The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดบรการสารสนเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watpamok, 2022-04-25 01:20:57

การจัดบรการสารสนเทศ

การจัดบรการสารสนเทศ

การจัดบรกิ ารสารสนเทศ
Information Services Preparing

ประอรนุช โปรง่ มณกี ุล / Pra-oranuch Prongmaneekul1

สาระสงั เขป

บริการสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรม กระบวนการ ลักษณะ และสภาพที่บุคลากรในห้องสมุด
กระทาด้วยความเต็มใจ เพ่ือให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ และสารสนเทศท่ีมีการ
บันทึกและเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก การท่ีห้องสมุดจะจัดให้มีบริการสารสนเทศใดบ้าง
นั้น ขึ้นอยู่กับบริบทของห้องสมุดเป็นสาคัญ แต่ห้องสมุดส่วนมากมักจัดให้มีบริการ 2 ลักษณะ ได้แก่
บริการทผ่ี ใู้ ชส้ ามารถใช้ไดด้ ว้ ยตนเอง และบริการทผ่ี ใู้ ชต้ อ้ งติดต่อกับผู้ใหบ้ รกิ ารดาเนินการให้ อย่างไรก็
ตาม ด้วยสภาพในปัจจุบัน หากต้องการให้การจัดบริการสารสนเทศมีประสิทธิผล จาเป็นต้องมี
องค์ประกอบ 5 ประการ ได้แก่ สถานที่และสภาพแวดล้อม ทรัพยากรสารสนเทศ บุคลากร ผู้ใช้บริการ
และเทคโนโลยสี ารสนเทศ

คาสาคญั : บรกิ ารสารสนเทศ การจดั บรกิ ารสารสนเทศ หอ้ งสมุด

Summary

Information services are activities, processes, types and conditions that librarians do by
willingness. Users can access easily to information resources and information which is recorded
and disseminated in any forms. Information services that libraries prepare for users are up to
library’s community. There are 2 types of information services ; service that users can serve by
themselves and service that librarians serve for users. However, for information service
effectiveness, library service must be consisted of place and environment, information
resources, librarians, users, and information technology.

Keywords : information services, information services preparing, library

1ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจาหลกั สตู รสารสนเทศศาสตรแ์ ละบรรณารักษศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎ
เพชรบรุ ี ต.โพไรห่ วาน อ.เมือง จ.เพชรบรุ ี 76000

28 วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ที่ 18 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559

บทนา ความสะดวกและเป็นมิตรกับผู้ใช้ มีความ
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ และมี
หอ้ งสมดุ หรอื สถาบันบรกิ ารสารสนเทศ คุณค่าซ่ึงผ้ใู ชร้ บั รไู้ ด้ (จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
เป็นหน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีในการรวบรวม และ ม.ป.ป.) ด้วยเหตุน้ีห้องสมุดจึงมีแนวทางในการ
จัดการทรัพยากรสารสนเทศให้อยู่ในสภาพที่ จดั บรกิ ารสารสนเทศสาหรับผู้ใช้ ดงั น้ี
พรอ้ มให้บรกิ ารแกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารหรอื ผู้รบั บริการ
1. สารวจและประเมินความต้องการ
งานบริการสารสนเทศ เป็นงานท่ีมี ของชมุ ชน
ความสาคัญต่อห้องสมุด เนื่องจากห้องสมุดเป็น
องค์การที่ไดร้ ับการจัดตงั้ ขึ้นเพอ่ื ทาหน้าที่สาคัญ 2. จัดหาและพยายามจัดหาสารสนเทศ
คอื ให้บริการสารสนเทศตามความต้องของผูใ้ ช้ ที่ผู้ใช้ต้องการ โดยการรวบรวมและสร้าง
สารสนเทศ ตลอดจนแหล่งสารสนเทศเพ่ือให้
บทความนี้จึงมุ่งเน้นให้ผู้อ่านท่ัวไปและ บรกิ าร ทงั้ นค้ี วรเตรียมสารสนเทศ แม้ผู้ใช้ไม่ได้
นักศึกษาที่เรียนในหลักสูตรสารสนเทศศาสตร์ เรยี กรอ้ งก็ตาม
และบรรณารักษศาสตร์ได้เข้าใจถึงสภาพการ
จัดบรกิ ารสารสนเทศในหอ้ งสมดุ โดยภาพรวม 3. พัฒนาบริการสารสนเทศให้
สอดคล้องกับสภาพของชุมชน เช่น การสร้าง
บริการสารสนเทศ เครื่อ งมือ เข้าถึงสารสนเทศ ในรูปแบบท่ี
เหมาะสม การเตรียมวิธีการเพ่ือแนะนาการใช้
บ ริ ก า ร ส า ร ส น เ ท ศ ( Information ท รั พ ย า ก ร ส า ร ส น เ ท ศ ท่ี จั ด ใ ห้ บ ริ ก า ร ภ า ย ใ น
services) ท่ี ห้ อ ง ส มุ ด จั ด ขึ้ น ใ ห้ แ ก่ ผู้ ใ ช้ น้ั น ห้องสมุด การแนะนาแหล่งสารสนเทศอื่นที่
หมายถึง กิจกรรม กระบวนการ ลักษณะ และ สามารถมคี าตอบที่ผใู้ ชต้ อ้ งการ การเพิ่มคุณค่า
สภาพที่บุคลากรในห้องสมุด กระทาด้วยความ ให้กับสารสนเทศในรูปแบบท่ีเหมาะสมกับผู้ใช้
เต็มใจ เพ่ือให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึง เป็นตน้
ทรัพยากรสารสนเทศ และสารสนเทศท่ีมีการ
บันทึกและเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่าง 4. ประชาสัมพนั ธ์เก่ยี วกบั บรกิ าร
สะดวก (จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ม.ป.ป.) สารสนเทศ ตลอดจนนโยบายของการจัดบริการ
สารสนเทศทห่ี อ้ งสมุดได้เตรยี มไว้
ส ถ า บั น ส า ร ส น เ ท ศ ส า ม า ร ถ จั ด ใ ห้ มี
บริการสารสนเทศแตกต่างกัน ตามหน้าท่ีและ 5. เปดิ โอกาสให้ผใู้ ช้ของหอ้ งสมุดใน
วัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั ตงั้ ห้องสมดุ ภาคีความร่วมมอื สามารถสมัครเปน็ สมาชกิ ได้

ก า ร ที่ ห้ อ ง ส มุ ด จ ะ จั ด ใ ห้ มี บ ริ ก า ร 6. ขยายบรกิ ารสารสนเทศออกไป
สารสนเทศอะไรบ้าง หรือบริการดังกล่าวควรมี ภายนอกหอ้ งสมดุ
ลักษณะอย่างไรน้ัน มีหลักการสาคัญในการ
จัดบริการ คือ เป็นบริการท่ีผู้ใช้ต้องการ ได้แก่ ประเภทของบริการสารสนเทศ
มีความเหมาะสมกับผู้ใช้และสภาพแวดล้อม มี
ความน่าเช่ือถือ มีความชัดเจน มีความคุ้มค่า มี เน่ืองจากบริการสารสนเทศเป็นบริการที่
นาผใู้ ช้เขา้ สู่แหล่งสารสนเทศ โดยมีจุดมุ่งหมาย

วารสารมนษุ ยสงั คมปรทิ ศั น์ ปี ที่ 18 ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559 29

เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง สมบูรณ์ ห้องสมุด โดยผู้ใช้ต้องสมัครเป็นสมาชิกและ
สะดวกและรวดเร็วท่ีสุด สามารถตอบสนอง ปฏบิ ตั ิตามระเบียบขอ้ บังคบั ของห้องสมดุ นั้น ๆ
ความต้องการของผู้ใช้ได้ (นฤมล รักษาสุข,
ม.ป.ป.) ดังนั้นในการจัดบริการสารสนเทศ จึง 4. บริการยมื ระหว่างหอ้ งสมุด (Inter-
สามารถกระทาได้ 2 ลักษณะที่สาคัญ ได้แก่ library Loan Service; ILL) เป็นบริการที่ช่วย
บริการที่ผู้ใช้สามารถใช้ได้ด้วยตนเอง และ อานวยความสะดวกแก่สมาชิกที่ต้องการยืม
บริการท่ีผูใ้ ช้ตอ้ งติดตอ่ กับผ้ใู ห้บริการ โดยมีการ ทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดอ่ืน โดย
ประเมินติดตามผลการใชบ้ รกิ าร สถาบันต้นสังกัดของสมาชิกช่วยอานวยความ
สะดวกในการติดตอ่ ประสานงานกับห้องสมุดท่ีมี
โดยทวั่ ไป บริการสารสนเทศที่ห้องสมุด ทรัพยากรสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการ โดยผู้ใช้
จัดให้บริการ มีรายละเอียดดัง ต่อไปน้ี (ธนู บริการต้องเสียค่าใช้จ่ายบางส่วน เช่น ค่าถ่าย
บญุ ญานวุ ัตร, 2550) เอกสาร ค่าขนส่ง เป็นตน้

1. บรกิ ารการอา่ น (Reading 5. บริการจองหนังสือหรอื บรกิ าร
Service) เ ป็ น บ ริ ก า ร ที่ ห้ อ ง ส มุ ด จั ด เ ก็ บ หนงั สอื สารอง (Reserved Book Service) เปน็
ทรัพยากรสารสนเทศในระบบชั้นเปิด และจัดที่ บริการที่ช่วยอานวยความสะดวกในการใช้
น่ังสาหรับอ่านค้นคว้าได้โดยอิสระตามความ ทรัพยากรสารสนเทศบางช่ือเร่ืองที่มีอยู่อย่าง
สนใจของผใู้ ชแ้ ต่ละคน พร้อมท้ังจัดทาเครื่องมือ จากัด แต่มีผู้ใช้ที่สนใจต้องการใช้เป็นจานวน
ช่วยค้นซ่ึงอาจอยู่ในรูปแบบบัตรรายการ หรือ มาก ห้องสมุดอาจให้บริการจองหนังสือล่วง
รายการในฐานข้อมูล คอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ใช้ หน้า หรืออาจจัดบริการหนังสือสารองไว้ใน
เข้าถงึ ทรพั ยากรสารสนเทศไดโ้ ดยสะดวก สถาบันโดยไม่ให้ยืมออกนอกห้องสมุดในช่วง
ระยะเวลาหน่ึงหรือตลอดไป เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ
2. บริการบรรณานกุ รมและสาระ ไดใ้ ชบ้ ริการทรัพยากรสารสนเทศนั้น ๆ ได้อย่าง
สังเขป (Bibliography and Abstracting ทั่วถึง
Service) เป็นบริการรวบรวมรายการทรัพยากร
สารสนเทศท่ีให้บริการอยู่ในห้องสมุด หรืออาจ 6. บริการตอบคาถามและชว่ ยการ
รวบรวมเฉพาะเรื่องที่มีผู้สนใจ หรือรวบรวม ค้นคว้า (Reference Service) หรือบริการเอก
ตามระยะเวลาที่จัดหาทรัพยากรสารสนเทศใหม่ สารสนเทศ (Information Service) เป็นบริการ
เพ่ืออานวยความสะดวกในการศกึ ษาคน้ คว้า ให้คาแนะนาและช่วยเหลือผู้ใช้ในการค้นคว้าหา
เชน่ การทาบตั รรายการ การทาดัชนีวารสาร ข้อมลู ตา่ ง ๆ ที่มีในห้องสมุดแห่งน้ัน และแหล่ง
บริการโอแพค (OPAC) ของห้องสมุด และการ สารสนเทศอ่ืน ๆ ที่มีเน้ือหาเกี่ยวข้องกับเร่ืองท่ี
จั ด ท า บ ร ร ณ า นุ ก ร ม แ ห่ ง ช า ติ ป ร ะ จ า ปี ข อ ง ผู้ใชต้ อ้ งการ
หอสมดุ แห่งชาติ เปน็ ตน้
7. บรกิ ารแนะนาแหล่งสารสนเทศ หรือ
3. บริการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ บริการปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Information
(Circulation Service) เป็นบริการให้สมาชิกยืม Resources Teaching Service) เป็นบริการ
ท รั พ ย า ก ร ส า ร ส น เ ท ศ อ อ ก ไ ป ใ ช้ ภ า ย น อ ก แนะนาแหล่งสารสนเทศ ตลอดจนวิธีการใช้ และ

30 วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ที่ 18 ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559

วิธีการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศภายในแหล่ง สาเนาเอกสาร บริการพิมพ์ผลการสืบค้นข้อมูล
สารสนเทศน้ันๆ เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่ง จากฐานข้อมลู ออนไลน์ อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ตน้
สารสนเทศหรือห้องสมุดได้อย่างรวดเร็ว และ
สามารถใช้ประโยชน์ในแหล่งสารสนเทศนั้นได้ 11. บรกิ ารอินเทอรเ์ นต็ (Internet
อย่างเต็มประสิทธิภาพ Service) เป็นการให้บริการคอมพิวเตอร์ท่ี
เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพ่ือให้
8. บริการเผยแพรส่ ารสนเทศและ ผู้ใช้สามารถค้นคว้าและใช้บริการต่าง ๆ ได้
นิทรรศการ (Information Dissemination เช่น การสืบค้นจากฐานข้อมูลออนไลน์ การ
Service and Display Exhibition) เป็นบริการ สบื คน้ ข้อมูลจากเว็บไซต์ การใช้บริการจดหมาย
เผยแพร่สารสนเทศในโอกาสพิเศษต่าง ๆ เพ่ือ อเิ ลก็ ทรอนิกส์หรอื อเี มล์ (e-mail) เป็นต้น
ชักชวนให้ผู้ใช้เกิดความสนใจการอ่าน และ
ศึกษาคน้ คว้าต่อเนื่อง เช่น การจัดนทิ รรศการ เ ม่ื อ พิ จ า ร ณ า ม า ต ร ฐ า น ห้ อ ง ส มุ ด ที่
การจัดประชุมอภิปรายทางวิชาการ การจัดทา เกย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ มาตรฐานห้องสมุดเฉพาะ พ.ศ.
จุลสาร-วารสารวิชาการ เปน็ ตน้ 2545 มาตรฐานห้องสมุดประชาชน พ.ศ. 2550
มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ.
9. บริการข่าวสารทันสมยั (Current 2533 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษา
Awareness Service) เป็นบริการรวบรวม พ.ศ. 2533 มาตรฐานห้องสมุดสถานศึกษาเพื่อ
คัดเลือกและเผยแพร่สารสนเทศใหม่ ๆ แก่ การอาชวี ศึกษาและเทคโนโลยี พ.ศ. 2535 และ
สมาชกิ หรือผใู้ ช้บริการ เชน่ การสาเนาบทความ มาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.
จากวารสาร การจัดทาบรรณานุกรมและสาระ 2544 พบว่า บริการสารสนเทศท่ีควรจัด
สังเขป เป็นต้น แล้วส่งให้ผู้ใช้บริการท่ีร้องขอใช้ ให้บริการแก่ผู้ใช้สาหรับห้องสมุดแต่ละประเภท
บริการ มีรายละเอียดดงั ตารางที่ 1

10. บรกิ ารสาเนาและพมิ พผ์ ลการค้น
ข้อมูล (Copy Service) เป็นบริการสาเนา
เอกสารเพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ เช่น บริการ

วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ท่ี 18 ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559 31

ตารางท่ี 1 เปรยี บเทยี บบรกิ ารสารสนเทศที่ควรจัดสาหรบั หอ้ งสมุดแต่ละประเภท

ประเภทของบริการ
้หองสมุดเฉพาะ
้หองสมุดประชาชน
้หองสมุดโรงเรียน

ประถม ึศกษา
้หองสมุดโรงเ ีรยนมัธยม ึศกษา

้หองสมุดอาชีวะฯ
้หองสมุด ุอดม ึศกษา

ยืม – คนื    
ยมื ระหวา่ งหอ้ งสมุด    
ข่าวสารทนั สมยั 
เลอื กสรรสารนิเทศเฉพาะบคุ คล    
แนะนาแหลง่ สารนเิ ทศ    
แนะนาการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ   
ตอบคาถามและชว่ ยการค้นคว้า   
จัดทาคมู่ อื ช่วยการคน้ ควา้   
บริการชมุ ชน   
ทนี่ ่ังอา่ น   
หนังสอื จอง   
โสตทัศนวัสดุ 
แนะแนวการอ่าน   
ถ่ายเอกสาร
กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน 

ท่ีมา : (ชุตมิ า สัจจานนั ท์, ม.ป.ป.) สาเร็จของบริการสารสนเทศท่ีจัด และท่ีสาคัญ
ก า ร ที่ ห้ อ ง ส มุ ด ค ว ร จั ด ใ ห้ มี บ ริ ก า ร คือ 5) การทางานโดยยึดหลักการพัฒนาอย่าง
สารสนเทศใดบ้างนั้น ไม่สาคัญเท่าการทาให้ ต่อเนื่อง โดยอาจยึดหลักการทางานตามวงจร
บริการสารสนเทศทจ่ี ดั น้ันประสบความสาเร็จซึ่ง เดมมิ่ง (Demming cycle) คือ มีการวางแผน
เป็นส่ิงท่ีบรรณารักษ์ต้องตระหนัก การทางานด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ให้
การจัดบริการสารสนเทศให้ประสบ รอบด้าน ดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ เมื่อ
ความสาเร็จ สามารถกระทาได้โดย 1) การ ทาแล้วต้องมีการประเมินและตรวจสอบว่าการ
จัดบริการและกิจกรรมที่เน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง ทางานนั้นว่ามีจุดต้องปรับปรุง แก้ไขอย่างไร
2) การทาให้ผู้บริหารของหน่วยงานให้ความ แล้วจึงนาผลนั้นมาแก้ไขปรับปรุงการทางานให้
สนบั สนนุ เพ่มิ ขึน้ เรื่อย ๆ ในด้านต่าง ๆ 3) การ ดียง่ิ ข้นึ (จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ม.ป.ป.)
ระบุจุดแข็งและข้อ จากัดของห้องสมุดท่ีส่งผล
ต่อการจัดบริการสารสนเทศ 4) การกาหนด
เ ป้ า ห ม า ย แ ล ะ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ท่ี แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม

32 วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ที่ 18 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559

การจัดบริการสารสนเทศ 1.3 สถานที่ คือ ขนาดพน้ื ทีข่ อง
ห้องสมดุ กว้างขวาง เพียงพอหรือไม่ ท้ังนี้ข้ึนอยู่
ก า ร จั ด บ ริ ก า ร ส า ร ส น เ ท ศ ใ ห้ เ ป็ น ไ ป กั บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ น โ ย บ า ย ข อ ง ห้ อ ง ส มุ ด
อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลท่ีดีต่อ ตลอดจนทรัพยากรสารสนเทศและวัสดุอุปกรณ์
ผู้ ใ ช้ แ ล ะ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร น้ั น ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ทเ่ี กีย่ วข้องดว้ ย
องคป์ ระกอบ 5 ประการ ไดแ้ ก่ (จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย, ม.ป.ป.) 1.4 ทรัพยากรสารสนเทศเพื่องาน
บริการสารสนเทศ โดยเฉพาะในด้านปริมาณ
1. สถานที่และสภาพแวดล้อม ควร ของทรัพยากรสารสนเทศมีมากมายเพียงใด
โดยต้องคานึงถึงจานวนผู้ใช้ ปริมาณ และ
จัดให้มีสถานที่ในการดาเนินงาน โดยอาจจัด ลักษณะความตอ้ งการของผู้ใช้
เป็นหน่วยงาน หรอื เปน็ มมุ ใดมมุ หน่ึง หรือจัดให้
รวมกับงานบริการยืม-คืน ภายในห้องสมุดก็ได้ 1.5 บุคลากร ที่ทาหน้าท่ีรับผิดชอบ
ทงั้ นีข้ ึ้นอย่กู บั ในการดาเนินงานบริการสารสนเทศว่ามีจานวน
เ ท่ า ใ ด แ ต่ ล ะ ค น มี ภ า ร ะ ห น้ า ที่ ใ น ค ว า ม
1.1 วตั ถปุ ระสงค์และนโยบายของ รับผิดชอบเท่าไร รวมถึงความรู้ความสามารถ
ห้องสมุดแห่งน้ัน ๆ ว่าเป็นห้องสมุดประเภทใด และทัศนคตติ อ่ การใหบ้ รกิ ารของบคุ ลากรดว้ ย
มีขนาดใหญ่หรือไม่ เช่น หากเป็นห้องสมุดท่ี
เน้นการให้บริการสารสนเทศ เช่น บริการ เมอ่ื พิจารณามาตรฐานหอ้ งสมุดท่ี
ดรรชนีและสาระสังเขป บริการบรรณนิทัศน์ เกยี่ วข้อง ได้แก่ มาตรฐานหอ้ งสมุดเฉพาะ พ.ศ.
บริการเผยแพร่สารสนเทศ เป็นต้น อาจจาเป็น 2545 มาตรฐานห้องสมุดประชาชน พ.ศ. 2550
ต้องจัดตั้งเป็นหน่วยงาน แต่หากต้องการเพียง มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ.
แค่เป็นจุดพักผ่อน อาจเป็นเพียงมุมบริการ 2533 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษา
สารสนเทศทใ่ี หบ้ ริการน่ังอา่ น เป็นต้น พ.ศ. 2533 มาตรฐานห้องสมุดสถานศึกษาเพื่อ
การอาชวี ศกึ ษาและเทคโนโลยี พ.ศ. 2535 และ
1.2 โครงสรา้ งการจดั องค์กร ว่า มาตรฐานหอ้ งสมดุ สถาบนั อุดมศกึ ษา พ.ศ.2544
สามารถจัดให้มีงานบริการสารสนเทศได้หรือไม่ พบว่า สถานท่ีและสภาพ แวดล้อมที่เหมาะสม
ทั้ ง น้ี ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ง บ ป ร ะ ม า ณ ท่ี ไ ด้ รั บ ก า ร สาหรับห้องสมุดแต่ละประเภท มีรายละเอียด
สนบั สนุนเพ่ือการดาเนินงานดว้ ย ดังตารางที่ 2

วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ที่ 18 ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559 33

ตารางท่ี 2 เปรยี บเทยี บลกั ษณะของสถานทีแ่ ละสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมสาหรับหอ้ งสมดุ แตล่ ะ
ประเภท

สถานท่แี ละสภาพแวดลอ้ ม ้หองสมุดเฉพาะ
้หองสมุดประชาชน
้หองสมุดโรงเ ีรยนประถม ึศกษา
้หองสมุดโรงเรียนมัธยม ึศกษา
้หองสมุดอาชีวะฯ
้หองสมุด ุอดม ึศกษา

มีพื้นทสี่ ะดวกแก่การใหบ้ รกิ าร   
เปน็ ห้องหรอื อาคารเอกเทศ 
มแี สงสว่างเพยี งพอ    
มกี ารระบายอากาศ    
มีระบบควบคมุ ความช้ืน    
มรี ะบบป้องกนั สาธารณภยั อยา่ ง    
เหมาะสมและไดม้ าตรฐาน 
อยู่ใกลแ้ หลง่ ชมุ ชน การคมนาคม ไม่ตา่ กวา่  50 ท่ีน่ัง/
สะดวก ร้อยละ 10 1,000 คน รอ้ ยละ 25
พ้ืนท่นี ัง่ อ่าน ของผ้ใู ช้ - 250 ทน่ี ง่ั / ไม่ตา่ กว่า ของ รอ้ ยละ 25
บรกิ าร 20,000 คน ร้อยละ 10 ของผู้ใช้
3 ตร.ม./ - 200 ทีน่ ั่ง/ นักศกึ ษา เฉลย่ี แตล่ ะ
10,000 คน ของ ทัง้ หมด
คน - 150 ท่ีน่ัง/ นกั เรียน วนั
5,000 คน ท้งั หมด 1.5 2.25-3.15
ตร.ม./คน ตร.ม./คน
หรอื
เท่ากบั ชน้ั

ทีม่ ี
นักเรียน
มากท่สี ดุ
เพ่มิ อีก 20

ทนี่ ัง่

ทีม่ า : (ชตุ ิมา สัจจานันท,์ ม.ป.ป.)

2. ทรพั ยากรสารสนเทศ เป็น ต ล อ ด จ น สื่ อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ท้ัง ที่ อ ยู่ ใ น รูป ข อ ง
ฐานข้อมูลและอื่น ๆ
องค์ประกอบหน่ึงท่ีมีความสาคัญ (Koivula,
1998) เนื่องจากเป็นแหล่งของความรู้ ข้อมูล ในการจัดบริการสารสนเทศให้มี
ข่าวสาร ที่ใช้ในการให้คาตอบแก่ผู้ใช้บริการ ประสิทธิภาพน้ันจาเป็นต้องมีจานวนทรัพยากร
โดยเฉพาะหนังสือ วารสารและส่ิงพิมพ์ต่อเน่ือง สารสนเทศทีเ่ พียงพอและมเี นอื้ หาสอดคลอ้ งกบั
ความต้องการของกลุ่มผูใ้ ช้ แต่เนอ่ื งจากหอ้ งสมุด

34 วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ท่ี 18 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559

มักได้รับงบประมาณที่จากัด จึงส่งผลต่อการ ผู้ใช้” (นฤมล รักษาสุข, ม.ป.ป.) หมายความว่า
จดั หาทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการ ดังน้ันจึง ห้องสมุดสามารถจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ
อาจแก้ปญั หาด้วย (นฤมล รักษาสุข, ม.ป.ป.) เท่าทจี่ าเป็นใช้และตอบสนองความต้องการของ
ผู้ใช้ได้ โดยทรัพยากรสารสนเทศท่ีห้องสมุด
2.1 การจัดหาทรพั ยากรสารสนเทศ ต่าง ๆ จาเปน็ ตอ้ งมี เช่น หนังสืออา้ งองิ หนังสือ
ร่วมกันในรูปภาคี (Consortium) โดยร่วมมือกับ วิชาการทั่วไป ฐานข้อมูลและเครือข่ายแหล่ง
ห้องสมุดอ่ืน ในการแบ่งหน้าที่เพ่ือจัดหา ข้อมูลที่เป็นบุคคลสาคัญในชุมชน ห้องสมุดและ
ทรัพยากรสารสนเทศ เช่น ตามขอบเขตเน้ือหา หนว่ ยงานอน่ื รายการทรัพยากรสารสนเทศของ
ตามภาษา เปน็ ต้น ห้องสมดุ เป็นต้น

2.2 การจัดบรกิ ารยืมระหวา่ ง เม่ือพิจารณามาตรฐานหอ้ งสมุดท่ี
ห้องสมุด โดยร่วมมือกับห้องสมุดอ่ืนในการ เก่ียวข้อง ได้แก่ มาตรฐานห้องสมุดเฉพาะ พ.ศ.
ยินยอมให้ผู้ใช้ของห้องสมุดที่ขอยืม สามารถ 2545 มาตรฐานห้องสมุดประชาชน พ.ศ. 2550
ติดต่อขอยืมหรือสาเนาเอกสารหรือทรัพยากร มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ.
สารสนเทศเพื่อการศึกษาอื่น ๆ ท่ีไม่มีใน 2533 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษา
ห้องสมุดของตนมาให้บริการตามท่ีผู้ใช้ต้องการ พ.ศ. 2533 มาตรฐานห้องสมุดสถานศึกษาเพ่ือ
แ ล ะ ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม ร ะ เ บี ย บ ก า ร ยื ม ซ่ึ ง เ ป็ น การอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี พ.ศ. 2535 และ
ข้ อ ต ก ล ง ร่ ว ม กั น ข อ ง ห้ อ ง ส มุ ด ดั ง ก ล่ า ว มาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2544
( ส า นั ก ห อ ส มุ ด แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร เ รี ย น รู้ พบว่า ทรัพยากรสารสนเทศท่ีควรมีในห้องสมุด
มหาวิทยาลัย ขอนแกน่ , ม.ป.ป.) ทั้งในเชิงประเภทและปริมาณ มีรายละเอียดดัง
ตารางท่ี 3
อย่างไรกต็ าม มขี ้อคิดวา่ “ไมม่ ีห้องสมุด
แห่งใดในโลกน้ี ไม่ว่าจะขนาดใหญ่สักเท่าใดก็
ตาม ที่จะสามารถจัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้
ครอบคลุมและเพียงพอกับความต้องการของ

วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ท่ี 18 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559 35

ตารางท่ี 3 เปรยี บเทียบทรัพยากรสารสนเทศที่ควรมสี าหรบั หอ้ งสมดุ แต่ละประเภท

ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดเฉพาะ
ห้องสมุดประชาชน
ห้องสมุดโรงเ ีรยนประถม ึศกษา
ห้องสมุดโรงเ ีรยนมัธยม ึศกษา
ห้องสมุดอาชีวะฯ
ห้องสมุดอุดม ึศกษา
ใหญ่ กลาง เล็ก

หนงั สือ 2,000 4 เลม่ / 6 เลม่ / 8 เลม่ / 7 เลม่ / 10 เลม่ / 50,000 นศ.

คน คน คน คน คน 15

บนั เทงิ เล่ม/

ไมเ่ กนิ คน

รอ้ ยละ อ. 100

10 ของ เล่ม/

ทงั้ หมด คน

รายงานการประชมุ

วารสารและส่งิ พมิ พต์ อ่ เนอ่ื ง 50 100 80 50 5 ชอื่ / 15 ชอื่ / 130 ตาม

400 คน 1,000 ความ

คน จาเป็น

หนังสอื พิมพ์ 100 10 8 5 3 ชอ่ื / 12

400 คน

สือ่ อนื่ ๆ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 100

รูปภาพ 1,000 500 300 จานวน จานวน 50

สไลด์ 60 30 20 เพยี งพอ เพยี งพอ 50

แถบบนั ทกึ เสยี ง 3,000 2,000 1,000 ตาม ตาม 50

วิดที ัศน์ 300 200 100 ความ ความ 50

แผนที่ 10 8 5 ตอ้ งการ ต้องการ 50
และ และ

จาเป็น จาเป็น

ใช้ ใช้

โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน 

ฐานขอ้ มูล 

ทีม่ า : (ชตุ มิ า สัจจานนั ท์, ม.ป.ป.)

36 วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ที่ 18 ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559

3. บุคลากร หรอื ผใู้ ห้บริการ คอื 3.1 ต้องเตรยี มบริการท่ที าให้ผู้ใช้
พึงพอใจสูงสุดด้วยทรัพยากรสารสนเทศที่มี
บรรณารักษ์ หรืออาจเรียกช่ือเป็นอย่างอ่ืน เช่น ประโยชนแ์ ละเหมาะสมกับผู้ใช้ ท้ังน้ีต้องกาหนด
นักสารสนเทศ นักเอกสารสนเทศ เป็นต้น เป็น นโยบายการให้บริการ การเข้าถึงบริการ ความ
อีกองค์ประกอบหน่ึงที่มีความ สาคัญนอกเหนือ ถูกต้องของการให้บริการ และต้องให้บริการด้วย
จากทรัพยากรสารสนเทศ (Koivula, 1998) ความเอ้ือเฟื้อแก่ผใู้ ช้ทกุ คนอยา่ งเทา่ เทยี มกัน

บรรณารักษ์บริการสารสนเทศเป็นผู้ 3.2 ต้องใหบ้ ริการ โดยยดึ ถือหลกั การ
ท่ีต้องปฏิบัติหน้าที่กับผู้ใช้โดยตรง ทั้งในเร่ือง ทว่ี า่ ผู้ใช้ทกุ คนมีอิสระทางความคิดและสามารถ
การให้บริการสารสนเทศซึ่งต้องปฏิบัติเป็น ใช้ทรัพยากรสารสนเทศของหอ้ งสมุดได้
ประจาอย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่อง ตลอดเวลาท่ี
ห้องสมุดเปิดให้บริการ และการจัดกิจกรรมที่ 3.3 ต้องเคารพสิทธิสว่ นบุคคลของ
เกี่ยวข้องซ่ึงอาจปฏิบัติเป็นคร้ังคราวตามแผนที่ ผู้ใช้ในการค้นหาข้อมูล รับข้อมูล และแหล่ง
กาหนด เช่น การจัดนิทรรศการเพ่ือเผยแพร่ ขอ้ มลู ท่คี ้นหา
ความรู้ การจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน
เป็นต้น ตลอดจนหน้าท่ีเบ้ืองหลัง เช่น การ 3.4 ต้องให้บริการโดยตระหนักและ
สารวจความต้องการของผู้ใช้ การเสนอรายการ เคารพในสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาของเจ้าของ
ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิงที่จาเป็น การเก็บ สทิ ธินั้น
สถิติต่าง ๆ เป็นต้น ด้วยเหตุน้ี บรรณารักษ์จึง
ต้องมีคุณลักษณะที่สาคัญ ได้แก่ มีความรู้ 3.5 ควรปฏบิ ตั งิ านกับผู้รว่ มงาน
เก่ียวกับแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ มี ด้วยความเคารพ ยตุ ิธรรม ศรัทธา และสนบั สนุน
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการค้น ให้มีการจ้างงานที่ยุติธรรมแก่ลู กจ้างใน
คืนสารสนเทศ มีจิตใจรักการบริการ (service หน่วยงาน
mind) มีบุคลิกภาพท่ีดีและเหมาะสม และมี
ความสามารถในการสื่อสาร (นฤมล รักษาสุข, 3.6 ไม่สนใจเรือ่ งสว่ นตัวของผ้ใู ช้
ม.ป.ป.) 3.7 ตอ้ งแบง่ แยกระหว่างหนา้ ที่
ส่วนตัว และหน้าที่ทางวิชาชีพ และไม่ควรให้
บ ร ร ณ า รั ก ษ์ บ ริ ก า ร ส า ร ส น เ ท ศ เรื่องส่วนตัวมีผลกระทบต่อการให้บริการหรือ
จาเป็นต้องปฏิบัติงานอย่างมีจรรยาบรรณ การเขา้ ถึงสารสนเทศของผใู้ ช้
ดังต่อไปนี้ (พิมลพรรณ เรพเพอร์, 2535, หน้า 3.8 ตอ้ งพยายามพัฒนาความรู้และ
51–59; American Library Association อ้างถึง ทักษะ โดยการให้การสนับสนุนวิชาการแก่
ใน Texas Library Association Intellectual พนักงาน และผ้รู ่วมงานที่มคี วามตงั้ ใจ
Freedom Handbook, 1996; Gosling, 1999, จากจรรยาบรรณดงั กล่าวขา้ งตน้
p. 27) จะเห็นได้ว่า บรรณารักษ์บริการสารสนเทศ
จาเ ป็นต้ อ งค านึง ถึงเ รื่อ ง ต่อ ไ ปน้ีใ นกา ร
ปฏิบัติงาน ได้แก่ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ที่ใช้
คุ้ ม ค ร อ ง ผ ล ง า น ท้ั ง ห ล า ย ท้ั ง ป ว ง ท่ี น า ม า ใ ห้
บริการสารสนเทศ เสรีภาพทางสารสนเทศของ

วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ท่ี 18 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559 37

ผู้ใช้ในการเข้าถึงสารสนเทศท่ีต้องการ ความ ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ท่ีเข้ามาใช้บริการ
เป็นส่วนตัวและความลับของผู้ใช้ที่เข้ามาใช้ หรือทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด ซ่ึงมี
บริการ การปฏิบัติหน้าท่ีของผู้ให้บริการด้วย ความแตกต่างกันท้ังในด้านความสนใจ ความ
ค ว า ม เ อ า ใ จ ใ ส่ แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี แ บ บ ท่ี ต้องการ และพฤติกรรม ดังนั้น การจัดบริการ
สามารถตรวจสอบได้ (Gosling, 1999, pp. สารสนเทศจึงต้องสามารถตอบสนองความ
107-108) ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ ใ ช้ ทุ ก ก ลุ่ ม ไ ด้ ใ น ร้ อ ย ล ะ ที่ สู ง
(นฤมล รักษาสุข, ม.ป.ป.)
ปัจจัยท่ีสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติหน้าท่ีของบรรณารักษ์บริการ ผใู้ ห้บรกิ ารสามารถทาความเข้าใจ
สารสนเทศ ได้แก่ (น้าทิพย์ วิภาวิน, 2534, ผู้ใช้ได้ด้วยการศึกษาผู้ใช้ ซ่ึงสามารถกระทาได้
หนา้ 5) ทั้งในการศึกษาด้านความต้องการ แล ะ
พฤตกิ รรมการใช้สารสนเทศของผู้ใช้ ท้ังนี้ควรมี
1) คุณภาพของบรกิ าร ท่ที ราบได้ การแบ่งกลุ่มผู้ใช้ เช่น แบ่งตามสาขาวิชา แบ่ง
จากความพงึ พอใจของผู้ใช้บรกิ าร ตามหน้าที่ในองค์กร เป็นต้น เพ่ือให้ง่ายต่อการ
เขา้ ใจผู้ใช้กลุม่ น้ัน ๆ
2) การไหลเวยี นของสารสนเทศจาก
หอ้ งสมดุ ไปสูผ่ ู้ใชบ้ รกิ าร อยา่ งไรกต็ าม ผ้ใู ชโ้ ดยทวั่ ไปมักมี
พฤติกรรมการใช้สารสนเทศท่ีผู้ให้บริการควร
3) การประสานงาน (การสอ่ื สาร) รับทราบ คือ พิจารณาจากความสะดวกในการ
ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ล า ก ร ใ น วิ ช า ชี พ เ ดี ย ว กั น แ ล ะ ท่ี เข้าถึงแหล่งสารสนเทศเป็นสาคัญ แม้ว่าแหล่ง
เก่ียวขอ้ ง และการได้รบั ความร่วมมอื สารสนเทศนั้นจะไม่ใช่แหล่งท่ีดีที่สุดท่ีจะให้
สารสนเทศก็ตาม (พิมลพรรณ เรพเพอร์, 2544,
4) ความรับผิดชอบต่อภาพลักษณ์ หน้า 63-64) โดยแหล่งสารสนเทศท่ีผู้ใช้ทั่วไป
และบทบาทของวชิ าชพี ใชเ้ รยี งตามลาดับ คอื

5) การใชค้ วามคดิ แบบกลยุทธ์ 1) ใช้แหล่งความร้ขู องตนเองเป็น
(strategic thinking) คือ การคิดท่ีกาหนด อันดับแรก เช่น ห้องสมุดในบ้าน สมุดโน้ตที่
แนวทางอย่างมีเป้าหมายบนพ้ืนฐานของความ บันทึกเรื่องราวหรือข้อความที่บันทึกไว้ท้ังเป็น
เป็นจริง และมองการณ์ไกลในการพัฒนาการ เป็นข้อความหรือสารสนเทศ เหล่าน้ีอาจจะมี
จัดบริการสารสนเทศท่ีสามารถตอบสนองความ ข้อผิดพลาดหรอื ไมส่ มบูรณ์
ต้องการของผู้ใช้ได้อยา่ งเหมาะสม
2) ปรกึ ษาเพ่อื นหรอื ผูร้ อู้ นื่ ๆ การ
4. ผู้ใช้บริการ เป็นองค์ประกอบท่ี พูดคุยหรือปรึกษาเพ่ือนและผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญ
เป็นสิ่งที่คนส่วนมากนิยมปฏิบัติกัน เม่ือได้รับ
สาคัญ นอกเหนือจากทรพั ยากรสารสนเทศ และ คาอธิบายจนเป็นท่ีเข้าใจหรือได้รับการแนะนา
ผู้ให้บริการ (Koivula, 1998) เน่ืองจากหากไม่มี ให้ไป ค้นคว้ าจาก หนังสื อ เอ กสาร หรื อ
ผู้ใช้บริการ ห้องสมุดท้ังในแง่ของสถานที่และ
สภาพแวดล้อม ตลอดจนทรัพยากรสารสนเทศ
และผู้ให้บริการ ไม่สามารถต้ังอยู่ได้ ด้วยเหตุนี้
ในการดาเนิน งานทั้งปวงของห้องสมุดจึงเป็น
ไปเพื่อผู้ใชเ้ ปน็ สาคญั

38 วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ที่ 18 ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559

ทรัพยากรสารสนเทศอ่ืน ๆ ซึ่งมีผลทาให้เกิด แนวทางในการสร้างกลุ่มหรือขนาดของผู้ใช้ท่ี
การใช้ห้องสมดุ ตามมา แน่นอน จะทาให้สามารถจัดแหล่งสารสนเทศ
และบริการสารสนเทศให้สอดคล้องกับความ
3) ใช้บริการจากสถาบนั บริการ ตอ้ งการของผู้ใช้ และเป็นข้อมูลในการปรับปรุง
สารสนเทศท่อี ยู่ใกลต้ วั ในการศกึ ษาพบว่า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง บ ริ ก า ร โ ด ย พิ จ า ร ณ า จ า ก
ปัจจุบันผู้ใช้เดินทางเข้าใช้ห้องสมุดน้อยลง เช่น ปฏิกริ ยิ าสะทอ้ นกลบั ของผู้ใช้
ในประเทศออสเตรเลียท่ีมีการสารวจการใช้
หอสมุดแหง่ ชาติพบว่า ในปี 1998 มีผู้ใช้ที่มีอายุ 5. เทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็
ต่ากวา่ 35 ปี เพยี งรอ้ ยละ 38 ลดลงจากปี 1993
ซึ่งมีผู้ใช้ร้อยละ 72 แต่มีการใช้บริการผ่าน องคป์ ระกอบที่เกิดขึ้นในภายหลัง และทาให้การ
อินเทอร์เน็ตมากขึ้น ทั้งการเข้ามาเพื่อใช้ จัดบริการสารสนเทศเป็นไปได้อย่างสะดวกและ
รายการทรัพยากรสารสนเทศ หรือบริการ รวดเร็ว จากห้องสมุดไปสู่ผู้ใช้ได้อย่างมีข้อ
สารสนเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะเม่ือหอสมุด จากัดน้อยข้นึ
แห่งชาติได้สร้างแบบฟอร์มร้องขอใช้บริการ
แบบออนไลน์พบว่า มีการส่งคาถามด้วยอีเมล์ ปจั จบุ ัน เทคโนโลยสี ารสนเทศมี
เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 183 (Missingham, 1999) ความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว จึงทา
ดังน้ันจะเห็นว่ารูปแบบการติดต่อระหว่างผู้ใช้ ใ ห้ มี ห น่ ว ย ง า น ม า ก ม า ย น า เ ท ค โ น โ ล ยี
กับห้องสมดุ เปลี่ยนไป สารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานมาก
ยงิ่ ขน้ึ เชน่ เดยี วกับหน่วยงานภายในห้องสมดุ
การศกึ ษาผใู้ ชท้ าได้หลายวิธี ได้แก่
1. การสารวจพฤติกรรม ความ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
สนใจ และความต้องการของผู้ใช้บริการ ซึ่งอาจ ในการจดั บริการสารสนเทศ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถ
ก ร ะ ท า ไ ด้ ทั้ ง แ บ บ เ ป็ น ท า ง ก า ร แ ล ะ ไ ม่ เ ป็ น เข้าถึงสารสนเทศโดยไม่มขี อ้ จากัดด้านเวลาและ
ทางการ สถานท่ี (anywhere anytime) อย่างไรก็ตาม มี
2. การวิเคราะห์จากขอ้ มลู ท่ีรวบรวม ข้อควรต้องพิจารณา คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ไว้ เช่น การวิเคราะห์การอ้างถึงเอกสารต่าง ๆ มักต้องนาเข้าจากต่างประเทศและมีราคาแพง
ในผลงานของผู้ใช้ การวิเคราะห์จากสถิติการใช้ ทาให้ประเทศเสียดุลการค้าและขาดการพัฒนา
บริการสารสนเทศ การวิเคราะห์จากสถิติการ องค์ความรู้ที่เหมาะสมกับสภาพสังคมไทย
ยืมทรัพยากรสารสนเทศ การศึกษาจากคาถาม ดังนัน้ การพิจารณานาเทคโนโลยีสารสนเทศมา
ที่ให้ บริการ การศึกษาจากสถิติการยืมระหว่าง ใช้ในงานบริการสารสนเทศ จึงควรคานึงถึง
หอ้ งสมุด เปน็ ตน้ ความเหมาะสมและแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ก า ร ศึ ก ษ า ผู้ ใ ช้ มี ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ (นฤมล รกั ษาสขุ , ม.ป.ป.)
ประโยชน์หลายประการ กล่าวคือ ช่วยทาให้
ผู้ให้บริการทราบเร่ืองราวและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ป็ น เ ท ค โ น โ ล ยี
กับผูใ้ ช้ในด้านตา่ ง ๆ สามารถใช้ข้อมูลเพื่อเป็น สารสนเทศหน่ึงท่ีสาคัญท่ีห้องสมุดสามารถ
นามาประยุกต์ใช้เพ่ือจัดบริการสารสนเทศได้
เน่อื งจาก

วารสารมนษุ ยสงั คมปรทิ ศั น์ ปี ท่ี 18 ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559 39

1) อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งรวบรวม บริการข่าวสารทันสมัย บริการส่งผลการค้น
สารสนเทศบางประเภทที่ไม่สามารถค้นหาได้ใน ข้อมูล เปน็ ตน้
หอ้ งสมุด
5.3 การบริการเผยแพร่และประชา-
2) ผ้ใู ช้สามารถเข้าถึงเอกสาร สัมพันธ์สารสนเทศไปยังผู้ใช้หรือชุมชน เช่น
อิเลก็ ทรอนิกส์ได้ การประชาสัมพันธ์บริการสารสนเทศต่าง ๆ ทั้ง
ในด้านประเภท ลักษณะ ระเบียบ และช่องทาง
3) อินเทอร์เน็ตเป็นท่ีรวบรวมวัสดุ กา ร ติด ต่ อ ส่ื อ สา ร ก า รเ ผ ย แพ ร่ บริ ก า ร
รู ป แ บ บ พิ เ ศ ษ ที่ ส า ม า ร ถ ค้ น ห า ไ ด้ จ า ก บรรณานุกรม สาระสังเขป และบรรณนิทัศน์
เวลิ ด์ไวดเ์ วบ็ (WWW) บริการสอนและแนะนาการใช้ห้องสมุด ตลอดจน
การเผยแพร่สารสนเทศเร่ืองทั่วไปที่น่าสนใจ
4) อินเทอร์เน็ตเป็นท่ีรวบรวมข่าว และนิทรรศการ
จากสานักข่าว หรือหนังสือพิมพ์ เป็นแหล่งข่าว
ขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตาม ต้องเน้นย้าว่าข้อมูล นอกจากนี้ การท่ีมีเครือข่ายสังคม
ในข้อน้ี มกั เป็นข้อมลู ทไ่ี ม่มกี ารตรวจสอบ ออนไลน์ (Social Network) เช่น เฟซบุ๊ค
(Facebook) ไลน์ (Line) ทวิตเตอร์ (Twitter)
5) อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางในการ เป็นต้น และผู้คนจานวนมากต่างใช้เครือข่าย
ติดตอ่ สอ่ื สารระหว่างบคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คล สังคมออนไลน์ในการสื่อสาร ดังน้ันบรรณารักษ์
จึงสามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานบริการ
ดังนน้ั บรรณารักษบ์ ริการสารสนเทศ สารสนเทศได้ด้วยเช่นกัน
จึ ง ส า ม า ร ถ ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ พื่ อ จั ด บ ริ ก า ร
สารสนเทศไดด้ ังน้ี บทสรปุ

5.1 การค้นหาสารสนเทศและ เ พ่ื อ ใ ห้ ห้ อ ง ส มุ ด ส า ม า ร ถ บ ร ร ลุ
แหล่งสารสนเทศ ที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้ วัตถุประสงค์สาคัญที่ต้ังไว้ คือ การให้บริการ
โดยตรง และการปฏิบัติงานบริการสารสนเทศ สารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการได้อย่างสะดวกและ
อน่ื ๆ เชน่ รวบรวมข้อมลู เพ่อื ให้บริการเผยแพร่ รวดเร็ว บรรณารักษ์จึงควรจัดเตรียมบริการ
สารสนเทศและนิทรรศการ บริการข่าวสาร ส า ร ส น เ ท ศ ท่ี ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม
ทันสมยั เป็นตน้ ชุมชน ความต้องการของผู้ใช้ โดยคานึงถึง
บริบทของห้องสมดุ ใหม้ าก
5.2 การติดตอ่ สื่อสารระหว่าง
บรรณารักษ์ในหน่วยงาน บรรณารักษ์ภายนอก
หน่วยงาน และผู้ใช้ในบริการสารสนเทศต่าง ๆ
เช่น บริการให้ยืมทรัพยากรสารสนเทศ บริการ
ยืมระหว่างห้องสมุด บริการจองหนังสือหรือ
บริการหนังสือสารอง บริการตอบคาถามและ
ชว่ ยการค้นควา้ บรกิ ารแนะนาแหล่งสารสนเทศ

40 วารสารมนษุ ยสงั คมปริทศั น์ ปี ท่ี 18 ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559

เอกสารอา้ งองิ มาลี ล้าสกุล. (2555). ผู้ใช้และการ
บริการสารสนเทศ. นนทบุรี:
ชุติมา สัจจานันท์. (ม.ป.ป.). บทบาทของ
สมาคมหอ้ งสมดุ แห่งประเทศ ศูนย์หนังสอื มหาวิทยาลยั สุโขทยั
ไทยฯ ในการกาหนดมาตรฐาน ธรรมาธิราช.
ในงานหอ้ งสมดุ . คน้ ขอ้ มูล 28 สุวรรณ อภยั วงศ.์ (2542). การตลาดใน
สงิ หาคม 2558, จาก www.tla.or.th/ งานบรกิ ารสารสนเทศ.
document/standard/library1.ppt.
มหาสารคาม: คณะมนษุ ยศาสตร์
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (ม.ป.ป.). และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
โมดูล 4 การจัดบริการสารสนเทศ ราชภฏั มหาสารคาม.
และกิจกรรมสง่ เสริมการอา่ น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, สานักหอสมุดและ
ค้นข้อมลู 25 สงิ หาคม 2558, จาก ทรัพยากรการเรยี นรู้. (ม.ป.ป.)
http://www.car.chula.ac.th/ การยืมระหวา่ งหอ้ งสมดุ . คน้
teacher/Module%204.pdf.
ข้อมูล 26 สงิ หาคม 2558, จาก
ธนู บญุ ญานวุ ัตร. (2550). แหลง่ http://library.kku.ac.th/library2013
สารสนเทศ. ค้นข้อมลู 25 /index.php?option=com_content
สงิ หาคม 2558, จาก https://tanoo. &view=article&id=306&Itemid=
wordpress.com. 711.
Gosling, M. (1999). Learn reference
นฤมล รักษาสขุ . (ม.ป.ป.). การจดั บริการ work. Canberra: DocMatrix
สารสนเทศ. คน้ ข้อมลู 26 สงิ หาคม
2558, จาก sutlib2.sut.ac.th/learning/ Pty.
school/Social/204215_1.ppt. Koivula, T. (1998). Discussion group

นา้ ทพิ ย์ วิภาวนิ . (2534). กลยทุ ธ์การ on reference work report :
วางแผนงานบริการสารสนเทศ.
ชบอ.สาร, 11(3), 1-7. Summary of special libraries.

พิมลพรรณ เรพเพอร.์ (2535). บริการ Retrieved January 21, 2005,
ตอบคาถามและบริการสารนเิ ทศ from http://www.ifla.org/VII/dg/
เพอ่ื ชว่ ยการคน้ คว้า. กรุงเทพฯ: dgrw/encl-04.htm.
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะ
มนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
รามคาแหง.

วารสารมนษุ ยสงั คมปรทิ ศั น์ ปี ที่ 18 ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2559 41

Missingham, R. (1999). Where in the Texas Library Association Intellectual
works is all the information? : Freedom Handbook. (1996).
A national reference service : Code of ethics (5th ed.).
New opportunities. Retrieved
November 2, 2004, from http:// Retrieved December 11, 2004,
www.csu.edu.au/special/raiss99/ from http://www.txla.org/pubs/
papers/rmissingham/missingham. ifhbk.html#ALA-COE.


Click to View FlipBook Version