The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lalisa sukkham, 2019-12-14 08:38:01

611110611

611110611

แฟ้มสะสมผลงาน
รหสั วชิ า 2308-2106 วิชาศิลปะไทย

ผู้จัดทา
นางสาวลลษิ า สขุ ขา

เสนอ
อาจารยเ์ ดชา มง่ิ ระกู

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษาปีการ 2562
วทิ ยาลัยการจัดการเพชรเกษม

บัวหลวง (The Sacred Lotus)
บัวหลวงเป็นพืชน้าที่มคี วามสาคัญยง่ิ โดยถอื วา่ เป็นราชนิ ีแหง่ พื้นนา้ ที่มีความงามและประโยชน์

นานปั การ นอกจากความสาคัญทู างพฤกษชาตแิ ลว้ บวั หลวงยงั มีความสาคัญย่ิงในพระพุทธศาสนา ทงั้
สัญลักษณแ์ ละอามิสบูชา

ดอกบวั สัตตบงกช (Roseum Plenum)

ดอกบัวสัตตบงกช ดอกมขี นาดใหญ่ กลบี ดอกซ้อนกันมาก ดอกตมู มีทรงแปน้ มีชือ่ เรียกอีกอย่างหน่ึงวา่
บวั หลวงแดง หรอื บวั ฉัตรแดง ดอกนาไปบชู าพระ ใบนามาหอ่ ของเช่นเดียวกับบัวหลวงปทุม กลีบชน้ั ในชาว
มาเลเซียนามาตาพอกแก้ซฟิ ิลซิ ชาวชวาใชเ้ ปน็ ยาแก้ทอ้ งรว่ ง ก้านและใบสามารถนามาทายาหอม แกไ้ ข้ ยา
ธาตุ ฟอกโลหติ บัวสตั ตบงกช นิยมขยายพันธุโ์ ดยการแยกไหลเปน็ สว่ นใหญ่ เน่ืองจากดอกไม่

บัวสตั บุ (Nymph Lotus Linn)

บวั สัตบุ หรอื ดอกบัวขาว ดอกใหญส่ ีขาว ในทางกวีเรียกว่าโกมทุ เศวตอบุ ล สัตบุในเมอื งไทยเรารู้จักบวั
สายมานานนกั หนาแล้ว เฉพาะประโยชน์ของบวั สายในชีวติ ประจาวนั ของคนไทยนนั้ เราใช้ลาต้นที่
เรยี กว่า "สายบัว" เปน็ อาหารมาช้านาน ทั้งจ้ิมน้าพรกิ ผัด และต้มกรไทยเรยี กบัวสายว่าอบุ ลชาติ ชาวอินเดีย
เรียกว่า โกมุท หรอื วิกาสี สายในเมืองไทยมหี ลายชนิด เช่น บวั ขาว บัวแดง บัวขาบ บัวเผือ่ น บัวผัน แล

กระจงั ตาออ้ ย

กะจงั ตาอ้อย หมายถึง ตาออ้ ย หรอื กระจงั ตาอ้อย ทรงตัวอย่ใู นรูปส่ีเหล่ยี มดา้ นเทา่ มที รงตวั เสน้
อ่อนเรยี วทง้ั ซา้ ย และขวาปลายยอดแหลมมีบาก (คอื หยัก) ทง้ั สองขา้ ง เมอื่ อยู่เฉพาะตวั เด่ียวๆเรียกวา่ ตา
อ้อย เม่อื เข้าประกอบเป็นลายตดิ ตอ่ ซา้ ยและขวา เช้น เขยี นเปน็ ลายบวั หงายบวั ควา่ เปน็ ตัวอย่างของใบ
กระจังเทศ เช่นเดยี วกบั กระจังฟันปลา แตเ่ ปน็ ตัวยอ่ ตัวทส่ี องรองจากกระจงั ฟนั ปลา เปน็ ลายตดิ ต่อซ้าย
และขวา

ลายพุ่มทรงขา้ วบิณฑ์
ลายพุม่ ทรงข้าวบณิ ฑ์ หมายถงึ คา่ ว่าพุ่มข้าวบิณฑ์นท้ี างการชา่ งศิลปะไทยแต่เดิม ทา่ นกา่ หนดเอา

รปู ลกั ษณะทรวดทรงภายนอกจากบาตรพระ พุ่มข้าวบณิ ฑจ์ า่ แนกออกในรูปลักษณะ และความหมาย
สา่ หรบั ใชใ้ นงานตา่ ง ๆ กนั คอื

1. เป็นทรงพุม่ ใชเ้ ป็นเคร่ืองตกแต่งหลังคาเรือนยอด โดยปักอยสู่ ่วนบนสุดของยอดบษุ บก ยอดมณฑป ยอด
ปราสาท ยอดมงกุฎ (พระวหิ ารยอดในวดั พระศรีรัตนศาสดาราม) ยอดเทยี นเคร่ืองบชู า
2. เปน็ ทรงพุม่ ดอกไม้สด สา่ หรับจัดพานเป็นเครอ่ื งนมสั การหรือถวายสกั การะพระพทุ ธปฏิมา พระพุทธ
บาท พระบรมสารีริกาธาตุ เทพยอดา พระบรมอัฐขิ องพระมหากษตั รยิ ์ในอดีต
3. เป็นทรงของสว่ นยอดเจดีย์ในสมัยสโุ ขทัยเรยี กวา่ เจดียย์ อดทรงขา้ วบณิ ฑ์
4. เป็นทรงพุ่มดอกไม้เงนิ ดอกไมท้ อง สา่ หรับเจา้ หน้าที่เชญิ เข้าในขบวนเครื่องสงู แทนจารมร
5. เปน็ ช่ือลายอยา่ งหนึ่งซึง่ มีลกั ษณะของทรงพมุ่ เข้าตามรูปทรงของข้าวบิณฑบาต หรอื ทรงดอกบัวตูม
ลายที่ประดษิ ฐ์อย่ใู นทรงพ่มุ นเ้ี รียกว่า ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ แบง่ ออกเปน็ สามประเภท คอื ลายพมุ่ ข้าวบิณฑ์
ดอกลาย กา้ นแย่งและโคมแยง่ ทัง้ สามประเภทน้ียงั แบง่ เปน็ ชนดิ ของลายไดอ้ ีกสามชนดิ คอื ลายพุ่มขา้ ว
บิณฑธ์ รรมดาหน้าสงิ ห์ และเทพประนม

กระจังใบเทศ
กระจงั ใบเทศ หมายถงึ มที รงภายนอกออ่ นเรยี วเหมอื นกระจังตาอ้อย แต่ภายในตัวมีสอดไสต้ ง้ั แต่

หนึง่ -สอง-สาม ขน้ึ ไป กระจังใบเทศมีวิธแี บ่งตวั ได้ หรือสอดไส้ได้หลายวธิ ีเมอ่ื ตัวยิ่งโตขึ้นกย็ งิ่ แบง่ ตวั มาก
ขนึ้ และใสต่ ัวซอ้ นมากข้นึ การแบ่งจงั หวะรอบตัวของกระจงั ใบเทศน้เี รียกวา่ "แข้งสงิ ห์" เม่ือตัวกระจงั ใบ
เทสใบยิ่งโตข้นึ เทา่ ใดแข้งสงิ ห์กจ็ ่าตอ้ งแบง่ ตวั ตามขึน้ ไปดว้ ย การแบง่ แข้งสงิ ห์ใหเ้ ปน็ ลา่ ดับติดตอ่ กันไมไ่ ด้
กเ็ ท่ากับเขยี นกระจังใบเทศไม่เป็น

กระจงั ปฏญิ าณ
กระจังปฏญิ าณ หมายถึง กระจงั หู หรอื กระจงั ปฏภิ าณ ค่าผวน: กระจานปฏิพัง จะบรรจุอยู่

สี่เหลี่ยมผนื ผ้า ซึ่งมีสัดสว่ น กว้าง : สูง 1: 3 ตอนบนมีทรงเหมอื นกระจังใบเทศ แลว้ ตอ่ ก้านลงมาเป็นลาย
กระหนกทั้งซ้ายและขวา ตรงกลางเปน็ ลักษณะกระจังตาอ้อยหรอื กระจงั ใบเทศ

ลายแขง้ สงิ ห์
ลายแข้งสงิ ห์ หมายถงึ ส่วนหน้าของขาสิงห์ตรงท่เี ปน็ สันเรียกการพันกระดาษซ่งึ ซอยใหเ้ ปน็ ชิน้ เลก็

ๆ ทีด่ ้ามธงว่า พนั แขง้ สิงห์.

ลายประจ่ายาม
ลายประจา่ ยาม หมายถึง ลายประจา่ ยาม เป็นลายไทย พื้นฐานอกี ประเภทหนง่ึ นอกเหนือจากลาย

กระจงั และลายกระหนก เปน็ ลายทีใ่ ช้สา่ หรับการออกลาย ผูกลาย (ประดษิ ฐล์ าย) ส่าหรับลายอืน่ ๆ ตอ่ ไป
เช่น ลายรักรอ้ ย ลายหน้ากระดาน ลายประจ่ายามก้านแยง่ และลายราชวัตร เป็นต้น

ลายกระหนก 4 แบบ
ลายกระหนก หมายถงึ ลายกระหนก เปน็ ลายพน้ื ฐานหนง่ึ ท่สี ่าคญั ของลายไทยในงานจติ รกรรมไทย

มีพน้ื ฐานจากสามเหลย่ี มชายธง (สามเหลี่ยมมุมฉาก) อาจมีตวั เดียว หรือหลายตัวก็ได้ มกั มฐี านมุมแหลม
หนั ไปทางเดียวกัน โดยมขี นาดและสดั สว่ นท่ีแตกตา่ งกันไป ลายกระหนกทส่ี า่ คัญ ได้แก่ กระหนกสามตัว
กระหนกเปลว กระหนกใบเทศ กระหนกหางโต เปน็ ตน้

ลายช่อหางโต
ลายช่อหางโต หมายถงึ เป็นแมล่ ายลา่ ดับที่ ๔ไดค้ วามคดิ ประดษิ ฐล์ ายมาจากรูปทรงพหู่ างสงิ โต

นา่ มาเขียนเปน็ ลายกระหนกในรูปทรงของกระหนกสามตวั เรยี ก ลายหางสิงโตเพื่อให้กะทดั รัดในการ
เรียกช่ือจึงตดั ค่าวา่ สงิ ออกเรียกว่า ลายกระหนกหางโตและชื่อของลายน้จี ะไปใกล้เคยี งกบั ชอ่ื ของลายช่อ
กระหนกหางโตฉะน้ัน เวลาเขียนลายแต่ละลายตอ้ งจ่าวา่ ลายกระหนกหางโตอยใู่ นรปู ทรงกระหนกสามตัว
สว่ นลายช่อกระหนกหางโตจะอยู่ในทรงพุม่ ช่อมีก้านต่อลงมา

ยอดเถาลาย
ยอดเถาลาย หมายถึง เปน็ ลายพน้ื ฐานอีกแบบหนง่ึ ทส่ี า่ คัญของลายไทย นอกเหนือจากลายกระจงั

ลายกระหนก ลายประจา่ ยาม ลายประเภทนจี้ ะเขียนในลกั ษณะคดโค้งหลายแนว แตะหรอื สอดสลับกนั
คล้ายการเก่ียวพันของเถาวัลย์ โดยมีกระหนกออกจากกาบหุ้มเถาไว้

ลายสงิ ห์
ลายสิงห์ หมายถงึ สงิ หโ์ ต (เขยี นแบบเกา่ ) ไมใ่ ช่สัตวพ์ ้นื เมืองของไทย ในหนงั สอื มหาชาติค่าหลวง

ซ่ึง แต่งเม่อื ประมาณ พ.ศ. ๒๐๕ สมัยกรุงศรอี ยธุ ยายงั ไม่มคี า่ วา่ สิงหโ์ ต ใช้ ตัวอยา่ งเชน่ ข้อความท่ีว่า
“อถ ตโต เทวปุตตฺ า สาธตู ิ ตาส่ เทวตาน่ วจน่ ปฏสิ ุณติ วฺ า กษณไตรเทเวศ วรฤทธิ เม่อื รับสนทิ ในพนาดถ์
แห่งอศิ รเทวราชวาที สหี พยฺ คฺฆทปี ิโน หตุ วฺ า เปนราชสีห เสือโคร่ง เสือเหลือง มมี หทิ ธิเรอื งกาจก่าแหง”
นเ่ี ป็นการแปลทบั ศพั ท์ สีห และแปลค่าว่า พยฺ คฺฆทีปโิ น หตุ วฺ า เปน็ เสือโคร่ง เสอื เหลือง เพราะสตั ว์ ๒
ชนิดหลงั นี้มีอยปู่ ระเทศไทย บางครง้ั กแ็ ปลวา่ สิงหราช เชน่ “วเน วาฬมคิ ากิณฺเณ เสือโครง่ ควายสิงหราช
คชสหี ดาษคชสาร”


Click to View FlipBook Version