The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

4.ภาคใต้ฝั่งตะวันออก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prindol007, 2018-11-21 09:30:00

4.ภาคใต้ฝั่งตะวันออก

4.ภาคใต้ฝั่งตะวันออก

ชมรมอนรุ ักษป์ า† ชายเลนต�าบลหัวเขา
จัดกิจกรรมท่องเท่ียวป†าชายเลนบา้ นหัวเขา
เปดรับคณะศกึ ษาดงู าน เดนิ ศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลน
ชมปา่ ดสู ัตวล่องเรือไปปลูกปา่ ชายเลนรว่ มกบั ชาวบา้ น

เวลาไปปลกู ป†าชายเลน

เราปลูกตน้ อะไร

บา้ งนะ

เมอ่ื ป†าชายเลน¿„œนคนื มา ความอุดมสมบูร³์ของทอ้ งทะเลกçกลับคืนมา
ชาวประมงกกç ลบั มาท�าอาชีพได้เชน่ เดมิ

โครงการพัฒนาและฟ„œนฟปู า† ชายเลนบŒานหวั เขา
ต.หัวเขา อ.สิงหนคร จ.สงขลา
เปดทุกวนั เวลา ๐๗.3๐-๑๗.3๐ น.
๐8 ๗899 ๑๑๕3, ๐8 ๑๗38 9๔๑๗
ชมรมอนรุ กั ษปา่ ชายเลน ต หัวเขา อ สงิ หนคร จ สงขลา การเดนิ ทาง ๕๑

สนกุ เรียนรู้ แกป้ ญั หาน้�าท่วม
âครงการปอ‡ งกันและบรรเทาอทุ กภัยเมืองชุมพร
ตามพระราชด�าริ จ.ชุมพร

พระราชา¼แู้ ก้ความทุกขเ์ ร่ืองนา�้ ทว่ ม
พระองคท รงทราบถึงความเดอื ดร้อนของชาวเมืองชุมพร
ท่ปี ระสบปญ˜ หานา�้ ท่วมตวั เมอื งทกุ ปี
สาเหตเุ พราะเมืองชมุ พรเปน็ ที่ราบลมุ่ สองฝ˜ง› คลองท่าตะเภา
หนา้ ฝนน�า้ จะลน้ ตลงิ่ เขา้ ทว่ มพ้ืนที่บา้ นเรอื นในตวั เมืองชมุ พรเสยี หาย
พระราชาจึงไดล้ งมือหาวิธชี ว่ ยแกป้ ˜ญหาน�้าทว่ มให้กับชาวเมอื งชมุ พร

น้า� ท่วมใหญ่ ò คร้ัง

เมอื งชุมพรเจอปญั หา
นา้� ท่วมใหญอ่ กี ò ครั้ง
จากพายุไตฝ้ †นุ เกย์ ป‚ òõóò

๕๒ และจากพายุâ«นรอ้ น«ีตา้ ป‚ òõôð

๕3

พระราชาแกป้ ัญหาน้�าทว่ มชุมพรไดย้ ังไงนะ

ขุดคลองระบายน้า� หัววัง-พนงั ตกั
ชว่ ยผนั น้�าจากคลองท่าตะเภาออกสทู่ ะเลโดยตรง
แกป้ ญ˜ หาน้�าจากคลองท่าตะเภาล้นตลิง่ ท่วมเมอื ง
จัดระบบประตรู ะบายน้�า
สร้างประตรู ะบายนา้� หลายแห่งเพ่อื ผนั นา้�
จากคลองทา่ ตะเภาเขา้ สู่คลอง

âครงการพั²นาพ้ืนที่หนองใหญ่
ตามพระราชดา� ริ
ขดุ ลอกบรเิ วณหนองใหญ ่ เพอื่ ใชเ้ ปน็ แกม้
ลงิ เกบ็ นา้� ในยามนา�้ มาก และเปน็ แหลง่ เกบ็ นา้�
ไวใ้ ชใ้ นหนา้ แล้งด้วย

บรเิ วณหนองใหญ

แก้มลงิ คืออะไร เมอื งชมุ พร
ใครรบู้ ้าง

ทา� ไมต้องแกม้ ลิง
พระราชาอธิบายว่า “ลงิ โดยทว่ั ไป ถŒาเราส‹งกลวŒ ยใหŒ ลงิ จะรบี ปอก
เปลอื กเอาเขาŒ ปาก เคยี้ วแลวŒ นาํ ไปเกบ็ ไวทŒ แี่ กมŒ กอ‹ น ลงิ จะทาํ อยา‹ งนจ้ี น
กลŒวยหมดหวี หรอื เตม็ กระพุŒงแกมŒ จากนั้นจะค‹อยๆ นําออกมาเคีย้ ว

๕๔ และกลืนกนิ ภายหลงั ”

ท่องเที่ยวเชิงอนรุ ักษ์ท่ี…
âครงการพั²นาพ้ืนที่หนองใหญ่ ตามพระราชดา� ริ

เดçกæ รู้ม้ยั
“หนอง”
คืออะไรกนั นะ
“หนองเปนš พ้ืนท่ีน�า้ เคมç
หรือน�า้ จดื ”

เกาะชมนกชมไม้ หนองใหญ่ เป็นหนองนา�้ ธรรมชาติขนาดใหญ่
ชมตน้ ไม้นานาชนิด มตี ้นไมร้ ม่ รืน่ เป็นทอี่ ยอู่ าศยั ของนกนานาชนิด
ที่เปน็ อาหารนก เหมาะให้ทอ่ งเทีย่ วพักผอ่ นหย่อนใจ
และเป็นแหล่งเรียนรูก้ ารอนุรกั ษ
ฟน„œ ฟูทรัพยากรธรรมชาติ

สะพานไมเ้ ค่ยี ม แก้มลงิ หนองใหญ่
ทางเดินไมย้ าวขา้ มหนองน้า� ไปสเู่ กาะ ในชว่ งน�้ามาก หนองใหญเ่ ป็นพืน้ ที่รับนา�้
หรือ “แกม้ ลงิ ” กักน�้าไว้ชัว่ คราว
เปน็ จุดชมทวิ ทศั นท่สี วยงาม ก่อนระบายน�า้ ออกไป เปรยี บได้กบั แก้มลงิ
สะพานท�าจากไมเ้ คีย่ ม ไมเ้ น้ือแขง็
ทม่ี มี ากในภาคใต ้ เน้ือไม้แขง็ แกร่ง เก็บรองรบั นา�้ ฝนไว้กอ่ น
ชว่ ยบรรเทาป˜ญหาน�า้ ท่วมได้
ทนได้ทั้งน้�าจดื น�้าเค็ม

โครงการปอ‡ งกันและบรรเทาอทุ กภัยเมอื งชุมพร ตามพระราชดาํ ริ ชมุ พร
โครงการพฒั นาพ้นื ที่หนองใหญต‹ ามพระราชดาํ ริ
ต.บางลึก อ.เมอื ง จ.ชมุ พร
เปด ทกุ วัน เวลา ๐8.๐๐ -๑๗.๐๐ น.
๐ ๗๕๔๑ ๖๑๒๗ ๕๕
การเดินทาง

ไปรจู้ ักปญั หา ô น้า� ó รส
âครงการพั²นาพนื้ ที่ลุ่มน�า้ ปากพนัง
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา� ริ จ.นครศรีธรรมราช

เมื่อเกดิ ปญั หา ô น้า� ó รส
ประชาชนเดอื ดร้อนท�าการเกษตรไม่ได้
พระราชาปราชญแ์ หง่ สายนา้� ให้แนวทางแกป้ ัญหา
ดว้ ยการสร้างระบบจัดการน้�าท้ังล่มุ น้า�

ในอดีต ลุ่มน้�าปากพนงั แหง่ นเี้ คอยเปน็ พน้ื ที่อุดมสมบรู ณ เป็นอู่
ข้าวอนู่ ้า� แห่งภาคใต ้ ชาวบ้านมีอาชีพทา� นาเปน็ หลัก
วกิ ฤตนา้� เกดิ ขน้ึ เมอ่ื เขอ่ื นธรรมชาต ิ หรอื ปา่ ตน้ นา้� ล�าธารถกู ท�าลาย
เกิดน�้าท่วมใหญ่เมื่อปี ๒๕3๑ หลังจากนั้นน้�าเค็มรุกเข้าไปในแม่น�้า
ปากพนัง ท�าให้ขาดแคลนน�้าจืด มีการปรับเปล่ียนพื้นที่นาข้าวเป็น
นากุ้ง เกิดป˜ญหาน้�าเสีย น้�าเปร้ียวออกจากพ้ืนที่พรุ และน้�าเสียจาก
การเล้ียงกงุ้

๕๖

๕๗

พื้นท่ีลุ่มนา�้ ปากพนัง

พืน้ ท่ลี ุ่มนา้� ปากพนังครอบคลุมพื้นทปี่ ระมาณ ๒,๒๗๕,๕๐๐ ไร ่ มีพ้ืนท่ี
ปา่ ตน้ นา้� บนเทอื กเขา ทร่ี าบ แมน่ า้� ลา� คลอง และชายฝง›˜ ทะเล เกดิ เปน็ พนื้ ที่
ระบบนิเวศ 3 น้�า คอื น�า้ จดื นา้� เค็ม และน้า� กร่อย

ปญั หา ô น้า� ó รส คอื อะไร

นา้� เคมç นา้� แล้ง
นา�้ ทะเลหนุนรกุ น�้าจืด ขาดแคลนนา้�
ในยามหน้าแลง้

ô น้า�

น�้าเปรี้ยว นา้� ท่วม
หรือนา�้ เสีย น้�าระบายออกทะเลไดช้ า้
เกิดขนึ้ ในพ้ืนทปี่ ่าพรตุ อนกลาง
ท่มี สี ภาพดินเป็นกรด ó รส นา้� ท่วมขังนาน
ทา� ใหน้ �้าเสียและเปรีย้ ว
● น้�าจดื ขาดแคลนน�า้ จืดในการท�าเกษตร
● นา�้ เคมç นา้� ทะเลหนนุ นา�้ เคม็ ทา� ใหผ้ ลผลติ
การเกษตรเสยี หาย
● นา�้ เปร้ียว ท�าการเกษตรไม่ได้

ศาสตร์พระราชา “รู้ รัก สามัคค”ี ช่วยแกป้ ญั หาล่มุ นา�้
ร ู้ รู้ถึงสาเหตุ รู้ถึงปญ˜ หา และรถู้ งึ วิธกี ารแก้ปญ˜ หา
รัก มีความรกั ในการเขา้ ไปลงมือแกไ้ ขป˜ญหา

๕8 สามัคค ี เราท�างานคนเดียวไม่ได้ ตอ้ งท�างานร่วมมือ ร่วมใจกัน

แ¼นท่ีเรียนร้ภู ายในศนู ย์การเรียนรู้âครงการพั²นาพ

แปลงทดสอบสาธิตตามแนวพระราชด�าริ
แสดงถงึ พชื พนั ธกุ ารเกษตรทปี่ ลูกได้ในพน้ื ท่ลี ุ่มน�า้

คลองบางป

ประตู เขา -ออก

ในวอâารพคกราาะรสบพทาิพ่ีททธิ(สรรภงัชมั³กคเ±าดรลอçจเ์ ©ทงพรล่ีราùิมะชเพ)ยจรา้ค์ ะอรเยบกู่หยี õวัรตðิ ป‚
จัดแสดงความเปน็ มาของโครงการและความรู้
เกยี่ วกบั ลมุ่ น้�าปากพนงั พร

๕9

พน้ื ที่ลุ่มนา�้ ปากพนังÏ

แมน้ำปากพนัง ประตรู ะบายน้�าอทุ กวิภาชประสิทธิ
จดุ เริม่ ตน้ ของโครงการและศูนยร วม
ในการแก้ไขป˜ญหาลุ่มนา�้

อนสุ ร³ส์ ¶านปล่องâรงสีไ¿ การเปด -ปด ประตรู ะบายน�า้
แสดงถงึ ความเป็นอขู่ ้าวของพ้ืนที่ อทุ กวิภาชประสทิ ธิ

ลมุ่ น�้าปากพนงั ในอดตี ต้องใชภ้ ูมปิ ญั ญาในการสงั เกต
น้า� ทะเลขÖ้น-ลง
สังเกตยังไงกนั นะ

เดกç æ ¶ามพ่ีæ เจา้ หนา้ ท่ีดสู ิ

ระตา� หนักปอรา� ะเภทอับปแารกมพเ©นลงั มิ พระเกียรติ เดçกæ ลองคดิ กันหน่อย
ประชาชนร่วมแรงร่วมใจสร้างถวาย ¶า้ บ้านเราน�้าทว่ ม
พระราชา รชั กาลท ่ี 9 สรา้ งแบบสถาปต˜ ยกรรม
ภาคใต้ ภายในมีพิพิธภัณฑ เปดให้เข้าชม เราจะจัดการนา�้ ท่วมขงั ในบ้าน
วันเสาร - อาทติ ย  ๐9.๐๐ - ๑๖. ๐๐ น. ยงั ไงกนั ดีนะ

๖๐

แนวทางพระราชา ● แก้ปัญหาน้�าเคçมและขาดแคลนน�้าจืด
แก้ปัญหา ก่อสรา้ ง “ประตูระบายน้ําอทุ กวิภาชประสิทธิ” ประตู
ô น้า� ó รส ระบายน้�าปดกั้นแม่น้�าปากพนังป‡องกันไม่ให้น�้าทะเล
ไดอ้ ย่างไรนะ รสเค็มรุกล้�าพื้นที่การเกษตร และเก็บน้�าจืดไว้ใช้ใน
ยามหน้าแล้ง

เทอื กเขา ประตรู ะบายนำ้
นครศรีธรรมราช อุทกวภิ าชประสิทธิ

อา งเกบ็ น้ำหวยน้ำใส แมน ำ้ ปากพนัง

๖๑ คลองชะอวด-แพรกเมอื ง

คันแบง เขต
น้ำจืด-น้ำเค็ม

● แก้ปญั หาน�้าเสีย
ป‡องกันนา้� เปรย้ี วออกจากพน้ื ท่ีพรุ
ก�าหนดเขตเพาะเล้ยี งชายฝ›˜ง
และบา� บดั นา�้ เสียชุมชนเฉพาะจดุ
● แก้ปัญหาน�า้ ท่วม
ขุดคลองระบายนา้� ผนั น�า้ ออกสทู่ ะเลใหเ้ รว็ ขน้ึ

แปลงสาธติ ทดลอง...พิพธิ ภ³ั ±
สาธิตการปลูกพืชและเ
ปศุสัตว์ ในลุ่มน้า� ปาก

เชน่ เล้ยี งไก่พันธุศ์ รีวิชัย
เปดš เทศพันธ์ุรอ่ นพบิ ูลย์
แพะ ปศุสตั ว

ปาจาก

แปลงสาธติ

พืชไร่พชื สวน กลว ยน
พชื ผสมผสาน
ท่ีชาวบา้ นนยิ มปลกู ในลุ่มน�า้ ปากพนงั
เชน่ มะนาว มะพร้าว เดçกæ ลองขีดâยง
ภาพแ¼นท
กลว้ ยน้�าวา้ ส้มâอทับทมิ สยาม

๖๒

±์ธรรมชาตทิ ่ีมีชีวิต ประมง สาธติ การท�าประมง
ท้ังน�า้ จดื และน�้าเคมç
เลี้ยงสตั วท์ ่ีเด่น ประมงน�า้ จดื เช่น กุง้ กุลาดา� ปลานลิ
กพนัง ประมงน�า้ เคมç เชน่ ปลากะพงขาว

แปลงสาธติ
ดา นประมง

มะละกอ พชื อนรุ ักษ์พืน้ ¶ิ่น
มะนาแวกว มงั กร เชน่ ไรจ่ าก เสมçดขาว
สม โอ ๖3
พันธทุ บั ทิมสยาม
นำ้ วา

งภาพในวงกลมกับ
ที่แปลงสาธติ

เท่ียวไปเรียนรไู้ ป ในชุมชนลมุ่ น�า้ ปากพนัง

ตะลุยป†าจาก
ศูนย์เรียนรูภ้ ูมิปญั ญาท้อง¶่ิน การทา� น้า� ตาลจาก
ไร่จันทรังษี ต.ขนาบนาก อ.ปากพนงั

เรียนรู้วิถีชวี ติ ชมุ ชนคนท�านา้� ตาล
จากพืชนา�้ กร่อยทนี่ า� มาท�าน้า� ตาลได้

รูไ้ หมน�้าตาลจาก
ที่นอี่ รอ่ ยและมีเพียงที่เดียว

ในประเทศไทย

ส่วนไหนของต้นจาก
ท่ีเอามาท�าน�้าตาล

ลองชิมด«ู ิ น้า� ตาลจาก
รสชาติยังไงนะ

เหมอื นน้า� ตาลทราย

๖๔ ท่ีบา้ นเราไหม

ไปตามหาต้นก�าเนดิ ส้มâอทับทิมสยาม
ชุมชนบา้ นแสงวิมาน ต.คลองนอ้ ย อ.ปากพนงั
ชิมส้มโอเน้ือสีชมพู รสชาติหวานอร่อย ส้มโอพันธุดี
ปรับปรุงพนั ธโุ ดยภูมิป˜ญญาของชาวบา้ นแสงวมิ าน

สม้ âอที่ปลกู ท่ีน่ี
ทา� ไม¶Öงมีรสชาติ

ดจี ัง

ทา� ไม¶งÖ ช่ือ
สม้ âอทับทบิ สยาม

นะ

โครงการพัฒนาพน้ื ทีล่ มุ‹ นา้ํ ปากพนงั อนั เน่ืองมาจากพระราชดําริ
ต.หลู อ่ ง อ.ปากพนัง จ.นครศรธี รรมราช ๐ ๗๕๔๑ ๖๑๒๗
เปด ทกุ วนั เวลา ๐8.3๐ -๑๖.3๐ น.
วันเสาร- วันอาทติ ย หากตอ้ งการเข้าชมตอ้ งแจง้ ลว่ งหน้า
ศนู ยอ�านวยการและประสานการพัฒนาพนื้ ทลี่ ุม่ น�า้ ปากพนัง การเดินทาง
อนั เน่ืองมาจากพระราชด�าริ www.pncenter.com

๖๕

ท่อง¼ืนป†าแหง่ พระเมตตา

âครงการบริหารจัดการปา† พรุâตะ แดง จ.นราธวิ าส

พรุâตะ แดง ป†าพรุขนาดใหญ่
ทยี่ งั คงความอุดมสมบูรณที่สดุ ผนื สดุ ทา้ ยของเมอื งไทย
พรุâตะ แดง ปา† พรุใตร้ ม่ พระบารมี
พระราชาห่วงใยปา่ พรุโตะแดงทเ่ี สอ่ื มโทรมจากการถูกบกุ รกุ ท�าลาย
จงึ มพี ระราชด�าริให้พลกิ ฟ„นœ ป่าพรุผืนน้ีให้อดุ มสมบูรณข นึ้ มาอกี ครงั้
ป†าพรุâตะ แดง
เจ้าหญิงนกั พฒั นาสมเด็จพระเทพรัตนฯ เสด็จมาทีป่ ่าพรแุ ห่งนีห้ ลายคร้ัง
เพื่อทรงศึกษาธรรมชาติ และเส้นทางตามรอยเสด็จนี้ถูกพัฒนาเป็นเส้นทาง
ศึกษาธรรมชาตปิ ่าพรุโตะแดงทคี่ นนยิ มเย่ยี มชม

๖๖

“พรุเราตอ้ งเก็บไว ้ เพราะมคี วามสา� คญั เก่ียวกบั สิง่ แวดลอ้ ม ต้องหา้ มไม่
ใหบ้ กุ รกุ เขา้ ไป คราวนเ้ี ราทา� โครงการทโี่ คกใน เขาจะบกุ รกุ เขา้ ไปไมไ่ ดอ้ กี แลว้
เพราะจ�ากัดบริเวณเขา ในพรุเราก็ส่งเสริมเอาไม้พรุเพ่ิมประสิทธิภาพ อย่าง
ตามขา้ งทางนสี้ วยมาก เหน็ ไมต้ า่ งๆ ไม้หลาวชะโอนก็มี”

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ทรงมพี ระราชด�าริ
ไว้เมอื่ วันท่ี 9 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕3๕

๖๗

ป†าพรุคอื ปา† ดงดบิ ท่ีมีน�า้ ท่วมขงั อยู่ตลอด

ป†าพรุâตะแดง คา� วา่ “พรุ” เปน็ คา� สามญั ท่ชี าวบ้านทางภาคใต้
ใช้เรยี ก “บรเิ วณท่ีเปน็ ท่ลี ่มุ ชมุ่ ชน้ื มนี า้� แช่” ป่าพรุโตะแดงครอบคลมุ
พื้นท ี่ 3 อ�าเภอคอื อ.ตากใบ อ.สไุ หงโกลก และ อ.สไุ หงปาด ี มพี น้ื ท่ี
ประมาณ ๑๒๐,๐๐๐ ไร่ และมีล�าน้�าไหลผ่านคือ คลองสุไหงปาดี
แมน่ า้� บางนรา และคลองโตะ แดง อนั เป็นทีม่ าของชือ่ ปา่ พรโุ ตะแดง

ป†าพรุâตะแดงเปšนป†าพรุ¼ืนสุดท้ายของ
เมืองไทยท่ี ได้รับการประกาศให้เปšนพื้นที่
ชุ่มน้�าล�าดับที่ ññðò ของประเทศไทยเม่ือ
ป‚ òõôô

ป†าพรุâตะแดงอุดมสมบูร³์ไปด้วยสัตว์ป†า
และพรร³ไม้

“ปา† พรุ” เกิดจากพื้นที่ชุ่มน้า�
ป่าพรุเกิดจากแอ่งน�้าจืดขังสะสมและมีการทับถมของซากพืช ซากต้นไม้ ใบไม้
เกิดชนั้ ดินกลายเป็นดนิ พีท (Peat) ทมี่ ีลักษณะหยุ่นยวบเหมือนฟองน�า้ อุ้มนา้� ได้มาก
และด้วยเป็นดินท่ีอ่อนนุ่ม ไม้ยืนต้นในป่าพรุจึงมีระบบรากแขนงแข็งแรงแผ่ออกไป

๖8 เกาะเกย่ี วกนั

ในป†าพรุ ป†าพรุส�าคญั อย่างไร
มตี น้ ไม้ เดกç æ สงสยั ไหมวา่
อะไรบ้าง
¶้าไมม่ ปี า† พรุ
จะเกดิ อะไรขÖน้
ป†าพรุ คอื ชีวิต

ป่าพรเุ ตม็ ไปดว้ ยความหลากหลาย
ของส่ิงมีชีวิต เป็นแหล่งอาหาร
อันอุดมสมบูรณของบรรดาสัตวป่า
หายากหลายชนิด อีกทั้งพันธุไม้
หายาก พืชสมนุ ไพร รวมถึงไม้ที่ใช้
ในการกอ่ สร้าง และท�าเคร่ืองเรอื น

พันธ์ุไม้ท่ีพบในป†าพรุ
มกี ว่า ôðð ชนดิ เช่น
หมากแดง หมากงาช้าง เตา่ ร้าง กะพ้อ
รศั มเี งนิ มะมดุ มะมว่ งปา่ เงาะปา่ และ
มะเด่ือต่างๆ และมีพืชสมุนไพร เช่น
จันทนา กาพุ่ม เทพี สักช ี อบเชย ขา่ ลิง
หลาว จนั ทนแดง บอนจีน ฯลฯ

๖9

เดนิ ปา† ศกÖ ษาธรรมชาติ

เส้นทางเดินชมป†าพรุ
แบบใกล้ชดิ ธรรมชาติ
ทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติเร่ิมที่บึงน�้า
ด้านหลังอาคารศูนยวิจัยและศึกษาธรรมชาติ
ป่าพรุสิรินธร มีลักษณะเป็นสะพานไม้ลัดเลาะ
เข้าไปในป่าพร ุ ระยะทาง ๑,๒๐๐ เมตร ตลอดทาง
จะได้พบความเขียวชอุ่มของต้นไม้ อาจได้เห็น
สัตวป่า สัตวน�้า นก หรือแมลงต่างๆ ออกมา
อวดโฉมกนั

เดินป†าพรุใหส้ นกุ ควรมีอุปกร³์
เช่น คู่มอื ดูนก สมุดบันทÖก ดินสอสี
กลอ้ งส่องทางไกล กลอ้ ง¶่ายรปู

แลว้ ไปเพลดิ เพลนิ บันทกÖ
สิง่ ท่ีเหçนในปา† พรุกัน
Äดูกาลทอ่ งเท่ียว
ป่าพรุมฝี นตกชุกตลอดป ี
แตช่ ่วงเวลาที่เหมาะสม
ส�าหรับการทอ่ งเทยี่ วคือ
เดือนกมุ ภาพันธ-เมษายน
เพราะเป็นชว่ งทีฝ่ นตกนอ้ ยทส่ี ดุ
ท�าใหเ้ ดินชมป่าพรไุ ด้

๗๐ โดยไมต่ อ้ งตากฝนมากนัก

นกท่ีพบในปา† พรุ
ในป่าพรมุ ีนกหลายชนดิ นกท่เี ด่นๆ ไดแ้ ก่
นกกางเขนดงหางแดง นกจับแมลงสฟี า‡ มาเลเซีย
ในประเทศไทยพบที่ปา่ พรโุ ตะ แดงเพยี งแหง่ เดียว

สตั วป์ ระจ�า¶ิ่นในป†าพรุ
ในปา่ พรุมีสัตวป ่ากวา่ ๒๐๐ ชนดิ เปน็ แหล่งอาศยั ของสัตวป ่านานาชนิด
เช่น ค‹าง ชะมด หมูปา† หมขี อ แมวปา† หวั แบน สตั วค ุ้มครองทหี่ ายากของไทย

ปลาหลากหลายชนดิ ส่ิงท่ีต้องระวงั
พันธปุ ลาทพ่ี บในป่าพรุ ได้แก ่ ในปา่ พรมุ ยี ุงด�าชุกชมุ มาก
ปลาปากยน่ื ปลาดุกรําพัน เปน็ พาหะน�าโรคเท้าชา้ ง
ปลากะแมะ ฯลฯ ยงุ ด�ามกั ออกหากนิ ในชว่ งพลบคา่�
ปลาเหลา่ นี้อาศัยป่าพรุ ดงั นั้นควรระวังอย่าใหย้ ุงกัด
เปน็ พืน้ ทห่ี ลบภัยและวางไข่ อย่าลืมเตรียมยากันยงุ เข้าไปดว้ ย

ศูนยว จิ ัยและศกึ ษาธรรมชาตปิ †าพรโุ ตะแดง นราธิวาส ๗๑การเดนิ ทาง
ต.ปูโยะ อ.สุไหงโกลก จ.นราธวิ าส
เปดทกุ วนั เวลา ๐8.๐๐-๑๕.3๐ น.
๐9 8๐๑๐ ๕๗3๖



ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนลา‹ ง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน

สราŒ งสรรคโดย สนับสนนุ โดย สรŒางสรรคโดย สนบั สนนุ โดย สราŒ งสรรคโดย สนับสนนุ โดย
มูลนิธชิ ยั พฒั นา มูลนิธิชยั พฒั นา มลู นธิ ิชยั พฒั นา

ภาคตะวนั ตก ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนลา‹ ง

สรŒางสรรคโดย สนบั สนุนโดย สราŒ งสรรคโดย สนับสนุนโดย สราŒ งสรรคโดย สนบั สนนุ โดย
มูลนิธิชัยพฒั นา
มลู นธิ ชิ ัยพฒั นา มลู นธิ ิชยั พฒั นา
ท‹อง ๙ แหลง‹ เรียนรูŒ พิพิธภัณฑทม่ี ชี ีวติ เสนŒ ทางเรียนรŒู “ตามรอยพระราชา” ทอ‹ ง ๙ แหลง‹ เรียนรูŒ พิพิธภัณฑท่มี ีชีวิต เสŒนทางเรียนรูŒ “ตามรอยพระราชา”

ภาคใตŒฝง˜› ตะวันตก ภาคใตฝŒ ˜›งตะวันออก ภาคตะวันออก

สรา งสรรคโดย สนับสนนุ โดย สราŒ งสรรคโดย สนับสนนุ โดย สรŒางสรรคโดย สนับสนนุ โดย
มูลนธิ ิชัยพฒั นา
มลู นิธิชยั พัฒนา มลู นิธชิ ยั พัฒนา ท‹อง ๙ แหลง‹ เรียนรูŒ พพิ ิธภณั ฑท่ีมีชวี ิต เสนŒ ทางเรยี นรูŒ “ตามรอยพระราชา”
ทอง ๙ แหลง เรียนรู พพิ ิธภณั ฑท ี่มชี ีวติ เสนทางเรยี นรู “ตามรอยพระราชา” ทอ‹ ง ๙ แหล‹งเรียนรูŒ พิพิธภณั ฑท ม่ี ีชวี ติ เสนŒ ทางเรียนรูŒ “ตามรอยพระราชา”

หนงั สือเดนิ ทางตามรอยพระราชา
“The King’s Journey” Learning Passport
สรา้ งสรรคโ ดย
สาํ นกั งานส‹งเสริมสงั คมแห‹งการเรียนรŒูและพฒั นาคณุ ภาพเยาวชน (สสค.)
388 อาคารเอส.พี. (อาคารเอ) ชนั้ ๑3 ถนนพหลโยธิน
แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐
โทรศัพท ๐ ๒๖๑9 ๑8๑๑
เวบ็ ไซต www.qlf.or.th
วเิ คราะหเ นื้อหา
นายเฉลิมพร พงศธีระวรรณ
ครรู างวัลสมเด็จเจา้ ฟา‡ มหาจักร ี ประจา� ปี ๒๕๕8
ผศ.ดร.ธนั ยวิช วเิ ชยี รพนั ธ
หัวหน้าโครงการวจิ ยั พฒั นาเครือ่ งมอื สง่ เสริมและประเมิน
ทกั ษะความคิดสรา้ งสรรคและการคดิ วิเคราะห
ผลติ งานโดย
บริษัท รักลูกกรุป จาํ กัด
กลมุ่ บรษิ ัท อารแอลจี (รกั ลูก เลิรนนิ่ง กรุป )
พิมพครง้ั ที ่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๐
จา� นวน พิมพ ๑๐,๐๐๐ เลม่



จดั พมิ พโดย

สราŒ งสรรคโดย สนบั สนุนโดย

มูลนธิ ชิ ัยพฒั นา


Click to View FlipBook Version