The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฝึกประสบการณ์ นศ. ท่องเที่ยวปี 65(มรนม.)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-04-10 09:31:44

รายงานฝึกประสบการณ์ นศ. ท่องเที่ยวปี 65(มรนม.)

รายงานฝึกประสบการณ์ นศ. ท่องเที่ยวปี 65(มรนม.)

รายงานการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี
อุทยานการเรยี นรู้สิรินธร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

โดย

นางสาวนงลกั ษณ์ ละมุนนอก รหัสประจำตวั นกั ศึกษา 6140306104
นางสาวแพรพรรณ สมบตั พิ งษ์ รหสั ประจำตวั นกั ศกึ ษา 6140306107
นางสาวศนั สนยี ์ ทองโปรด รหัสประจำตัวนักศกึ ษา 6140306108
นางสาวอภสั รา ชาตปิ ระเสริฐ รหัสประจำตัวนกั ศกึ ษา 6140306110

เสนอต่อ
อาจารย์ ดร.กมลทรรศน์ นวลอนันต์

รายงานน้เี ป็นสว่ นหนงึ่ ของการฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต
สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว คณะวทิ ยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

รายงานการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี
อุทยานการเรยี นรสู้ ิรินธร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี

โดย

นางสาวนงลกั ษณ์ ละมนุ นอก รหสั ประจำตัวนกั ศกึ ษา 6140306104
นางสาวแพรพรรณ สมบตั ิพงษ์ รหสั ประจำตวั นกั ศึกษา 6140306107
นางสาวศนั สนยี ์ ทองโปรด รหัสประจำตวั นักศึกษา 6140306108
นางสาวอภสั รา ชาตปิ ระเสริฐ รหัสประจำตัวนกั ศึกษา 6140306110

เสนอต่อ
อาจารย์ ดร.กมลทรรศน์ นวลอนันต์

รายงานน้เี ป็นสว่ นหนงึ่ ของการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต
สาขาวชิ าอุตสาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว คณะวทิ ยาการจัดการ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

1

คำนำ

รายงานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ณ อทุ ยานการเรียนรูส้ ริ นิ ธร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี นกั ศกึ ษาภาคปกติ หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต
สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว คณะวทิ ยาการจดั การ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

รายงานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเล่มนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ
ที่เกีย่ วกบั การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ณ อุทยานการเรยี นรสู้ ริ นิ ธร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี

ตลอดระยะเวลาการฝึกงานนอกสถานศึกษา โดยได้เริ่มฝึกประสบการณ์วิชาชีพตั้งแต่
วันที่ 13 ธันวาคม 2564 ถึงวันที่ 25 มีนาคม 2565 ทั้งนี้ทางคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงาน
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจ หากมีข้อผิดพลาดประการใด
ทางผจู้ ดั ทำจึงขออภัยมา ณ ที่นี้

คณะผู้จดั ทำ
11 มีนาคม 2565

2

สารบัญ

หน้า
คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 1
สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………………………… 2
สารบญั ภาพ……………………………………………………………………………………………………………………………. 3

บทท่ี

1. บทนำ 4

1.1 ชือ่ และทีต่ ง้ั ของสถานประกอบการ………………………………………………………………………………….. 4

1.2 ลกั ษณะสถานประกอบการ และการใหบ้ รกิ ารหลกั ……………………………………………………………. 4

1.3 เปา้ หมาย นโยบาย วสิ ยั ทัศน์ของหนว่ ยงาน………………………………………………………………………. 9

1.4 รปู แบบการจัดองค์กร และการบรหิ ารขององคก์ ร………………………………………………………………. 9

1.5 ผูค้ วบคุมฝึกงาน……………………………………………………………………………………………………………. 10

1.6 ระยะเวลาทป่ี ฏิบัติงาน……………………………………………………………………………………………………. 10

2. งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 11

2.1 รายละเอยี ดงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย………………………………………………………………………………….. 11

2.2 ประสบการณ์ที่ไดร้ ับจากการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ……………………………………………………….. 24

3. วเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกของหน่วยงาน 25

3.1 วิเคราะห์ SWOT………………………………………………………………………………………………………… 25

3.2 ความเกย่ี วข้องกับภาคทฤษฎีที่ศึกษาในสาขาวิชา……………………………………………………………. 26

4. สรปุ และขอ้ เสนอแนะจากการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี 27

4.1 สรุปผลท่ไี ด้จากการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ……………………………………………………………………… 27

4.2 เสนอแนะแนวทางการพัฒนาด้านหลักสูตร………………………………………………………………………. 27

เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………………………………………………………. 28

ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………………………… 29

3

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา้
1.1 ตราสญั ลกั ษณอ์ ทุ ยานการเรยี นรสู้ ิรินธร ….............................................................…………………… 4
1.2 สวนพฤกษศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี ………………………………………………………………. 5
1.3 อุทยานผเี สือ้ เฉลิมพระเกยี รติ ……………………………………………………………………………………………. 6
1.4 ห้องไทยศึกษานิทัศน์และวฒั นธรรมอาเซยี น ……………………………………………………………………….. 7
1.5 อาคารพพิ ิธภัณฑเ์ ทคโนโลยไี ทยโบราณ ………………………………………………………………………………. 8
1.6 โครงสรา้ งหน่วยบรกิ ารคา่ ยวทิ ยาศาสตรแ์ ละจัตุรัสการเรยี นรู้…………………………………………………. 9

2.1 ตวั อยา่ งตำแหนง่ หน้าที่ทีไ่ ด้รบั มอบหมายของนางสาวนงลกั ษณ์ ละมนุ นอก …………………………… 12
2.2 ตวั อยา่ งตำแหน่งหนา้ ทที่ ่ีไดร้ บั มอบหมายของนางสาวแพรพรรณ สมบัตพิ งษ์ …………………………. 14
2.3 ตวั อย่างตำแหนง่ หน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมายของนางสาวศันสนยี ์ ทองโปรด ……………………………..... 17
2.4 ตวั อย่างตำแหนง่ หนา้ ท่ที ่ีได้รับมอบหมายของนางสาวอภสั รา ชาติประเสรฐิ …………………………… 21

4

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ชอ่ื และทตี่ ัง้ ของสถานประกอบการ

สังกัดเทคโนธานี สำนักงานบริการวิชาการ ปรับแปลง ถ่ายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี
หน่วยบริการค่ายวิทยาศาสตร์ และจัตุรัสการเรียนรู้ งานบริการแหล่งเรียนรู้ (อุทยานการเรียนรูส้ ิรินธร)
แสดงตราสัญลักษณ์ดังภาพที่ 1.1 โดยตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 111 ถนนมหาวิทยาลัย
ตำบลสุรนารี อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพ -
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทานนาม และเสด็จพระราชดำเนนิ ทรงเปิดอุทยานการเรียนรู้
สิรนิ ธร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี ณ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี จังหวดั นครราชสีมา เมื่อวันท่ี 1
พฤศจิกายน 2554 โดยอุทยานการเรียนรู้สิรินธร เป็นแหล่งเรียนรู้ที่แสดงให้เห็นถึงการบูรณาการ
ในการสรา้ งสรรค์ภมู ริ ู้ ภูมธิ รรม ภูมปิ ัญญา เพอ่ื ใหน้ ักเรยี น นิสติ นักศกึ ษา เยาวชน และประชาชนท่ัวไปได้
ศึกษาหาความรู้ภายนอกห้องเรียน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมที่แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของ
มหาวิทยาลัย (เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2565)

ภาพท่ี 1.1 ตราสญั ลกั ษณอ์ ุทยานการเรียนร้สู ริ นิ ธร
ท่ีมา : เว็บไซตอ์ ุทยานการเรียนรสู้ ิรนิ ธร, 2565

1.2 ลักษณะสถานประกอบการ และการใหบ้ ริการหลัก

อุทยานการเรียนรู้สิรินธร เป็นแหล่งเรียนรู้ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารีเกิดขึ้นหลังจาก
การจัดแสดงนิทรรศการในงานแสดงเกษตรและอุตสาหกรรมโลก ปี 2538 ( World Tech’95 ) โดยมี
วัตถุประสงค์ เป็นแหล่งศึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ แมลงกับสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญา
พื้นบ้านอีสาน และเทคโนโลยีต้นแบบ (Museumthailand, 2561) ลักษณะการให้บริการของอุทยาน
การเรียนรู้สิรินธร ได้แก่ ให้บริการเยี่ยมชม และเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจสำหรับประชาชนทั่วไป
บรกิ ารนำชมนิทรรศการแกป่ ระชาชนทสี่ นใจเป็นหมู่คณะ บริการจัดกิจกรรมถ่ายทอดความรใู้ หก้ ับนักเรียน

5

นักศึกษา ทุกระดับชั้น บริการฝึกงาน จัดฝึกอบรมวิทยากรให้กับนักศึกษา และประชาชนที่สนใจ
เปิดให้บรกิ ารทุกวัน วนั จนั ทร์ ถงึ วันอาทติ ย์ สำหรบั ผเู้ ข้าเยย่ี มชมเป็นหมู่คณะ เปดิ บรรยาย 2 ช่วง ได้แก่
ช่วงที่ 1 เริ่ม 09.00 น. ถึง 12.00 น. และช่วงที่ 2 เริ่ม 13.00 ถึง 16.00 น. ปัจจุบันมีแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ
ทรี่ องรับการจัดกิจกรรมสำหรับผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมและเขา้ เยยี่ มชม ดังนี้

1.2.1 สวนพฤกษศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี

สวนพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี แสดงดังภาพที่ 1.2 ดำเนินการสร้าง
ในปี พ.ศ.2556 เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช สนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมีวัตถุประสงค์ปลูก
จิตสำนึก รักหวงแหน และตระหนักในคุณค่าของพฤกษชาติของท้องถิ่นและประเทศให้กับนักเรียน
นักศึกษา และประชาชนทีส่ นใจ อันนำไปสู่ความร่วมมือร่วมใจกันส่งเสริมพนั ธกุ รรมพืชอย่างย่ังยืน ทั้งยัง
เพ่ิมพ้นื ท่ีสเี ขยี วทมี่ คี วามรม่ ร่นื สวยงาม ภายในอาคารจัดแสดงความรู้เก่ยี วกับพนั ธุ์ไม้ โดยแบ่งออกเป็น 5
นิทรรศการที่สำคัญ คือ โรงเรือนพันธุ์ไม้ในป่าเต็งรัง โรงเรือนพืชอวบน้ำ โรงเรือนอาณาจักรพืช
สวนพืชสมนุ ไพรและอาคารนทิ รรศการ (อทุ ยานการเรยี นร้สู ริ นิ ธร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี, 2565)

ภาพท่ี 1.2 สวนพฤกษศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี

6

1.2.2 อุทยานผเี สื้อเฉลิมพระเกียรติ

อทุ ยานผเี ส้อื เฉลิมพระเกยี รติ แสดงดังภาพท่ี 1.3 สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2538 เพ่ือเฉลมิ ฉลอง
ในวโรกาสทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสริ ริ าชสมบัติเปน็ ปีที่ 50 ซง่ึ เป็นสว่ นหน่ึงในงานเกษตร
และอุตสาหกรรมโลก ปี 2538 (World Tech’95) หลังจากเสร็จสิ้นงานก็ยังคงเปิดให้บริการ โดยมี
วตั ถปุ ระสงค์สร้างค่านิยมและปลกู ฝงั จิตสำนกึ การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม สรา้ งสรรคแ์ นวคิดทางวิทยาศาสตร์
เกี่ยวกับแมลงและสิง่ แวดล้อมให้กบั นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจ โดยใช้ผีเสื้อและแมลงเป็น
“ส่ือ” หรอื “ตัวแทน” ความสมั พันธข์ องการมีชีวิตของสตั ว์และปัจจัยท่ีเกยี่ วขอ้ งในการดำรงชีวิต ภายใน
อาคารจัดแสดงความรู้เกี่ยวกับแมลงและส่ิงแวดล้อม (อุทยานการเรียนรู้สิรินธร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี, 2565) โดยแบ่งนิทรรศการออกเปน็ 6 นิทรรศการท่ีสำคญั ประกอบไปดว้ ย

(1) หอ้ งวีดที ัศน์
(2) หอ้ งแมลงจิ๋ว
(3) สวนผีเสอ้ื
(4) นทิ รรศการพพิ ิธภณั ฑ์แมลง
(5) นทิ รรศการแมลงกลางคนื และแมลงท่ีให้เสยี ง
(6) นิทรรศการโมเดลแมงและมลง

ภาพท่ี 1.3 อทุ ยานผีเสื้อเฉลมิ พระเกียรติ

7

1.2.3 ห้องไทยศกึ ษานทิ ัศนแ์ ละวฒั นธรรมอาเซียน

หอ้ งไทยศกึ ษานิทศั น์และวัฒนธรรมอาเซียน แสดงดงั ภาพท่ี 1.4 สรา้ งข้นึ ในปี พ.ศ.2536
เพื่อเป็นห้องปฏิบัติการทางมานุษยวิทยาของอีสาน โดยมีวัตถุประสงค์สร้างความตระหนักในคุณค่า
ภูมิปัญญาพื้นบ้านและศิลปวัฒนธรรมอีสานให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจ โดยเก็บ
รวบรวมและจัดแสดง “วัสดุทางวัฒนธรรมของอีสาน” ที่ชาวบ้านยังคงผลิตและใช้ประโยชน์
ในชีวติ ประจำวนั วัสดทุ างวฒั นธรรมท่รี วบรวมไว้จำนวนมากกวา่ 2,000 ชนิ้ ภายในอาคารจัดแสดงความรู้
เก่ยี วกับภูมิปัญญาพน้ื บ้านอสี าน (อทุ ยานการเรียนรู้สริ ินธร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2565) โดยแบง่
นิทรรศการออกเปน็ 8 นิทรรศการท่สี ำคญั ประกอบไปด้วย

(1) หมอ่ งนีอ่ สี าน
(2) เฮ็ดกนิ เฮด็ ส่าง
(3) สา่ งบ้านแปงเฮือน
(4) นทิ รรศการพระยากำธรพายัพทศิ
(5) นงุ่ ซน่ิ ไหมห่มผา้ ฝา้ ย
(6) วฒั นธรรมอาเซยี น
(7) มว่ นซ่นื โฮแซว
(8) วัฒนธรรมความเชื่อของภาคอีสาน

ภาพท่ี 1.4 ห้องไทยศกึ ษานิทัศน์และวัฒนธรรมอาเซยี น

8

1.2.4 อาคารพิพธิ ภณั ฑ์เทคโนโลยไี ทยโบราณ

อาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีไทยโบราณ แสดงดังภาพที่ 1.5 สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2547
เพือ่ เป็นทเ่ี กบ็ หลักฐานแหง่ ความทรงจำไว้ให้คนไทยไดภ้ าคภมู ิใจในความสามารถของนักวิทยาศาสตร์และ
วิศวกรไทยโบราณ โดยมีวัตถุประสงค์สร้างความตระหนักในคุณค่าของประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีของบรรพชนไทยให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจ ได้ศึกษาหาความรู้และ
ก่อให้เกดิ แรงบันดาลใจในการคิดค้นตอ่ ยอดความรู้ในอดตี ภายในอาคารจดั แสดงความรเู้ กีย่ วกบั เทคโนโลยี
ตน้ แบบ (อทุ ยานการเรียนร้สู ิรนิ ธร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2565) โดยแบ่งนิทรรศการออกเป็น 7
นทิ รรศการที่สำคญั ประกอบไปด้วย

(1) การปลูกดำหว่านไถ
(2) การเกบ็ เกีย่ ว
(3) การหุงหาอาหาร
(4) การทำเคร่ืองน่งุ ห่ม
(5) อปุ กรณโ์ ลหะ
(6) การทำมาค้าขาย
(7) การคมนาคม

ภาพท่ี 1.5 อาคารพพิ ธิ ภณั ฑ์เทคโนโลยีไทยโบราณ

9

1.3 เปา้ หมาย นโยบาย วิสยั ทศั น์ของหนว่ ยงาน

เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีจัดแสดงนิทรรศการความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ถ่ายทอดศาสตร์ความรู้
โบราณผ่านการลงมือปฏิบัติ ทดลอง ทดสอบ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เด็กและเยาวชน
เข้าใจถึงความสัมพันธ์การเชื่อมโยงระหว่างหลักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ กายภาพ กับศาสตร์
ความรู้จากภูมปิ ญั ญาไทย

1.4 รปู แบบการจดั องคก์ รและการบริหารงานขององค์กร

หนว่ ยบรกิ ารค่ายวิทยาศาสตร์ และจตั ุรสั การเรียนรู้ โดยจะมเี จา้ หน้าท่ีในงานบรกิ ารแหล่งเรียนรู้
(อุทยานการเรียนรสู้ ิรนิ ธร) แสดงดงั ภาพท่ี 1.6

งานบริการค่าย งานบรกิ ารแหลง่ เรยี นรู้ งานบริการจัตรุ สั
วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
(อทุ ยานการเรียนรู้สริ นิ ธร)

ภาพท่ี 1.6 โครงสรา้ งหนว่ ยบรกิ ารค่ายวิทยาศาสตร์ และจัตรุ ัสการเรยี นรู้ (งานบรกิ ารแหลง่ เรียนรู)้
ทม่ี า : เวบ็ ไซตอ์ ุทยานการเรียนรู้สริ นิ ธร, 2565

10

1.5 ผูค้ วบคุมฝกึ งาน ตำแหน่ง เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารงานทว่ั ไป
ตำแหนง่ เจา้ หน้าที่บรหิ ารงานท่วั ไป
(1) นางสาวปทั มา บญุ ทิพย์
(2) นายบุญลอื หนูเพยี รโพธ์กิ ลาง

1.6 ระยะเวลาทป่ี ฏิบัติงาน

เริม่ ปฏบิ ัติงานต้ังแตว่ นั ท่ี 13 ธันวาคม 2564 จนถึงวันที่ 25 มนี าคม 2565

11

บทที่ 2

งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายและประสบการณท์ ไี่ ด้รบั จากการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี

2.1 รายละเอียดงานท่ไี ด้รับมอบหมาย

2.1.1 นางสาวนงลักษณ์ ละมุนนอก ตำแหนง่ หนา้ ทีท่ ไี่ ดร้ ับมอบหมายมดี ังนี้
(1) เปิด – ปิด อาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีไทยโบราณ และห้องไทยศึกษานิทัศน์และ
วฒั นธรรมอาเซยี น
(2) รับหน้าทเี่ ปน็ ยวุ มัคคุเทศก์ บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าใช้บรกิ ารภายในอทุ ยานการเรียนรู้
สิรินธร ทั้ง 4 อาคาร ได้แก่ สวนพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อุทยาน
ผีเส้ือเฉลิมพระเกยี รติ หอ้ งไทยศึกษานิทัศน์และวฒั นธรรมอาเซียน และอาคารพพิ ิธภัณฑ์
เทคโนโลยีไทยโบราณ นำชมและบรรยายให้ความรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีต้นแบบ
แสดงดังภาพที่ 2.1 (ก)
(3) STAFF สำหรับการเยย่ี มชมเปน็ หมคู่ ณะ
(4) เปน็ ผชู้ ่วยวทิ ยากรในการจดั กิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ กจิ กรรมวงจรชวี ติ ผีเสือ้ กิจกรรมจรวด
ขวดนำ้ กิจกรรมสะพานยกน้ำหนัก กิจกรรมผา้ มัดยอ้ มจากสธี รรมชาติ กิจกรรมสวนขวด
แสดงดังภาพที่ 2.1 (ข)
(5) วิเคราะหค์ วามพึงพอใจของผรู้ บั บริการ โดยใชโ้ ปรแกรม Excel
(6) จัดทำเอกสารและงานนำเสนอตามทไี่ ด้รับมอบหมาย แสดงดงั ภาพที่ 2.1 (ค)
(7) ตรวจสอบสตอ๊ กอปุ กรณ์สำหรบั ใชใ้ นการจัดกิจกรรม แสดงดงั ภาพท่ี 2.1 (ง)

12

(ก) นำชมและบรรยายใหค้ วามรเู้ กีย่ วกับเทคโนโลยีต้นแบบ
(ข) เปน็ ผชู้ ว่ ยวทิ ยากรในการจดั กจิ กรรมสวนขวด

13

(ค) จัดการนำเสนอหลักการมัคคุเทศก์

(ง) ตรวจนบั จำนวนอุปกรณ์ท่ใี ช้สำหรับทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ
ภาพท่ี 2.1 ตวั อยา่ งตำแหนง่ หนา้ ทท่ี ีไ่ ดร้ บั มอบหมายของนางสาวนงลักษณ์ ละมนุ นอก (ก-ง)

14

2.1.2 นางสาวแพรพรรณ สมบตั พิ งษ์ ตำแหนง่ หน้าท่ที ไ่ี ด้รบั มอบหมายมีดังนี้
(1) ออกแบบและตกแต่งสื่อการเรียนรู้ ป้ายให้ข้อมูล ได้แก่ โปสเตอร์วงจรชีวิตผีเส้ือ
โปสเตอรพ์ ิพธิ ภัณฑ์เทคโนโลยีไทยโบราณ แสดงดงั ภาพท่ี 2.2 (ก-ข)
(2) รบั หนา้ ทเ่ี ปน็ ยุวมคั คเุ ทศก์ บรรยายใหค้ วามรู้แก่ผู้เข้าใช้บริการภายในอทุ ยานการเรียนรู้
สิรินธร ทั้ง 4 อาคาร ได้แก่ สวนพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
อุทยานผีเสื้อเฉลิมพระเกียรติ ห้องไทยศกึ ษานิทัศน์และวัฒนธรรมอาเซียน และอาคาร
พิพธิ ภัณฑ์เทคโนโลยไี ทยโบราณ แสดงดงั ภาพท่ี 2.2 (ค)
(3) เป็นผู้ช่วยวิทยากรในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ กิจกรรมสวนขวด กิจกรรมจรวด
ขวดน้ำ กิจกรรมสะพานยกน้ำหนัก กิจกรรมวงจรชีวิตผีเสื้อ กิจกรรมแปรรูปอาหาร
(โยเกิร์ต) แสดงดังภาพที่ 2.2 (ง-จ) อีกทั้งเป็นผู้ช่วยวิทยากรในการทำกิจกรรมต่าง ๆ
ใหอ้ ยูใ่ นความเรียบร้อย

(ก) ตวั อยา่ งโปสเตอรว์ งจรชีวติ ผีเส้ือ

15

(ข) การออกแบบและตกแต่งกราฟิก โปสเตอร์พิพธิ ภณั ฑเ์ ทคโนโลยีไทยโบราณ
(ค) นำชมบรรยายใหค้ วามรู้เก่ยี วกบั สวนพฤกษศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี

16

(ง) เป็นผชู้ ว่ ยวทิ ยากรในการจัดกิจกรรมวงจรชวี ติ ผเี ส้ือ

(จ) เปน็ ผูช้ ่วยวทิ ยากรในการจดั กจิ กรรมแปรรปู อาหาร (โยเกิรต์ )
ภาพท่ี 2.2 ตัวอยา่ งตำแหนง่ หน้าที่ที่ได้รบั มอบหมายของนางสาวแพรพรรณ สมบตั ิพงษ์ (ก-จ)

17

2.1.3 นางสาวศนั สนยี ์ ทองโปรด ตำแหน่งหนา้ ที่ที่ไดร้ บั มอบหมายมดี ังน้ี
(1) เปิด – ปิด อาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีไทยโบราณ และห้องไทยศึกษานิทัศน์และ
วัฒนธรรมอาเซียน
(2) รับหนา้ ที่เปน็ ยุวมคั คเุ ทศก์ บรรยายใหค้ วามรู้แก่ผู้เข้าใช้บรกิ ารภายในอุทยานการเรียนรู้
สิรินธร ทั้ง 4 อาคาร ได้แก่ สวนพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อุทยาน
ผีเสื้อเฉลมิ พระเกยี รติ ห้องไทยศกึ ษานทิ ัศน์และวฒั นธรรมอาเซยี น และอาคารพพิ ธิ ภัณฑ์
เทคโนโลยีไทยโบราณ แสดงดังภาพท่ี 2.3 (ก)
(3) เป็นผู้ช่วยวิทยากรในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ กิจกรรมจรวดขวดน้ำ กิจกรรมผ้า
มัดย้อมจากสีธรรมชาติ กิจกรรมสะพานยกน้ำหนัก กิจกรรมลูกประคบสมุนไพร
แสดงดงั ภาพที่ 2.3 (ข-ค)
(4) ตรวจสอบสต๊อกอุปกรณส์ ำหรบั ใช้ในการจดั กิจกรรม แสดงดงั ภาพที่ 2.3 (ง)
(5) วเิ คราะห์ความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ าร โดยใช้โปรแกรม Excel แสดงดังภาพท่ี 2.3 (จ)
(6) ทำส่อื ถา่ ยภาพและวิดโิ อของกิจกรรมทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย แสดงดังภาพท่ี 2.3 (ฉ)
(7) จดั เตรยี มกิจกรรมและสถานท่ีจดั กิจกรรม แสดงดงั ภาพท่ี 2.3 (ช)

(ก) นำชมและบรรยายให้ความรูเ้ ก่ียวกับภมู ิปัญญาวัฒนธรรมอสี าน และวัฒนธรรมอาเซยี น
ณ หอ้ งไทยศกึ ษานทิ ัศน์และวฒั นธรรมอาเซียน

18

(ข) ผู้ช่วยวทิ ยากรในการจดั กจิ กรรมสะพานยกน้ำหนัก
(ค) ผู้ช่วยวิทยากรในการจดั กจิ กรรมลกู ประคบสมุนไพร

19

(ง) ตรวจนับจำนวนอุปกรณท์ ี่ใช้สำหรับทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ
(จ) วเิ คราะห์ความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร โดยใช้โปรแกรม Excel

20

(ฉ) ทำสือ่ ถา่ ยภาพและวดิ ิโอของกจิ กรรมที่ได้รบั มอบหมาย

(ช) จดั เตรียมสถานท่ีสำหรบั การทำกจิ กรรม
ภาพท่ี 2.3 ตัวอยา่ งตำแหนง่ หนา้ ทที่ ีไ่ ดร้ บั มอบหมายของนางสาวศันสนีย์ ทองโปรด (ก-ช)

21

2.1.4 นางสาวอภสั รา ชาติประเสริฐ ตำแหน่งหนา้ ทท่ี ีไ่ ดร้ ับมอบหมายมีดังน้ี
(1) เปิด – ปิด อาคารอุทยานผีเสื้อเฉลมิ พระเกียรติ
(2) รับหน้าทีเ่ ป็นยุวมัคคุเทศก์ บรรยายใหค้ วามรู้แกผ่ ู้เข้าใช้บริการภายในอุทยานการเรยี นรู้
สิรินธร ทั้ง 4 อาคาร ได้แก่ สวนพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อุทยาน
ผเี ส้อื เฉลมิ พระเกียรติ แสดงดังภาพท่ี 2.4 (ก) ห้องไทยศกึ ษานทิ ัศนแ์ ละวัฒนธรรมอาเซยี น
และอาคารพิพธิ ภัณฑเ์ ทคโนโลยไี ทยโบราณ
(3) เป็นผชู้ ว่ ยวิทยากรในการจัดกิจกรรมตา่ งๆ ไดแ้ ก่ กิจกรรมวงจรชีวิตผเี สือ้ กิจกรรมสะพาน
ยกน้ำหนัก กิจกรรมแปรรูปอาหาร (โยเกิร์ต) กิจกรรมสวนขวด กิจกรรมจรวดขวดน้ำ
แสดงดังภาพที่ 2.4 (ข-ค) อีกทั้งเป็นผู้ช่วยวิทยากรในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่
ในความเรยี บรอ้ ย
(4) ออกแบบและตกแต่งสื่อการเรียนรู้ ป้ายให้ข้อมูล ได้แก่ โปสเตอร์แมลง โปสเตอร์
พพิ ิธภณั ฑ์เทคโนโลยีไทยโบราณ แสดงดังภาพที่ 2.4 (ง-จ)

(ก) นำชมและบรรยายใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั ผเี สือ้ และแมลงสต๊าฟ

22

(ข) เป็นผู้ช่วยวทิ ยากรในการจัดกจิ กรรมสวนขวด
(ค) เป็นผ้ชู ่วยวทิ ยากรในการจดั กจิ กรรมจรวดขวดนำ้

23

(ง) ตัวอย่างขอ้ มลู เกยี่ วกบั ผีเสอ้ื

(จ) ตัวอย่างโปสเตอร์วัตถุโบราณ
ภาพท่ี 2.4 ตวั อยา่ งตำแหน่งหน้าที่ท่ไี ด้รับมอบหมายของนางสาวอภสั รา ชาติประเสริฐ (ก-จ)

24

2.2 ประสบการณ์ที่ได้รบั จากการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ

(1) ได้ทราบพฤตกิ รรมของลกู ค้าในแตล่ ะรปู แบบวา่ มคี วามต้องการอยา่ งไร
(2) ได้รู้จักการพัฒนาบุคลิกภาพ ด้านความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ด้านความคิด การสังเกต

ความกระตือรอื รน้ และการตรงต่อเวลา
(3) ได้รับประสบการณ์ในสายอาชีพเพิ่มเติมนอกเหนอื จากการเรียนและสามารถนำความรู้ที่เรียนมา

ประยุกต์ใชไ้ ด้
(4) ได้เรียนรูแ้ ละพฒั นาตัวเองในดา้ นความรับผดิ ชอบ การทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่น
(5) ไดพ้ ฒั นาตัวเองในเรอ่ื งการสื่อสารข้อมลู และการกลา้ แสดงออก
(6) ทำให้มีความรู้ เพิ่มพูนทักษะ สร้างเสริมประสบการณ์และสิ่งใหม่ ๆ เมื่อเจอปัญหาต่าง ๆ

ท่เี กิดขนึ้ ขณะปฏิบัติงานสามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล
(7) ทำให้มีระเบยี บวนิ ัยและทำงานร่วมกับผู้อน่ื ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
(8) ทำให้มีทกั ษะการแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหนา้
(9) ฝกึ ให้มีความรบั ผิดชอบในงานที่ไดร้ ับมอบหมาย
(10) ไดม้ กี ารสอ่ื สารแลกเปลี่ยนข้อมลู กบั นกั ท่องเทย่ี ว เพื่อมาปรับปรงุ ประสบการณก์ ับตนเอง
(11) ได้เรียนรู้ทักษะในการสื่อความหมายโดยใช้วิธีการที่แตกต่างกัน สำหรับบุคคลในแต่ละช่วงวัย

เพอ่ื ให้ผ้รู บั ขอ้ มูลเขา้ ใจความหมายที่ตรงกันและถูกตอ้ ง
(12) การเรยี นร้ทู ักษะการตอบคำถามเฉพาะหน้าและการหลกี เลีย่ งคำถามอยา่ งสุภาพและเหมาะสม
(13) เรยี นร้กู ารมีมนุษยสมั พันธ์ทีด่ ี และสามารถควบคุมสถานการณ์ การพูดอยา่ งไรเพ่ือให้ผู้ฟังสนใจ

มาท่ผี พู้ ดู และตง้ั ใจฟงั
(14) สามารถปรับตัวให้เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์และช่วยแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่าง

เหมาะสม

25

บทที่ 3

วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกของหน่วยงาน

3.1 วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT)

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพเป็นเครือ่ งมือในการประเมินสถานการณ์สำหรับใช้ใน
แหล่งเรียนรู้ ซึ่งจะวิเคราะห์ภายในและภายนอกของหนว่ ยงาน โดยมีองคป์ ระกอบได้แก่ จุดแข็ง จุดอ่อน
โอกาส และอุปสรรค

3.1.1 จุดแข็ง (Strengths)

(1) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีความหลากหลายในการจัดแสดงทั้ง 4 อาคาร คุ้มค่าและเหมาะสมกับ
คา่ บรกิ าร

(2) บุคลากรมจี ำนวนน้อยทำใหบ้ ริหารจดั การไดง้ า่ ยและรวดเรว็
(3) มคี วามหลากหลาย และแตกต่างในการจดั แสดงความรู้ของแตล่ ะอาคาร
(4) มีการจดั นิทรรศการหมนุ เวยี นตลอด สรา้ งจุดความสนใจใหผ้ ทู้ ี่เข้ามาเย่ยี มชม
(5) เนื้อหาที่นำมาจัดแสดงให้ความรู้ มีเนื้อหาที่เหมาะสมกับทุกเพศทุกวัย ทั้งด้านชีววิทยา

ด้านภมู ิปัญญา และดา้ นวศิ วกรรมโบราณในสมัยนนั้
(6) มีตัวเลอื กในการจดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลาย ปรับแผนตามความเหมาะสม มคี วามทันสมัย

3.1.2 จุดอ่อน (Weaknesses)

(1) อากาศภายในอาคารทั้ง 4 อาคารค่อนข้างร้อน ทำให้บรรยากาศภายในอาคารไม่เหมาะสม
เทา่ ท่คี วร

(2) สื่อการเรียนรู้ภายในสวนพฤกษศาสตร์ และอาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีไทยโบราณยังไม่
โดดเดน่ บางจดุ ยังไม่มสี ่อื หรือปา้ ยให้ความรู้ เพือ่ นำเสนอขอ้ มูลทชี่ ดั เจนและเหมาะสม

(3) ภายในอุทยานไม่มีจุดบรกิ ารเครื่องดื่มและรา้ นคา้ สำหรบั นักทอ่ งเท่ียวและผเู้ ข้าชมอุทยาน

3.1.3 โอกาส (Opportunities)

(1) องค์กรในเครือข่ายเดียวกันเป็นศูนย์เรียนรู้ที่เชื่อมโยงองค์ความรู้กัน มีโอกาสในการจัด
กิจกรรมและการบริการที่เช่ือมโยงกันภายในองค์กร ทำให้ผู้เรียนรูไ้ ด้รับโอกาสทางความร้ทู ่ี
หลากหลายและแปลกใหม่

(2) ทีต่ งั้ อยู่ในสถาบันการศกึ ษา

26

(3) บริเวณโดยรอบของอุทยานการเรียนรู้สิรินธรใกล้แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งเรียนรู้
พพิ ิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหนิ เป็นจดุ เชอื่ มต่อสถานท่ีทอ่ งเท่ยี วดา้ นแหลง่ เรยี นรู้

3.1.4 อปุ สรรค (Threats)

(1) เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 นักท่องเที่ยวลดลงจำนวนมาก จึงทำให้รายรับของหน่วยงาน
ลดลง

(2) ขาดแคลนงบประมาณมาใช้บริหารจัดการ ในการบำรุงรกั ษาทรัพยากร
(3) ทั้ง 4 อาคารของอุทยานการเรียนรู้สิรินธรค่อนข้างไกลไม่เชื่อมโยงอาคาร ทำให้ไม่สะดวก

ต่อการเยีย่ มชม

3.2 ความเกย่ี วขอ้ งกับภาคทฤษฎที ี่ศึกษาในสาขาวิชา สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้กับ
หน่วยงานอย่างไรบา้ ง

สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนในรายวิชาต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ได้ เช่น ในรายวิชาหลักการ
มคั คุเทศก์ ทีไ่ ด้ศกึ ษามานนั้ นำมาใช้ในการปฏิบตั ิงานได้ดี เพราะในขณะที่มกี ารเรียนรายวิชานี้ก็ได้จำลอง
สถานการณ์การเปน็ มัคคุเทศก์บรรยายหรือทำกจิ กรรมกับลูกทัวร์ เมื่อเจอสถานการณจ์ รงิ ก็สามารถทำได้
โดยมีการบรรยายความรู้ในแหล่งเรียนรู้และรูจ้ ักการแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหนา้ ได้ดี มีการควบคุมเวลา
ของผู้เข้าเยย่ี มชมในแตล่ ะกล่มุ

27

บทที่ 4

สรปุ และขอ้ เสนอแนะจากการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ

4.1 สรุปผลทไ่ี ด้จากการฝึกประสบการณ์วิชาชพี

ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครั้งนี้ได้ฝึกปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยตรง
การใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นทั้งภายในและภายนอกองค์กร ได้เรียนรู้การติดต่อสื่อสาร โดยมีงานที่ได้รับ
มอบหมายซึ่งทำให้สามารถนำความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน สามารถเข้าใจทฤษฎี
และเห็นเปน็ รปู ธรรมมากย่ิงขนึ้ รวมถงึ ไดเ้ รียนรกู้ ระบวนการทำงานของการเป็นมัคคเุ ทศก์ การเตรียมขอ้ มลู
การเตรียมความพร้อม และการปฏิบัติงานหน้างานจริงในงานทางด้านการท่องเที่ยว ซึ่งสิ่งเหล่าน้ี
จะเปน็ ประโยชน์อยา่ งย่ิงในการนำไปใชใ้ นชีวิตการทำงานในอนาคต

4.2 เสนอแนะแนวทางการพัฒนาด้านหลักสูตร การเรียนการสอน ระบบการฝึก
ประสบการณว์ ชิ าชพี ตลอดจนแนวทางในการพัฒนาปรบั ปรุงตนเอง

สิ่งที่ต้องการเสนอแนะแนวทางพัฒนาด้านหลักสูตร คือ อยากให้หลักสูตรได้ปรับบางรายวิชา
ที่เกี่ยวข้องกับสาขาทีเ่ รียนโดยตรง เช่น ก่อนที่จะออกฝึกประสบการณ์วิชาชพี ควรให้นักศึกษาได้เรยี นรู้
เก่ียวกบั ขอ้ มูลธุรกจิ ทอ่ งเที่ยวต่างๆ อาทิ การเป็นยวุ มัคคเุ ทศก์ การตดิ ต่อประสานงานกับธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
กอ่ นท่ีจะต้องนำไปใช้ปฏิบัติงานจรงิ

ในส่วนของระบบฝึกประสบการณ์นั้น ในอนาคตอยากให้มีการลดค่าธรรมเนียมการศึกษา
เนอื่ งจากนักศกึ ษาออกไปฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพนอกสถานศึกษากต็ ้องมีคา่ ใช้จ่ายเป็นจำนวนมากจึงอยาก
ให้มีการลดค่าใช้จ่ายตรงน้ี แนวทางในการพัฒนาปรับปรุงตนเองนั้น คือ พัฒนาตัวเอง ในด้านความ
รับผิดชอบการทำงานร่วมกบั ผ้อู ื่น ดังน้ี

(1) การสอ่ื สาร
(2) การกลา้ แสดงออก
(3) การตรงตอ่ เวลา
(4) การเสรมิ สร้างบุคลิกภาพ
(5) ทักษะการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้

28

เอกสารอ้างองิ

Thaneenuch. (2564). Wepik แกไ้ ขภาพออนไลน์ ฟเี จอร์ใหม่ไฉไลกว่าเดิมของ Freepik. สืบค้น
เมอ่ื 20 มกราคม 2564, จาก https://foretoday.asia/articles/wp-feature-fp/

คู่มือการใช้ Adobe Photoshop เบ้ืองตน้ . (ออนไลน์). (2564). สืบคน้ เมอื่ 20 มกราคม 2565,
https://shorturl.asia/kyieP

อุทยานการเรียนรู้สิรินธร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (2565). พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีไทย
โบราณ. สืบคน้ เมื่อ 11 มีนาคม 2565, จาก http://slp.sut.ac.th/surapat/

อทุ ยานการเรียนรสู้ ริ ินธร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี. (2565). ห้องไทยศกึ ษานทิ ัศนแ์ ละ
วัฒนธรรมอาเซยี น. สบื ค้นเมือ่ 11 มีนาคม 2565, จาก http://slp.sut.ac.th/asian1/

อุทยานการเรยี นรู้สริ นิ ธร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี ุรนาร.ี (2565). อุทยานผเี สือ้ เฉลิมพระเกยี รติ.
สบื ค้นเมอ่ื 11 มีนาคม 2565, จาก http://slp.sut.ac.th/butterfly1/

อุทยานการเรยี นร้สู ริ ินธร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นาร.ี (2565). สวนพฤกษศาสตร์ มทส. สืบค้น
เมอ่ื 11 มีนาคม 2565, จาก http://slp.sut.ac.th/garden1/

Puncharat.T. คูม่ อื การใช้งาน Canva. (ออนไลน)์ . (2564). สบื ค้นเมอื่ 22 มนี าคม 2564,
จาก https://www.ubu.ac.th/web/files_up/00037f2021032416124490.pdf

29

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ภาพกจิ กรรมการปฏบิ ัตงิ าน

ยวุ มคั คเุ ทศก์ นำชมและบรรยายนิทรรศการภายในอุทยานการเรยี นรู้สิรินธร
นำชมและบรรยายนิทรรศการ ณ สวนพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี
นำชมและบรรยายนทิ รรศการ ณ อทุ ยานผีเสอ้ื เฉลมิ พระเกยี รติ

นำชมและบรรยายนทิ รรศการ ณ ห้องไทยศกึ ษานทิ ศั นแ์ ละวฒั นธรรมอาเซียน
นำชมและบรรยายนทิ รรศการ ณ พพิ ธิ ภัณฑ์เทคโนโลยีไทยโบราณ

ผ้ชู ว่ ยวิทยากรในการทำกจิ กรรม
กิจกรรมสวนขวด

กิจกรรมสะพานยกนำ้ หนกั

กจิ กรรมผ้ามดั ยอ้ มจากสธี รรมชาติ
กจิ กรรมลกู ประคบสมนุ ไพร

กจิ กรรมแปรรปู อาหาร (โยเกิรต์ )
กิจกรรมวงจรชีวติ ผีเส้อื

การจดั เตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์และสถานทส่ี ำหรับทำกจิ กรรม
จดั เตรียมสถานที่และวสั ดุอปุ กรณ์ท่ใี ช้ทำกจิ กรรมวงจรชีวติ ผีเส้อื
จดั เตรยี มสถานทีแ่ ละวสั ดุอปุ กรณท์ ่ีใชท้ ำกจิ กรรมจรวดขวดนำ้

จัดเตรียมวัสดอุ ุปกรณ์ทใ่ี ชท้ ำกจิ กรรมสวนขวด
จัดเตรยี มวัสดุอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ทำกจิ กรรมสวนขวด (มอส)

จัดเตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์ท่ใี ชท้ ำกจิ กรรมลกู ประคบสมุนไพร
จัดเตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ์ท่ใี ช้ทำกจิ กรรมสะพานยกน้ำหนกั

จดั เตรียมวสั ดุอปุ กรณท์ ี่ใชท้ ำกจิ กรรมผา้ มดั ย้อมจากสธี รรมชาติ

งานอ่นื ๆ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

การใชโ้ ปรแกรม Photoshop ในการออกแบบส่อื การเรยี นรู้
ออกแบบปา้ ยวงจรชีวติ ผเี ส้อื

ถ่ายภาพวตั ถุโบราณ เพอื่ สร้างสื่อ E-book
ออกแบบโปสเตอร์สอ่ื ความรู้วัตถโุ บราณ

วเิ คราะหค์ วามพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ าร โดยใช้โปรแกรม Excel

สรปุ รายรบั คา่ บริการเยี่ยมชมแหลง่ เรียนรู้
จดั ทำชดุ Butterfly Kit

ภาคผนวก ข
รายละเอยี ดงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายของนักศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี

งานทีไ่ ด้รับมอบหมายและประสบการณ์ท่ไี ด้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชพี

นางสาวนงลกั ษณ์ ละมนุ นอก รหัสนกั ศึกษา 6140306104
ตำแหน่ง : นกั ศึกษาฝกึ งาน
บทบาทหนา้ ท่ี :
- เปิด – ปดิ อาคารพิพิธภณั ฑเ์ ทคโนโลยไี ทยโบราณ
- ยุวมัคคุเทศก์
- ผชู้ ว่ ยวิทยากรในการจดั กจิ กรรมต่าง ๆ
- จดั ทำเอกสารและงานนำเสนอตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
- ตรวจสอบสตอ๊ กอปุ กรณ์สำหรบั ใช้ในการจดั กิจกรรม
- จำหน่ายบัตรเขา้ ชม
- จดั ทำชดุ Butterfly kit
ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน :

เปดิ - ปดิ อาคารพพิ ิธภัณฑเ์ ทคโนโลยไี ทยโบราณ

นำชมและบรรยายให้ความรภู้ ายในอทุ ยานการเรียนรู้สริ นิ ธร
ผู้ช่วยวทิ ยากรในการทำกจิ กรรม

จดั ทำชดุ Butterfly kit

ประสบการณ์ที่ได้รับ :

1. ได้เรยี นรกู้ ระบวนการทำงานภายในหน่วยงาน
2. ไดร้ ้จู กั การพัฒนาบุคลกิ ภาพ ด้านความรับผดิ ชอบในหนา้ ที่การงาน ดา้ นความคดิ

การสงั เกต ความกระตือรือรน้ และการตรงตอ่ เวลา
3. ไดพ้ ัฒนาตนเองในเร่ืองของการส่ือสาร
4. มีความกล้าแสดงออกมากยิง่ ข้นึ
5. การทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่ การทำงานเป็นทมี
6. ได้เรยี นรกู้ ารแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า

สรุปและข้อเสนอแนะจากการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ

สรปุ ผลทไี่ ดจ้ ากการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี
ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครั้งนีไ้ ด้ฝึกปฏิบัติงานทีเ่ กีย่ วข้องกบั การทอ่ งเที่ยวโดยตรง การใช้

ชวี ิตรว่ มกบั ผอู้ น่ื ท้ังภายในและภายนอกองคก์ ร ไดเ้ รียนรู้การติดตอ่ สอ่ื สาร โดยมีงานท่ีไดร้ ับมอบหมายซึ่งทำ
ใหส้ ามารถนำความรู้ทไี่ ดศ้ ึกษามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน สามารถเขา้ ใจทฤษฎีและเห็นเป็นรูปธรรม
มากยิ่งขึน้ รวมถึงได้เรยี นรูก้ ระบวนการทำงานของการเป็นมคั คุเทศก์ การเตรียมข้อมูล การเตรียมความ
พร้อม และการปฏิบัติงานหนา้ งานจริงในงานทางด้านการท่องเที่ยว ซึง่ สิ่งเหล่าน้จี ะเป็นประโยชน์อย่างย่ิง
ในการนำไปใชใ้ นชีวติ การทำงานในอนาคต

ข้อเสนอแนะ

(1) หลักสูตรควรเพิ่มเนื้อหาการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเตรียมตัวฝึกประสบการณืวิชาชีพให้
ครอบคลมุ มากยงิ่ ขึน้

(2) เปดิ โอกาสให้นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์ที่เกยี่ วขอ้ งกบั การบริการทนี่ อกเหนอื จากการท่องเท่ียว
โดยตรง

(3) การลดค่าธรรมเนียมการศึกษา เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระของนักศึกษาในช่วง ออกฝึก
ประสบการณ์วชิ าชพี ภายนอกมหาวิทยาลัย


Click to View FlipBook Version