั ธ์ รู้จกั ใชก้ ิริยาท่าทางคาพดู และน้าเสียงที่เชิญ
ชวนการใชบ้ ริการ ท้งั น้ี เพ่ือสร้างใหเ้ กิดความเช่ือถือและความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งผใู้ ชก้ บั ผใู้ หบ้ ริการ
สารสนเทศ

4. ความกระตอื รือร้น มีความกระตือรือร้นในการตอบสนองขอ้ คาถามต่าง ๆ ของผใู้ ชอ้ ยา่ ง
ทนั ทว่ งทีไม่วา่ คาถามน้นั จะผา่ นมาทางไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์หรือเป็นคาถามที่ไดร้ ับโดยตรงจากผใู้ ช้
ทางโทรศพั ทห์ รือภายในสถาบนั บริการสารสนเทศ

5. ความเชื่อม่ันในตนเอง เป็นผมู้ ีความเชื่อมนั่ ในตนเองวา่ มีความรู้ความสามารถทางวชิ าชีพ
อยา่ งแมน่ ยาสามารถช่วยผใู้ ชไ้ ด้

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
124

รหัส :

UTQ online e-Training Course
ใบความรู้ท่ี 8.1

เร่ือง “การประเมนิ ผลงาน และทารายงานห้องสมุด”
โครงการยกระดบั คุณภาพครูท้งั ระบบ ภายใตป้ ฏิบตั ิการไทยเขม้ แขง็
(Upgrading Teacher Qualification Through the Whole System: UTQ)

ความหมายและความสาคัญของการตดิ ตามผล
การบริหารงานหอ้ งสมุด ผปู้ ฏิบตั ิงานหอ้ งสมุดตอ้ ง ติดตามประเมินผลและเขียนรายงานผลการ

ดาเนินงาน ใหผ้ บู้ ริหารทราบเพ่อื ผบู้ ริหารใชต้ รวจสอบวา่ หอ้ งสมุดไดป้ ฏิบตั ิงานตรงตามนโยบาย
มากนอ้ ยเพยี งใด ประสบผลสาเร็จเพียงใด และทาใหผ้ บู้ ริหารทราบปัญหาและหาทางแกไ้ ข

งานหอ้ งสมุดโรงเรียนมีหลายประเภท งานบางประเภทตอ้ งปฏิบตั ิเป็นประจาทุกวนั บาง
ประเภทปฏิบตั ิตามโอกาสที่เหมาะสม หากไม่มีการจดั เก็บสถิติเป็นประจาวนั และตอ่ เนื่องไปตลอดปี
จะไมม่ ีหลกั ฐานการปฏิบตั ิงานท่ีเป็นจริง และไมส่ ามารถรายงานผลการปฏิบตั ิงานตอ่ ผบู้ ริหารได้ การ
ประเมินผลงานหอ้ งสมุดเป็นงานสาคญั อีกอยา่ งหน่ึง เป็นสิ่งที่ควรนาเสนอรายงานใหผ้ บู้ ริหารทราบ
วา่ หอ้ งสมุดดาเนินการไดต้ ามมาตรฐาน หรือตามนโยบายท่ีควรจะเป็นเพยี งใด และใชเ้ ป็นขอ้ มูลสาคญั
ใชใ้ นการพิจารณาแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาหอ้ งสมุดใหไ้ ดม้ าตรฐานต่อไป
วตั ถุประสงค์ของการติดตามและประเมินผล

1. เพ่ือติดตามความกา้ วหนา้ และประเมินผลการดาเนินงานวา่ มีการดาเนินการไปตาม
ระยะเวลา และวตั ถุประสงค์ หรือเป้ าหมายที่กาหนดไวห้ รือไม่ มีปัญหา อุปสรรคอยา่ งไร เพือ่ นาไป
กาหนดแนวทางและมาตรการในการแกไ้ ขปัญหาต่างๆใหง้ านมีความกา้ วหนา้ จนสามารถบรรลุ
เป้ าหมายตามแผน ปฏิบตั ิราชการท่ีกาหนดไวอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

2. เพือ่ ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจของผบู้ ริหารในการเปล่ียนแปลงกลยทุ ธ์การ
ดาเนินงานหอ้ งสมุดท่ีเหมาะสมต่อไป

3. เพอ่ื ช่วยในการปฏิบตั ิงานใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานหอ้ งสมุดไดเ้ กิดการเรียนรู้ในกระบวนการ
ทางาน และสามารถพฒั นางานใหม้ ีประสิทธิภาพและไดม้ าตรฐาน
แนวทางการติดตามประเมนิ ผล มีแนวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี

1. กาหนดบุคลากรท่ีจะเป็นผปู้ ระเมินส่ิงที่ตอ้ งการ ควรมีคุณสมบตั ิน่าเชื่อถือ สามารถ
ดาเนินการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

2. กาหนดเป้ าหมายใหช้ ดั เจน จากประเภทบุคลากรท่ีตอ้ งการประเมินหรือปริมาณงานซ่ึง
ตอ้ งอยใู่ นเกณฑเ์ ดียวกนั

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
125

รหสั :

3. กาหนดวธิ ีการประเมิน เช่น สังเกต สัมภาษณ์ แบบสอบถามหรือเก็บสถิติใหเ้ หมาะสม
กบั ลกั ษณะงานและวตั ถุประสงค์

4. สร้างเคร่ืองใหม้ ือใหถ้ ูกตอ้ งกบั รูปแบบวธิ ีการท่ีจะประเมิน
5. รวบรวมขอ้ มูลใหค้ รบตามวธิ ีการตรงกบั วตั ถุประสงค์
6. วเิ คราะห์และแปลขอ้ มูล เพอ่ื นาไปดาเนินการประเมินหรือวจิ ยั
7. สรุปผล และทารายงานเพอ่ื นาเสนอต่อไป
แผนภูมิท่ี 1 ผงั การตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัติงาน

ยทุ ธศาสตร์ของกระทรวง

พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์สพฐ.ฯ เป้ าประสงค์
ตวั ช้ีวดั
กิจกรรมตาม นโยบาย/เป้ าหมาย ตวั ช้ีวดั
งบประมาณ ของสพฐฯ เป้ าหมาย
ผลผลิต
งบประมาณ
กิจกรรมหลกั
งบประมาณ

แผนงานสพฐ. แผนงาน/โครงการ ตวั ช้ีวดั เป้ าหมาย งบประมาณ

หมายย

ผลการดาเนินงาน

การประเมนิ ผลงานห้องสมุด
การประเมินผลในที่น้ีหมายถึง การตดั สินคุณคา่ ของผลงานวา่ มาก-นอ้ ย หรือ สูง-ต่า กวา่ เกณฑ์

มาตรฐานท่ีกาหนดไวเ้ พยี งใด ดงั น้นั การประเมินผลงานหอ้ งสมุดกห็ มายถึง การตดั สินคุณคา่ วา่
หอ้ งสมุดมีผลงานมากนอ้ ยและเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานหรือเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานของ
หอ้ งสมุดหรือไม่

การประเมินผลงานของหอ้ งสมุดมีจุดประสงคเ์ พื่อใหห้ อ้ งสมุดไดพ้ ฒั นาไดต้ ามมาตรฐานของ
หอ้ งสมุดโรงเรียนของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน/มาตรฐานสมาคมหอ้ งสมุดแห่ง
ประเทศไทยฯที่กาหนด และรวมท้งั มาตรฐานการประกนั คุณภาพสถานศึกษาของสานกั งานรับรองและ
ประเมินคุณภาพสถานศึกษา (สมศ.)

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
126

รหสั :

องค์ประกอบทคี่ วรประเมิน
การประเมินผลงานของหอ้ งสมุดเป็นการนาผลงานของหอ้ งสมุดดา้ นปัจจยั นาเขา้ หรือตวั

ป้ อนดา้ นกระบวนการ และดา้ นผลผลิตเปรียบเทียบกบั เกณฑม์ าตรฐานของหอ้ งสมุด ทาใหส้ ามารถ
วเิ คราะห์ไดว้ า่ หอ้ งสมุดไดม้ าตรฐานหรือไม่ เป็นขอ้ มลู สาคญั ใชเ้ ป็นหลกั ฐานแกไ้ ขปรับปรุงและ
พฒั นาหอ้ งสมุดใหส้ มบูรณ์ยง่ิ ข้ึน
เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการประเมินผล

หอ้ งสมุดจะประเมินผลการดาเนินงานตา่ ง ๆ โดยใชว้ ธิ ีการหรือเครื่องมือ (วาณี ฐาปนวงศ์
ศานติ. 2543: 186-187.)ตอ่ ไปน้ี

1. การสังเกต (Observations) เป็นใชส้ าหรับการประเมินท่ีไม่ตอ้ งการความชดั เจน
แน่นอน อาจใชว้ ธิ ีการอ่ืนประกอบดว้ ย เช่น ความสนใจ ความพึงพอใจตอ่ งานบริการ
สารสนเทศ หรือต่อกิจกรรมที่หอ้ งสมุดจดั

2. แบบสอบถาม(Questionnaires) แบบสอบถามที่สร้างข้ึนใหผ้ ใู้ ชห้ อ้ งสมุดประเมิน
ตาม สิ่งท่ีหอ้ งสมุดตอ้ งการประเมิน

3. การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นวธิ ีการสนทนา ทกั ทายเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลจากส่ิงที่
ตอ้ งการวดั ตอ้ งกาหนดเกณฑว์ า่ ตอ้ งการทราบเรื่องใดบา้ ง และเปาหมายท่ีเป็นบุคคลกลุ่ม
ใด จานวนเท่าใด

4. การจดบนั ทกึ ( Record) หรือการเกบ็ สถิติ ซ่ึงตอ้ งทาสม่าเสมอเพอ่ื นบั ปริมาณและ
ความถี่ในการนามาใช้ หรือใชป้ ระกอบการสังเกต และการสัมภาษณ์

หอ้ งสมุดยคุ ปัจจุบนั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชก้ บั งานหอ้ งสมุด เพอ่ื เป็นการสร้างความพึง
พอใจต่อผใู้ ช้ หอ้ งสมุดจาเป็นตอ้ งประเมินวา่ งานบริการที่ดาเนินการ วา่ ตรงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้
มากนอ้ ยเพียงใด โดยวธิ ีการจดั เก็บสถิติ การประเมินปฏิกิริยาจากผใู้ ช้ หรือการสารวจและทาการวจิ ยั
เม่ือทาการประเมินผลแลว้ ตอ้ งนาผลมาสรุปและจดั ทารายงานผลการปฏิบตั ิตอ่ ไป
การเกบ็ สถติ ิห้องสมุด

การเกบ็ สถิติเป็นการรวบรวมขอ้ มูลต่างๆ ของหอ้ งสมุด สถิติหมายถึง ขอ้ มลู ท่ีเป็นตวั เลขที่ไดจ้ าก
การปฏิบตั ิงานในแตล่ ะวนั ควรรวบรวม จดั เก็บเป็นรายเดือนและรายปี เป็นงานที่สาคญั และจาเป็น
อยา่ งหน่ึงท่ีบรรณารักษจ์ ะตอ้ งจดั ทา เพราะจะทาใหท้ ราบวา่ หอ้ งสมุดไดป้ ฏิบตั ิงานอะไรบา้ ง มีผมู้ าใช้
บริการมากนอ้ ยเพียงใด หนงั สือประเภทใดมีคนสนใจมากและประเภทใดคนสนใจนอ้ ย เป็นตน้
ทาใหท้ ราบวา่ งานแตล่ ะอยา่ งของหอ้ งสมุดมีปริมาณมากนอ้ ยเพยี งใด เป็นหลกั ฐานการปฏิบตั ิงานของ
หอ้ งสมุดและใชเ้ ป็นหลกั ฐานในการพฒั นาหอ้ งสมุดไดเ้ ป็นอยา่ งดี

วตั ถุประสงค์ของการเกบ็ สถติ ิ มีดงั น้ี (เฉลียว พนั ธุ์สีดา, 2539 : 72 )
1. เพ่ือเป็นประเมินผลการปฏิบตั ิงานของบรรณารักษ์

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
127

รหัส :

2.เพื่อเป็นหลกั ฐานวา่ บรรณารักษแ์ ละเจา้ หนา้ ท่ีหอ้ งสมุดทางานในแตป่ ี ไดป้ ริมาณงานเท่าใด
3. เพ่อื เป็นหลกั ฐานในการพฒั นาหอ้ งสมุดที่มีแบบแผนและความเป็นไปไดใ้ นอนาคต
4. เพ่อื เป็นหลกั ฐานในการเขียนความดีความชอบ
สถิติทคี่ วรเกบ็ มีดงั ตอ่ ไปน้ี
1. จานวนหนงั สือที่มีอยใู่ นหอ้ งสมุดแยกเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (อาจเกบ็ ไดจ้ าก
สมุดทะเบียนหนงั สือ/ฐานขอ้ มลู หนงั สือ)
2. จานวนผเู้ ขา้ ใชห้ อ้ งสมุดในแต่ละวนั ควรจาแนกประเภทเป็นนกั เรียนและครู
3. จานวนคร้ังท่ีนกั เรียนเขา้ ใหส้ มุดเป็นช้นั เรียน
4. จานวนหนงั สือท่ีมีผยู้ มื ออกต่อวนั ควรแยกเป็นแตล่ ะหมวด
5. จานวนคร้ังที่ใหบ้ ริการตอบคาถามและช่วยคน้ ควา้
6. จานวนคร้ังท่ีจดั บริการหนงั สือจอง
7. สถิติการจดั บริการอ่ืนๆ
8. จานวนคร้ังท่ีจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านตา่ งๆ
9. จานวนคร้ังที่จดั นิทรรศการ
10. จานวนทรัพยากรสนเทศท่ีจดั หาเพ่ิมข้ึนในแต่เดือน
11. จานวนหนงั สือท่ีวเิ คราะห์และทารายการ
12. จานวนคร้ังและจานวนผใู้ ชบ้ ริการโสตทศั นวสั ดุ
13. จานวนหนงั สือที่ซ่อม
14. จานวนวารสารที่เยบ็ เล่ม
15. จานวนคร้ังและจานวนผเู้ ขา้ เยยี่ มชมหอ้ งสมุด
16. จานวนคาบท่ีสอนกิจกรรม
17. สถิติการเงิน รายรับ-รายจา่ ยแต่ละภาคเรียน / และไตรมาส
18. สถิติการจดั บริการชุมชน
บรรณารักษค์ วรจดั ทาแบบเกบ็ สถิติไวใ้ ชบ้ นั ทึกเป็นรายวนั แลว้ รวมเป็นรายเดือน สถิติที่
เกี่ยวการยมื และการเขา้ ใชค้ วรนามาคิดเป็นร้อยละของจานวนนกั เรียนท้งั หมด เพื่อใหเ้ ห็นภาพรวม
เมื่อสิ้นภาคเรียนหรือสิ้นปี การศึกษาจึงนามาจดั ทาเป็นรายงานเสนอผบู้ ริหาร

ประโยชน์ของการเกบ็ สถติ ิ
1. ใชใ้ นการเสนอผลงานต่อผบู้ ริหาร
2. ใชเ้ ป็นหลกั ฐานในการขอเพิ่มงบประมาณและบุคคลากร

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกนั 3.0 ประเทศไทย
128

รหัส :

3. ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการประชาสัมพนั ธ์หอ้ งสมุด
รายงานห้องสมุด
การทารายงานเป็นการแสดงหลกั ฐานจากการปฏิบตั ิงานต่อผบู้ ริหารเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
ใชป้ ระโยชน์ในการประเมินผลและปรับปรุงแกไ้ ขงานใหด้ ียง่ิ ข้ึน ใชเ้ ป็นเครื่องมือประชาสัมพนั ธ์
หอ้ งสมุด เผยแพร่ใหผ้ เู้ กี่ยวขอ้ งทราบ และเป็นเคร่ืองมือสาคญั ในการใชป้ ระกอบการพจิ ารณาของ
งบประมาณของหอ้ งสมุด บรรณารักษจ์ ะตอ้ งทารายงานผลการเกบ็ สถิติ และนาผลการประเมินผลงาน
ของหอ้ งสมุดเสนอใหผ้ บู้ ริหาร รายงานที่ดีตอ้ งมีสถิติ ตาราง กราฟ หรือภาพประกอบ เพื่อใหเ้ กิดความ
ชดั เจนเขา้ ใจง่าย

ประเภทของรายงานห้องสมุด
การทารายงานหอ้ งสมุดจดั ทา 2 แบบ คือ รายงานท่ีหอ้ งสมุดควรจดั ทามี 2 แบบคือ
1. รายงานประจาเดือนหรือประจาภาค คือรางานตวั เลขหรือสถิติของงานดา้ นตา่ งๆ ของ

หอ้ งสมุดเป็นรายเดือน
2. รายงานประจาปี คือรายงานตวั เลขหรือสถิติของงานดา้ นตา่ งๆ ตลอกปี โดยนาตวั เลขจาก

รายงานประจาเดือนมาใช้
การเขียนรายงานหอ้ งสมุดควรมีขอ้ มลู รายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี
1. อตั รากาลงั ท่ีปฏิบตั ิงาน ไดแ้ ก่ จานวนและรายช่ือของบุคลากรหอ้ งสมุด บรรณารักษ์

เจา้ หนา้ ท่ีหอ้ งสมุด นกั การภารโรง คระกรรมการหอ้ งสมุด นกั เรียนช่วยงานหอ้ งสมุด และอาสาสมคั ร
รวมท้งั ภาระงานและความรับผดิ ชอบของแตล่ ะคน

2. ผลงานของหอ้ งสมุด
2.1 งานบริหารหอ้ งสมุด เช่น จานวนคร้ังของการตอ้ นรับผเู้ ขา้ เยยี่ มชม การติดต่อกบั

หน่วยงานอื่น การประชุม การนิเทศบุคลากรหอ้ งสมุด การอบรมนกั เรียนช่วยงานหอ้ งสมุด การเป็น
วทิ ยากรและกรรมการ และจานวนคร้ังของประชาสัมพนั ธ์ การเงินของหอ้ งสมุด ไดแ้ ก่ รายรับและ
รายจ่าย รายรับ คือ ค่าปรับและคา่ อื่นๆ และรายจ่ายคือคา่ หนงั สือ ค่าวารสารและคา่ หนงั สือพมิ พ์
คา่ โสตทศั นวสั ดุ ค่าวสั ดุ คา่ ครุภณั ฑ์ และคา่ ใชจ้ ่ายอื่นๆ

2.2 งานเทคนิคหอ้ งสมุด เช่น จานวนทรัพยากรสารสนเทศตา่ งๆ ที่ไดร้ ับเพิ่มในแต่ละ
เดือนหรือในรอบปี จานวนหนงั สือ วารสาร การจดั ทาเครื่องมือช่วยคน้ จานวนเล่มของหนงั สือท่ีออก
บริการ จานวนเล่มหนงั สือที่ซ่อม จานวนวารสารเยบ็ เล่ม จานวนคร้ังของการจดั ทาบรรณานุกรม
หนงั สือใหม่

2.3 งานบริการและกิจกรรมของหอ้ งสมุด เช่น จานวนผเู้ ขา้ ใชห้ อ้ งสมุดแยกครูและ
นกั เรียนจานวนคร้ังและจานวนของนกั เรียนท่ีเขา้ ใชเ้ ป็นช้นั เรียน จานวนเล่มของหนงั สือท่ีใหย้ มื จานวน
คร้ังท่ีบริการตอบคาถามและช่วยการคน้ ควา้ จานวนหนงั สือจองที่จดั จานวนคร้ังที่จดั กิจกรรมพร้อมช่ือ
กิจกรรม จานวนคร้ังท่ีจดั นิทรรศการพร้อมหวั ขอ้ นิทรรศการ

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสัญญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
129

รหัส :

2.4 งานสอนและสนบั สนุนการเรียนการสอน เช่น จานวนคาบของกิจกรรม การใช้

หอ้ งสมุด กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน และการสอนวชิ าหอ้ งสมุด จานวนคร้ังของการใชห้ อ้ งสมุดเพ่อื การ

เรียนการสอน จานวนคร้ังของการแนะนาวธิ ีการใชห้ อ้ งสมุด จานวนส่ือท่ีผลิต จานวนคร้ังของการ

เตรียมสื่อการสอน

3. สรุปงาน-โครงการประจาปี การศึกษา ระบุชื่องาน- โครงการ สรุปผลการดาเนินงาน

โครงการ และงบประมาณท่ีใช้

4. ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ

5. โครงการและแผนงานท่ีจะดาเนินการต่อไป

utqonlineโดยสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตใหใ้ ชไ้ ดต้ ามสญั ญาอนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบ แสดงทมี่ า-ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ -อนุญาตแบบเดยี วกัน3.0 ประเทศไทย
130


Click to View FlipBook Version