The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Unit 2 Business model and agricultural business

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รจนา มูลมะณี, 2019-06-05 02:51:39

Unit 2 Business model and agricultural business

Unit 2 Business model and agricultural business

๒๕๖๒

หน่วยท่ี 2
รูปแบบธุรกจิ และองค์การธุรกจิ เกษตร

จัดทาโดยครูรจนา มลู มะณี
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่
04/06/62

11

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

หน่วยท่ี 2
เร่ือง ประเภทและรูปแบบองค์กรธุรกิจเกษตร
การจดั รูปแบบขององคก์ รธุรกิจน้ันจะประสบผลสาเร็จหรือลม้ เหลว ก็ข้ึนอยกู่ บั ความสามารถของ
ผบู้ ริหารองคก์ รเป็นสาคญั ในปัจจุบนั น้ีสภาพแวดลอ้ มต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป ขนาดองคก์ รมีขนาดใหญ่ข้ึน
มีความซบั ซอ้ นมากข้ึน มีการแข่งขนั กนั มากข้ึน ถา้ ผบู้ ริหารไม่มีการจดั การอยา่ งมีหลกั เกณฑ์ อยา่ งมีระบบ
ระเบียบแบบแผนแล้วยอ่ มไม่สามารถนา พาองคก์ รไปสู่จุดหมายปลายทางท่ีต้งั ไวไ้ ด้ ในบทน้ีเป็ นการ
อธิบายความหมายของการจดั รูปแบบองคก์ รทางธุรกิจเกษตร ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี

องค์กรทางธุรกิจการเกษตร
องคก์ รธุรกิจการเกษตรจะเก่ียวขอ้ งกบั การดาเนินงานดา้ นธุรกิจการเกษตร นบั ต้งั แต่ธุรกิจปัจจยั การ

ผลิต ธุรกิจการผลิตสินคา้ เกษตร ธุรกิจการแปรรูป ธุรกิจการตลาด ธุรกิจการส่งออกองค์การธุรกิจ
การเกษตรที่ดาเนินกิจการต่างๆ ดงั ที่กล่าวมาแลว้ สามารถแบง่ ออกเป็ นกลุ่ม ได้ 5 กลุ่มคือ

1.องค์กรธุรกิจเกษตรแบบเจ้าของคนเดียว
องคก์ ารธุรกิจการเกษตรแบบเจา้ ของคนเดียว (Single Proprietorship) เป็ นรูปแบบองคก์ ารที่

ควบคุมการดาเนินการโดยบุคคลเพียงคนเดียว เจา้ ของกิจการซ่ึงเป็ นเจา้ ขององคก์ ารเป็ นท้งั เจา้ ของและ
ผบู้ ริหารองคก์ าร และรับผิดชอบความเสี่ยงต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนท้งั หมดแต่เพยี งผเู้ ดียว ท้งั น้ีรวมถึงการรับผล
กาไรหรือขาดทุน ท่ีอาจจะเกิดข้ึนดว้ ย องคก์ ารธุรกิจแบบเจา้ ของคนเดียว เป็ นรูปแบบองคก์ ารธุรกิจ
การเกษตรท่ีเก่าแก่ทีส่ ุด
ลักษณะของกจิ การเจ้าของคนเดยี ว

1. มีเจา้ ของกิจการเพยี งคนเดียว ใชเ้ งินลงทุนนอ้ ย
2. เจา้ ของกิจการมีความรบั ผดิ ชอบในหน้ีสินท้งั หมดไม่จากดั จานวน เจา้ หน้ีมีสิทธิเรียกรอ้ งเอา
ทรัพยส์ ินของเจา้ ของได้ ถา้ ทรัพยส์ ินของกิจการ ไม่เพยี งพอ ชาระหน้ี
3. เจา้ ของกิจการไดร้ ับผลตอบแทนจากการลงทนุ ท้งั ผลกาไรและผลขาดทุนเพยี งคนเดียว
4. การควบคุมการดาเนินงานโดยเจา้ ของกิจการคนเดียว
ข้อดแี ละข้อเสียของกจิ การเจ้าของคนเดยี ว
ขอ้ ดี
1. จดั ต้งั งา่ ยใชเ้ งินทุนนอ้ ย

12

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

2. มีอิสระในการตดั สินใจดาเนินงานโดยเจา้ ของกิจการเพยี งคนเดียว ทาใหเ้ กิดความรวดเร็ว
คล่องตวั ในการดาเนินงาน

3. ผปู้ ระกอบการไดร้ ับผลกาไรท้งั หมดเพยี งคนเดียว
4. รกั ษาความลบั ของกิจการไดด้ ี เพราะผรู้ ูม้ ีเพยี งคนเดียว
5. มีขอ้ บงั คบั ทางกฎหมายนอ้ ย
6. การเลิกกิจการทาไดง้ า่ ย
ขอ้ เสีย
1. การขยายกิจการใหใ้ หญ่ข้ึนทาไดย้ าก เพราะเงินทุนมีจากดั และถา้ ตอ้ งการกยู้ มื เงินจากภายนอก
จะทาไดย้ ากเพราะขาดหลกั ประกนั
2. การตดั สินใจโดยเจา้ ของกิจการเพยี งคนเดียวอาจมีขอ้ ผดิ พลาดไดง้ า่ ย
3. ถา้ มีผลขาดทุน ผปู้ ระกอบการรับผลขาดทนุ และรับผดิ ชอบในหน้ีสินของกิจการไม่จากดั
จานวนเพยี งคนเดียว
4. ระยะเวลาดาเนินงานมกั ไม่ยนื ยาว ข้นึ อยกู่ บั เจา้ ของกิจการ ถา้ เจา้ ของกิจการป่ วยหรือเสียชีวติ
อาจหยดุ ชะงกั หรือเลิกกิจการ
5. ความสามารถในการคดิ และบริหารงานมีจากดั เพราะเกิดจากเจา้ ของเพียงคนเดียว

2.องค์กรธุรกิจเกษตรแบบห้ างห้ ุนส่ วน
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1012 บญั ญตั วิ า่ "หา้ งหุน้ ส่วน คือ

สญั ญา ซ่ึงบคุ คลต้งั แต่สองคนข้ึนไปตกลงเขา้ กนั เพ่อื กระทากิจการร่วมกนั ดว้ ยประสงคจ์ ะแบ่งปันกาไร
อนั จะพงึ ไดแ้ ก่กิจการท่ีทาน้นั " จากบทบญั ญตั ิดงั กล่าวสามารถสรุปไดว้ า่ กิจการหา้ งหุน้ ส่วน คอื กิจการท่ีมี
บุคคลต้งั แต่ 2 คน ข้นึ ไป ร่วมกนั ลงทุนและดาเนินกิจการ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื แบ่งผลกาไรที่ไดจ้ ากการ
ดาเนินงาน ซ่ึงธุรกิจประเภทน้ีสืบต่อมาจากธุรกิจเจา้ ของคนเดียว เมื่อกิจการดาเนินงานกา้ วหนา้ ข้นึ ตอ้ งการ
เงนิ ทุนและการจดั การเพม่ิ ข้ึน จึงตอ้ งหาบคุ คลทีไ่ วว้ างใจไดเ้ ขา้ มาเป็ นหุน้ ส่วนร่วมดาเนินงาน ทาใหก้ ิจการ
มีขนาดใหญ่ข้ึน การบริหารงานมีประสิทธิภาพมีสูงกวา่ เดิม
ลักษณะของกจิ การห้างหุ้นส่วน

1. มีผรู้ ่วมเป็นหุน้ ส่วนต้งั แต่ 2 คนข้นึ ไป ตกลงทาสญั ญาร่วมกนั ดาเนินงาน ซ่ึงอาจกระทาดว้ ยวาจา
หรือเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

2. มีการร่วมกนั ลงทุน โดยนาเงินสด ทรพั ยส์ ินหรือแรงงานมาลงทนุ ตามขอ้ ตกลง

13

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

3. มีการกระทากิจการอยา่ งเดียวกนั ร่วมกนั

4. มีความประสงคแ์ บง่ ผลกาไรกนั ตามขอ้ ตกลง

ประเภทกจิ การห้างห้นุ ส่วน

ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ แบ่งหา้ งหุน้ ส่วนออกเป็ น 2 ประเภท ดงั น้ี

1.1 ห้างหุ้นส่วนสามญั

หา้ งหุ้นส่วนสามญั คือ ห้างหุ้นส่วนท่ีผเู้ ป็ นหุน้ ส่วนทุกคนตอ้ งรับผิดในหน้ีสินท้งั หมดของห้าง

หุน้ ส่วนโดยไม่จากดั จานวน ดงั น้นั ผเู้ ป็ นหุน้ ส่วนทกุ คนจงึ มีสิทธิ ดาเนินกิจการในนามห้างหุ้นส่วนได้ ซ่ึง

หา้ งหุน้ ส่วนสามญั จะจดทะเบียนหรือไม่ก็ได้ จงึ แบง่ หา้ งหุน้ ส่วนสามญั ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื

1.1 หา้ งหุน้ ส่วนสามญั จดทะเบยี นหรือหา้ งหุ้นส่วนสามญั นิติบุคคล มีสภาพเป็ นนิติบุคคล จะตอ้ ง

ใชค้ าวา่ หา้ งหุน้ ส่วนสามญั นิตบิ คุ คล ประกอบหนา้ ชื่อหา้ งเสมอ หา้ งหุน้ ส่วนประเภทน้ีจะตอ้ งระบุชื่อผเู้ ป็ น

หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การไวช้ ัดเจน ซ่ึงจะมีคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ และหุ้นส่วนผูจ้ ดั การเท่าน้ัน ที่มีสิทธิเขา้

จดั การงานของหา้ งหุน้ ส่วนและทานิตกิ รรมต่างๆในนามหา้ งหุน้ ส่วนได้

1.2 หา้ งหุน้ ส่วนสามญั ไม่จดทะเบียน มีฐานะเป็นบคุ คลธรรมดา ถา้ ผเู้ ป็ นหุน้ ส่วนไม่ไดต้ กลงกนั ไว้

ในสญั ญาของหา้ งหุน้ ส่วน กฎหมายใหถ้ ือวา่ ผเู้ ป็นหุน้ ส่วน ทุกคน มีสิทธิเขา้ จดั การงานของหา้ งหุน้ ส่วนได้

1.2 ห้างหุ้นส่วนจากดั

ห้างหุ้นส่วนจากัด คือ ห้างหุ้นส่วนท่ีตอ้ งจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามกฎหมาย ห้างหุ้นส่วน

ประเภทน้ีตอ้ งใชค้ าวา่ "ห้างหุ้นส่วนจากดั " ประกอบหน้าชื่อของ ห้างหุน้ ส่วนเสมอ ห้างหุ้นส่วนจากัด

ประกอบดว้ ยผเู้ ป็นหุน้ ส่วน 2 ประเภท คือ

2.1 หุน้ ส่วนประเภทจากดั ความรับผดิ ชอบ เป็ นหุน้ ส่วนประเภทที่จากดั ความรับผิดชอบในหน้ีสิน

ของหา้ งหุน้ ส่วนเพยี งไม่เกิน จานวนเงินท่ีตนรับลงทุน หุน้ ส่วนประเภทน้ีไม่มีสิทธิเขา้ จดั การงานของห้าง

มีสิทธิเพยี งออกความเห็นและรับเป็นท่ีปรึกษาส่วนทุนที่นามาลงตอ้ งเป็ นเงินหรือทรัพยส์ ินเท่าน้นั จะเป็ น

แรงงานไม่ได้

2.2 หุ้นส่วนประเภทไม่จากดั ความรับผิดชอบ เป็ นหุ้นส่วนประเภทท่ีตอ้ งรับผิดชอบร่วมกนั ใน

หน้ีสินของหา้ งหุน้ ส่วนโดยไม่จากดั จานวน กฎหมายระบุว่า ตอ้ งมีหุ้นส่วนไม่จากดั ความรับผดิ ชอบอยา่ ง

นอ้ ย 1 คน ในห้างหุน้ ส่วนจากดั หุ้นส่วนประเภทน้ีมีสิทธิเขา้ จดั การงานของห้างหุ้นส่วน และทุนที่นามา

ลงทนุ จะเป็นเงนิ ทรัพยส์ ินหรือแรงงานกไ็ ด้

14

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

3. องค์การธุรกิจเกษตรแบบบริษัท
บริษทั จากดั (Corporation) เป็ นธุรกิจอีกรูปแบบหน่ึง ซ่ึงมีการดาเนินการเป็ นนิติบุคคล

ลักษณะการประกอบการมีการระดมทุนโดยการแบ่งทุนเป็ นหุ้นท่ีมีมูลค่าเท่าๆกัน ผูถ้ ือหุ้นแต่ละคน
รับผดิ ชอบจากดั เพยี งมูลค่าหุน้ ทถ่ี ืออยู่ การดาเนินธุรกิจมีการแบ่งแยกหนา้ ที่ของเจา้ ของและผบู้ ริหารออก
จากกนั อยา่ งเด่นชดั ซ่ึงกฎหมายของไทยจะมีการแบ่งบริษทั จากดั ออกเป็ น 2 ประเภทคือบริษทั จากดั และ
บริษทั มหาชน จากดั ดงั น้ี

https://siamrath.co.th/n/35776#

3.1 บริษัทจากัด
ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1096 บญั ญตั ิวา่ "บริษทั จากดั คอื บริษทั ประเภท

ซ่ึงต้งั ข้นึ ดว้ ยแบ่งทนุ เป็นหุน้ มีมูลคา่ หุน้ เท่า ๆ กนั โดยผถู้ ือหุน้ ต่างรับผิดจากดั เพยี งไม่เกินจานวนเงินท่ีตน
ยงั ส่งใชไ้ ม่ครบมูลคา่ ของหุน้ ท่ตี นถือ " จะเห็นไดว้ า่ ปัจจุบนั น้ี การประกอบกิจการในรูปแบบ บริษทั จากดั น้ี
เป็นที่นิยมมาก เพราะการประกอบธุรกิจส่วนใหญ่มกั ตอ้ งใชเ้ งินทุนจานวนมาก การระดมเงินทุนกิจการใน
รูปแบบน้ีจดั ทาไดง้ ่ายและไดจ้ านวนมาก นอกจากเงนิ ทุนท่ีไดจ้ ะไดจ้ ากเจา้ ของกิจการผเู้ ริ่มก่อต้งั แลว้ ยงั มี
การระดมเงินทุนจากบุคคลทั่วไปด้วย รวมท้ังการบริหารงานท่ีมีประสิทธิภาพ โดยผูบ้ ริหาร ที่มี
ความสามารถร่วมกนั ดาเนินกิจการ ส่งผลใหเ้ ป็นกิจการท่ีมีความมนั่ คงและน่าเช่ือถือมากประเภทหน่ึง
ลักษณะของบริษัทจากัด

ตามบทบญั ญตั ิของประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ บรรพ 3 มาตรา 1096 ไดบ้ ญั ญตั ิวา่ บริษทั
จากดั คอื บริษทั ประเภททจ่ี ดั ต้งั ข้นึ ดว้ ยการแบง่ ทนุ เป็ นหุ้น มีมูลค่าเท่า ๆ กนั ผูถ้ ือหุน้ ต่างรับผิดชอบจากดั
ไม่เกินจานวนเงนิ ที่ตนส่งใชใ้ หค้ รบมูลค่าหุน้ ท่ีตนถือ ความเป็ นเจา้ ของ เน่ืองจากลกั ษณะของบริษทั มีการ
แบง่ ทุนออกเป็นหุน้ ผซู้ ้ือหุน้ ของบริษทั เรียกวา่ "ผูถ้ ือหุ้น" จะมีฐานะเป็ นเจา้ ของหุ้นไม่ใช่ เจา้ ของ กิจการ
แต่มีสิทธิได้รับประโยชน์ตอบแทนจากบริษทั คือ "เงินปันผล" ผูเ้ ป็ นเจา้ ของกิจการก็คือนิติบุคคลท่ีเป็ น
บริษทั จากดั นน่ั เอง

15

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

การก่อต้งั บริษทั จากัดมีข้นั ตอนในการก่อต้งั ตามกฎหมาย ดงั นี้

1.1 มีบคุ คลอยา่ งนอ้ ย 3 คน มารวมกนั จดั ต้งั บคุ คลกลมุ่ น้ีเรียกวา่ "คณะผกู้ ่อการ"

1.2 ทาหนงั สือบริคณห์สนธิ ซ่ึงมีรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกบั บริษทั ท่จี ดั ต้งั ข้นึ ไดแ้ ก่ ช่ือบริษทั

สถานที่ต้งั วตั ถุประสงค์ ช่ือผกู้ ่อการ อาชีพผกู้ ่อการ ชนิดของหุน้ ท่ีออกจาหน่าย จานวนหุน้ มูลคา่ หุน้ และ

นาหนงั สือบริคณห์สนธิไปจดทะเบยี นทีก่ รมการคา้ กระทรวงพาณิชย์

1.3 คณะผกู้ ่อการจะตอ้ งทาหนงั สือช้ีชวน เพอ่ื ให้มีผสู้ นใจมาซ้ือหุน้ ของบริษทั และจะตอ้ ง

ดาเนินการ ใหม้ ีผมู้ าจองหุน้ ของบริษทั จนครบจานวนหุน้ ทขี่ อ จดทะเบียน

1.4 เม่ือมีผจู้ องหุน้ จนครบทุกหุน้ แลว้ บริษทั เรียกผจู้ องหุน้ ทุกคนประชุมจดั ต้งั บริษทั โดยในที่

ประชุมจะตอ้ งเลือกต้งั กรรมการบริหารบริษทั อยา่ งนอ้ ย 1 คน และกาหนดอานาจหนา้ ทีข่ องกรรมการใน

การกระทาการแทนบริษทั และดาเนินการเรียกเก็บค่าหุน้ คร้ังแรกอยา่ งนอ้ ย 25% ของมูลค่าหุน้

1.5 หลงั จากเรียกเกบ็ คา่ หุน้ คร้ังแรกแลว้ จึงไปขอจดทะเบยี นเป็ นบริษทั จากดั เพอื่ ใหม้ ีสภาพเป็ นนิติ

บุคคลตามกฎหมาย โดยนาสาเนาการประชุม หนงั สือบริคณห์สนธิระเบยี บขอ้ บงั คบั ไปขอจดทะเบียน

1.6 ตอ้ งมีผสู้ อบบญั ชีรบั อนุญาตเป็ นผสู้ อบบญั ชีของบริษทั จากดั

1.7 ตอ้ งมีสานกั งานใหญ่ต้งั อยภู่ ายในราชอาณาจกั ร

จานวนเงินทนุ ที่ตอ้ งใช้ ทนุ ของบริษทั จากดั จะไดม้ าเนื่องจากการนาใบหุน้ ออกจาหน่าย กฎหมายระบวุ า่

มูลค่าหุน้ จะตอ้ งมีมูลค่าหุน้ ละเท่า ๆ กนั เงนิ ทนุ ของบริษทั แบง่ ไดด้ งั น้ี

3.1 ทนุ จดทะเบยี น (Authorized Capital) คือ จานวนทุนท้งั สิ้นท่ีไดร้ ะบุไวใ้ นหนงั สือบริคณหส์ นธิ

3.2 ทนุ ชาระแลว้ (Paid - up Capital) คือ จานวนเงนิ ทีผ่ ถู้ ือหุน้ ไดช้ าระค่าหุน้ ใหแ้ ก่บริษทั ตามที่

บริษทั ไดเ้ รียกร้องใหช้ าระแลว้ หุน้ ของบริษทั จากดั แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื

1. หุน้ สามญั (Common Stock) คือ หุน้ ทีม่ ีผลู้ งจองหุน้ ดว้ ยเงิน เมื่อเริ่มต้งั แตม่ ีการให้จองหุน้ ผถู้ ือ

หุน้ สามญั มีสิทธิออกเสียงในท่ปี ระชุมทกุ เรื่อง มีสิทธิไดเ้ งนิ ปันผล และไดร้ บั คืนทุนเม่ือบริษทั เลกิ ดาเนิน

กิจการ

2. หุน้ บุริมสิทธิ (Preferred Stock) คือ หุ้นท่ีมีสิทธิพเิ ศษเหนือหุ้นสามญั โดยมีสิทธิไดเ้ งินปันผล

และคืนทนุ ก่อนหุน้ สามญั แต่ผถู้ ือหุน้ บุริมสิทธิไม่มีสิทธิออกเสียงในทปี่ ระชุม

ความรับผิดชอบและการบริหารงาน ในที่ประชุมจดั ต้งั บริษทั ท่ีประชุมใหญ่จะตอ้ งออกเสียงเลือกต้งั

คณะกรรมการของบริษทั ซ่ึงจะตอ้ งมีจานวนไม่นอ้ ยกว่า 3 คน โดยท่ีประชุมผูถ้ ือหุ้น เป็ นผมู้ ีสิทธิแต่งต้งั

และถอดถอนคณะกรรมการได้ โดยแตง่ ต้งั กรรมการคนใดคนหน่ึงเป็ นกรรมการผจู้ ดั การ

16

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

หน้าท่ีและความรับผิดชอบของกรรมการตามกฎหมาย มีดงั นี้

1. ดาเนินงานเพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคข์ องบริษทั

2. ควบคุมการชาระเงินคา่ หุน้ ของผจู้ องหุน้

3. จดั ทาบญั ชีและจดั เก็บรกั ษาบญั ชีและเอกสารตามทก่ี ฎหมายกาหนด

4. จ่ายเงินปันผลและดอกเบ้ยี

5. ปฏบิ ตั ิตามมติของทป่ี ระชุมใหญผ่ ถู้ ือหุน้

6. กรรมการของบริษทั จะทาการคา้ แข่งขนั กบั บริษทั ของตนเองไมไ่ ด้

7. มีอานาจหนา้ ทีอ่ ื่น ๆ ตามทไี่ ดร้ ะบไุ วใ้ นขอ้ บงั คบั ของบริษทั สาหรับผถู้ ือหุน้ มีสิทธิเป็นเจา้ ของ

หุน้ ตามทีต่ กลงซ้ือไว้ แต่ไม่มีสิทธิเป็ นเจา้ ของสินทรัพยข์ อง บริษทั

ผลตอบแทนจากการลงทุน ผลประโยชน์ท่ีผูถ้ ือหุน้ จะไดร้ ับคือส่วนแบ่งจากกาไร เรียกวา่ เงินปัน

ผล หรือผลประโยชนอ์ ื่นใดตามทีร่ ะบุไวใ้ น หนงั สือ บริคณหส์ นธิ โดยปกติผลกาไรของบริษทั จะไม่นามา

แบ่งเป็ นเงินปันผลท้งั หมด ส่วนหน่ึงจะกนั สะสมไวเ้ พ่ือบริษทั นาไปใช้จ่ายตามวตั ถุประสงค์ เช่น เพอ่ื ไว้

ขยายโรงงาน เพ่อื ซ้ือเครื่องจกั รใหม่ เพอื่ ผลขาดทุนในภายหนา้ กาไรส่วนที่กนั สะสมไวน้ ้ันเรียกว่า เงิน

สารอง (Reserves)

การควบคุมการบริหารงาน การบริหารงานของบริษทั จะอยู่ในรูปของคณะกรรมการซ่ึงจะมีการ

บริหารงานท่ีกระจายงานตามหน้าที่และความรับผดิ ชอบ เป็ นระบบและมีข้นั ตอนที่ถูกตอ้ ง โดยกฎหมาย

กาหนดใหจ้ ะตอ้ งมีการตรวจสอบบญั ชีของบริษทั ปี ละคร้ัง โดยมีผสู้ อบบญั ชีรับอนุญาตรับรองงบดุล และ

บญั ชีกาไรขาดทนุ ยนื่ ตอ่ นายทะเบยี นบริษทั

การประเมินผลการดาเนินงาน บริษทั จะทาการประเมินผลการดาเนินงานโดยดูจากงบการเงิน คือ

งบกาไรขาดทนุ และงบดุลของบริษทั

การขยายกิจการ บริษทั สามารถขยายกิจการไดด้ ว้ ยการขอจดทะเบยี นเพม่ิ ทุนหรือกูย้ มื จากธนาคาร

หรือสถาบนั การเงนิ อื่น

การเลิกกจิ การ บริษทั จาเป็ นต้องเลกิ กจิ การเน่ืองจากสาเหตดุ งั ต่อไปนี้

1. ถา้ ในการจดั ต้งั บริษทั ระบเุ พอื่ ทากิจการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงโดยเฉพาะ เม่ือเสร็จสิ้นกิจการน้นั แลว้

บริษทั ก็ตอ้ งเลิกกิจการ

2. ถา้ ในการจดั ต้งั บริษทั กาหนดระยะเวลาของการดาเนินงานไว้ เม่ือครบกาหนดระยะเวลาที่ระบุ

บริษทั ก็ตอ้ งเลิกกิจการ

17

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

3. ถา้ ในขอ้ บงั คบั ของบริษทั ระบุเหตทุ บี่ ริษทั ตอ้ งเลิกไว้ เมื่อเกิดเหตุน้นั บริษทั กต็ อ้ งเลิกกิจการ
4. เม่ือมีมติพเิ ศษจากผถู้ ือหุน้ ใหเ้ ลิกบริษทั
5. เมื่อบริษทั จดทะเบียนต้งั บริษทั มาแลว้ 1 ปี เตม็ โดยบริษทั ไม่ไดเ้ ริ่มดาเนินกิจการ หรือหยดุ
ดาเนินการมาเป็นระยะเวลา 1 ปี เตม็
6. เมื่อผถู้ ือหุน้ ของบริษทั ลดลงจนเหลือไมถ่ ึง 7 คน
7. เมื่อบริษทั ลม้ ละลาย
ขอ้ ดีของบริษทั จากดั
1. สามารถจดั หาเงนิ ทนุ ไดจ้ านวนมากตามทต่ี อ้ งการ โดยการออกหุน้ จาหน่ายเพม่ิ หรือจดั หาโดย
กยู้ มื จากสถาบนั การเงิน ซ่ึงจะไดร้ ับความเช่ือถือมากกวา่ กิจการประเภทอื่น
2. การดาเนินกิจการบริษทั ไม่จากดั ระยะเวลาตามอายขุ องผถู้ อื หุน้ ดงั น้นั ระยะเวลาในการดาเนิน
กิจการจงึ ยาวกวา่ การดาเนินกิจการประเภทอื่น
3. ผถู้ ือหุน้ รบั ผดิ ชอบเฉพาะมูลคา่ หุน้ ส่วนท่ยี งั ชาระคา่ หุน้ ไม่ครบเทา่ น้นั โดยไม่ตอ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่
หน้ีสินใด ๆ ของบริษทั
4. การบริหารงานสามารถหาผทู้ ม่ี ีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์จดั การแทนได้ เพอื่ ให้
มีประสิทธิภาพในการบริหารงาน
5. ผถู้ ือหุน้ ของบริษทั สามารถโอนหรือขายหุน้ ใหผ้ ใู้ ดก็ได้ โดยไม่ตอ้ งขอความเห็นชอบจากบริษทั
ก่อน
ขอ้ จากดั ของบริษทั จากดั
1. การจดั ต้งั บริษทั มีข้นั ตอนตามกฎหมายทย่ี งุ่ ยาก
2. กิจการบริษทั เน่ืองจากตอ้ งเปิ ดเผยขอ้ มูลใหผ้ ถู้ ือหุน้ และบคุ คลภายนอกทราบจึงไมอ่ าจรกั ษา
ความลบั ได้
3. เนื่องจากในการดาเนินการของบริษทั จากดั มผี ถู้ ือหุน้ คณะกรรมการ บริษทั และพนกั งาน ดงั น้นั
ในการปฏบิ ตั งิ านอาจจะมีบางส่วน ท่ีขาดความต้งั ใจใน การทางานเพราะไม่ไดเ้ ป็ นเจา้ ของกิจการเอง
4. การเสียภาษีของกิจการประเภทบริษทั จะเสียภาษีค่อนขา้ งสูงและซ้าซอ้ นคือบริษทั จดทะเบยี น
เป็นนิตบิ ุคคลแยกตา่ งหากจากเจา้ ของกิจการ ดงั น้นั จะตอ้ งเสียภาษีนิติบคุ คลเมื่อบริษทั จา่ ยเงินปันผลใหผ้ ู้
ถือหุน้ ในฐานะผถู้ ือหุน้ เป็นบคุ คลธรรมดาตอ้ งเสียภาษบี ุคคลธรรมดาอีกดว้ ย

18

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

3.2 บริษทั มหาชนจากัด
ตามพระราชบญั ญตั ิบริษทั มหาชนจากดั พ.ศ. 2511 บริษทั มหาชนจากดั มีโครงสร้างเหมือนกบั

บริษทั จากัด คือ มีผูล้ งทุนเรียกว่า ผูถ้ ือหุ้น รับผิดชอบจากัด ไม่เกินจานวนเงินค่าหุ้นท่ียงั ไม่ชาระมี
คณะกรรมการเป็นผบู้ ริหาร แตม่ ีลกั ษณะบางประการทแี่ ตกตา่ งจากบริษทั จากดั คอื
มีกลุ่มผกู้ ่อการเป็นบคุ คลธรรมดาต้งั แต่ 15 คนข้ึนไป และมีกรรมการต้งั แต่ 5 คนข้นึ ไป
มีผถู้ ือหุ้นต้งั แต่ 100 คนข้ึนไป โดยผูถ้ ือหุน้ คนหน่ึงถือหุ้นไดไ้ ม่เกินร้อยละ 0.6 ของจานวนหุน้ ท่ีจาหน่าย
ท้งั หมดรวมกัน และไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของจานวนหุ้นที่จาหน่ายไดท้ ้งั หมด ส่วนหุ้นจานวนที่เหลือ
บคุ คลใดบคุ คลหน่ึงจะถือไวไ้ ดร้ ายละไม่เกินร้อยละ10 ตอ้ งมีทุนที่ชาระดว้ ยตวั เงินไม่น้อยกวา่ 5 ลา้ นบาท
โดยมีมูลคา่ หุน้ ละเทา่ ๆ กนั และจะตอ้ งมีมูลคา่ ไม่ต่ากวา่ หุน้ ละ 20 บาท และไม่เกินหุน้ ละ 100บาท

4.องค์กรธุรกิจเกษตรท่ีเป็ นสถาบนั เกษตรกร แบ่งออกไดเ้ ป็น 3 กลุ่มใหญๆ่ คือ
4.1) สหกรณ์

พระราชบญั ญตั สิ หกรณ์ พ.ศ.2511 ไดใ้ หค้ วามหมายของสหกรณ์ไวด้ งั น้ี "สหกรณ์ หมายความว่า
คณะบคุ คล ซ่ึงรวมกนั ดาเนินกิจการเพอ่ื ช่วยเหลือ ซ่ึงกนั และกนั และไดจ้ ดทะเบยี นตามพระราชบญั ญตั ิน้ี"
จากความหมายของสหกรณ์ตามพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ จะเห็นไดว้ ่า สหกรณ์ คือธุรกิจรูปแบบหน่ึงท่ี
จดั ต้งั และดาเนินการโดยกลุ่มบุคคลที่มีความประสงคอ์ ยา่ งเดียวกนั ร่วมกนั จดั ต้งั ลงทุน ดาเนินการและเป็ น
เจา้ ของร่วมกนั ดว้ ยความสมคั รใจ ทาหนา้ ที่ใน ธุรกิจเพอ่ื ช่วยเหลือสมาชิก โดยมีจุดมุ่งหมายเพือ่ ขจดั ปัญหา
ความเดือดรอ้ นทางเศรษฐกิจและสังคมในหมู่สมาชิก รวมท้งั รักษาและส่งเสริมผลประโยชน์ ของสมาชิก
ใหด้ ีข้ึน
ลกั ษณะของกจิ การสหกรณ์

เป็ นการร่วมทุนของบุคคลต้งั แต่ 10 คนข้ึนไป โดยไม่จากดั จานวนเป็ นการร่วมมือกนั เพื่อแกไ้ ข
ความเดือดร้อนของบุคคลที่มีปัญหาทางดา้ นเศรษฐกิจและสังคมโดยไม่คานึงถึงสินทรัพยผ์ ูส้ มคั รเขา้ เป็ น
สมาชิกตอ้ งเป็ นไปดว้ ยความสมคั รใจ ไม่ใช่การบงั คบั เพราะสหกรณ์ดาเนินงานในรูป "โดยสมาชิกเพื่อ
สมาชิก"

สมาชิกทุกคนมีสิทธิเท่าเทยี มกนั ในการดาเนินงานสหกรณ์ เพราะการดาเนินงานเป็ นไปในรูปแบบ
ประชาธิปไตยสมาชิกแตล่ ะคนมีสิทธิออกเสียงไดม้ ีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซ่ึงกนั
และกนั ในหมู่สมาชิก โดยไม่คานึงถึงผลกาไร

19

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

การจดั ต้งั มีการจดทะเบียนตามพระราชบญั ญตั ิการสหกรณ์ ไม่ได้อยู่ในบงั คบั ของประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์
ประเภทของสหกรณ์

กิจการสหกรณ์มีหลายประเภท แต่ละประเภทมีลกั ษณะการก่อต้งั และการดาเนินงานแตกตา่ งกนั
โดยในประเทศไทยไดแ้ บ่งประเภทของสหกรณ์ ตามประกาศของนายทะเบียนสหกรณ์เกี่ยวกบั เร่ืองการจดั
ประเภทสหกรณ์ตามกฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ. 2511
เม่ือวนั ท่ี 28 พฤศจิกายน 2516 กาหนดประเภทสหกรณ์ท่รี ับจดทะเบยี นรวมมี 6 ประเภท ดงั น้ี

1) สหกรณ์การเกษตร เป็นสหกรณ์ทีม่ ีสมาชิกประกอบดว้ ยเกษตรกร มีหนา้ ท่ใี นการ
จดั หาและใหบ้ ริการแก่สมาชิกในดา้ นการผลิตการเกษตร เช่น การจดั หาเงินทนุ การจดั หาวสั ดุ เครื่องมือ
และอุปกรณ์ต่าง ๆ มาจาหน่ายใหส้ มาชิกในราคาถูก การรวบรวมผลิตผลออกจาหน่าย และการแปรรูป
ผลิตผล ออกจาหน่ายใหไ้ ดร้ าคาดี

2) สหกรณ์การประมง จดั ต้งั ข้นึ ในกลุ่มผปู้ ระกอบอาชีพประมง ซ่ึงส่วนใหญอ่ ยใู่ นจงั หวดั
ชายทะเลทาหน้าท่ีเก่ียวกบั การส่งเสริม และประกอบอาชีพ ดา้ นการประมง รวมถึงการจดั หาเงินทุนแล
อุปกรณ์เกี่ยวกบั การประมงจาหน่ายใหแ้ ก่สมาชิกในราคาถูก และการจดั การดา้ นการตลาด เพื่อให้สามารถ
จาหน่าย ผลิตผลใหไ้ ดร้ าคาดี จดั ต้งั ข้ึนคร้ังแรกเมื่อ พ.ศ 2492 ท่ีอาเภอพรหมพราม จงั หวดั พิษณุโลก มีชื่อ
วา่ "สหกรณ์ประมงพษิ ณุโลก จากดั " เป็ นสหกรณ์ประมง น้าจืด เดิมสหกรณ์ประมงไดร้ วมอยกู่ บั สหกรณ์
การเกษตร ปัจจุบนั ไดแ้ ยกสหกรณ์ประมงออกจากสหกรณ์การเกษตร เพราะว่าเป็ นอาชีพท่ีแตกต่างกัน
นบั วา่ เป็นการใหค้ วามสาคญั แก่อาชีพประมงเป็นอยา่ งมาก

3) สหกรณ์นิคม เป็นสหกรณ์ท่มี ีหนา้ ทเี่ ก่ียวกบั การจดั หาหรือจดั สรรท่ดี ินใหแ้ ก่สมาชิก
ในการประกอบอาชีพ รวมถึงการจดั หาและอานวยความสะดวก ในการประกอบอาชีพให้แก่สมาชิก เช่น
การจดั หาเงนิ ทนุ อุปกรณ์การผลิตและเคร่ืองมือการผลิตมาจาหน่าย ตลอดจนการจดั หาน้า และการจดั การ
ดา้ น การตลาดใหอ้ ีกดว้ ย

20

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

4) สหกรณ์ร้านคา้ เป็ นสหกรณ์ที่จัดต้งั ข้ึนเพื่อให้บริการด้านการจดั หาสินคา้ อุปโภคบริโภค
จาหน่ายใหแ้ ก่สมาชิกในราคายตุ ธิ รรม ส่วนใหญจ่ ะต้งั อยใู่ น เขตชุมชน ท่ีมีประชาชนหนาแน่น ในสถาบนั
ศกึ ษา และหน่วยงานอื่น ๆ

5) สหกรณ์บริการ เป็ นสหกรณ์ที่ให้บริการแก่สมาชิกในดา้ นสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น สหกรณ์
ไฟฟ้ า สหกรณ์แทก็ ซี่ รถรับจา้ ง สหกรณ์การเคหสถาน เป็ นตน้ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อจดั หาบริการอยา่ งใด
อยา่ งหน่ึงที่สมาชิกตอ้ งการ และจะเรียกเก็บค่าบริการที่สหกรณ์จดั น้ัน จากสมาชิกตามส่วนที่แต่ละคนใช้
ประโยชน์ เมื่อสมาชิกหมดความจาเป็ นท่จี ะใชบ้ ริการอาจเลิกได้ เช่น สหกรณ์การไฟฟ้ า เมื่อใดทอ้ งท่ีน้ันมี
ไฟฟ้ าใช้ สมาชิกก็หมดความจาเป็นทจ่ี ะใชบ้ ริการของสหกรณ์ สหกรณ์กจ็ ะเลิกได้

6) สหกรณ์ออมทรัพยห์ รือสหกรณ์ธนกิจ เป็ นสหกรณ์ท่ีสมาชิกร่วมกนั จดั ต้งั ข้ึนเพ่อื ส่งเสริมการ
ออมเงินในหมู่สมาชิก เพ่ือใหส้ มาชิกไดก้ ูย้ มื เงินในยามจาเป็ น ดว้ ยอตั ราดอกเบ้ียต่า ตลอดจนให้บริการ
ทางการเงนิ แก่สมาชิก โดยมีเงินปันผลคืนตามส่วนใหอ้ ีกดว้ ย สหกรณ์ประเภทน้ีไดร้ ับความนิยมและจดั ต้งั
ข้นึ ในหมู่ผมู้ ีรายไดป้ ระจาเช่น ขา้ ราชการครู ตารวจ รฐั วสิ าหกิจต่าง ๆ

4.2) กลุ่มเกษตรกร เกิดจากการรวมตวั ของเกษตรกรทีท่ าการผลิตสินคา้ เกษตรท่คี ลา้ ยคลึงกนั โดยมี
วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ดา้ นการผลิตและดา้ นการตลาดเกษตรกรทร่ี วมกลุ่มกนั แยก
ออกเป็น 2 ประเภทดว้ ยกนั คือ

(1) กลุ่มท่ีมีการยน่ื ขอจดทะเบียนตามกฎหมายซ่ึงมีสภาพเป็ นนิตบิ ุคคลเพอื่ เตรียมพรอ้ มท่ีจะ
แปรสภาพเป็ นสหกรณ์การเกษตรตอ่ ไป

(2) กลุ่มที่ไม่มีการยนื่ ขอจดทะเบียนตามกฎหมาย มกั เป็ นกลุ่มที่ทา ให้เกิดข้ึนเฉพาะหน้า
ตามฤดูกาลผลิตพืชผลแต่ละชนิด โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ แกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ อนั เนื่องมาจากการผลิต
และจาหน่ายผลิตผล

5. วิสาหกิจชุมชน (SMCE หรือ Small and Micro Community Enterprise) หมายถึง กิจการของชุมชน
เก่ียวกบั การผลิตสินคา้ การให้บริการหรือการอ่ืนๆ ท่ีดา เนินการโดยคณะบุคคลท่ีมีความผกู พนั มีวถิ ีชีวิต
ร่วมกนั และรวมตวั กนั ประกอบกิจกรรมดงั กล่าว ไม่วา่ จะเป็ นนิติบุคคลในรูปแบบใด หรือไม่เป็ น นิติ

21

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

บุคคลเพอ่ื สร้างรายไดแ้ ละเพอ่ื การพ่ึง พาตนเองของครอบครัว ชุมชนและระหวา่ งชุมชน ลกั ษณะสาคญั ของ
วสิ าหกิจชุมชน มีองคป์ ระกอบอยา่ งนอ้ ย 7 ประการ คือ

(1) ชุมชนเป็นเจา้ ของและผดู้ าเนินการ
(2) ผลผลิตมาจากกระบวนการในชุมชน โดยใชว้ ตั ถุดิบ ทรัพยากร ทนุ แรงงานในชุมชน
(3) ริเริ่มสรา้ งสรรคเ์ ป็นนวตั กรรมของชุมชน
(4) เป็ นฐานภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ผสมผสานภมู ิปัญญาสากล
(5) มีการดาเนินการแบบบรู ณาการเชื่อมโยงกิจกรรมตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ
(6) มีกระบวนการเรียนรูเ้ ป็นหวั ใจ
(7) มีการพ่งึ พาตนเองของครอบครวั และชุมชนเป็นเป้ าหมาย
องค์การธุรกิจเกษตรท่ีเป็ นองค์การของรัฐ แบง่ ออกได้ 2 กลุม่ ใหญ่ คอื
(1) องคก์ ารทางดา้ นการผลิต ไดแ้ ก่

(1.1) องคก์ ารส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย เป็ นรัฐวสิ าหกิจสังกดั กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ที่มีหน้าที่หลกั คือ การส่งเสริมการเล้ียงโคนมและสัตวอ์ ื่นๆ ที่ใหน้ ้านมและให้เน้ือ
ทาหนา้ ที่เป็นผรู้ วบรวมและกระจายสินคา้ นมสู่ผบู้ ริโภคตามนโยบายของรัฐ ซ่ึงทาใหก้ ารดื่มนมสดเป็ นที่
นิยมแพร่หลายมากข้ึนในหมู่ประชาชนของไทยในปัจจุบนั

(1.2) องคก์ ารอุตสาหกรรมป่ าไม้ (อ.อ.ป.) เป็ นรัฐวิสาหกิจสงั กดั กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ซ่ึงมีหนา้ ท่ีในการถนอมไมช้ นิดดีมีราคา และเป็นที่นิยมใหม้ ีใชส้ อยไดน้ านๆ พรอ้ มกบั นาไมท้ ่ีมีค่า
ในการใชง้ านต่างๆ มาใชค้ วบคู่กนั ไป

(2) องคก์ ารทางดา้ นตลาด ไดแ้ ก่
(1) องคก์ ารคลงั สินคา้ (อ.ค.ส.) เป็ นรฐั วสิ าหกิจสังกดั กระทรวงพาณิชยท์ าหน้าท่ีดา้ นการ

พยงุ ราคาสินคา้ เกษตร ทาให้เกษตรกรไดร้ ับราคาสินคา้ ที่เป็ นธรรม และป้ องกนั การขาดแคลนสินคา้ ท่ี
จาเป็นตอ่ การครองชีพ โดยการเก็บรกั ษาสินคา้ ไวเ้ พอื่ รักษาระดบั ราคาในตลาดตลอดจนมีการนาเขา้ ส่งออก
สินคา้ เพอื่ แทรกแซงตลาดตามนโยบายของรัฐ

22

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

(2) องคก์ ารตลาดเพอื่ เกษตรกร (อ.ต.ก.) เป็ นรัฐวิสาหกิจสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รับผดิ ชอบในการส่งเสริมการคา้ ผลิตผลเกษตรกร โดยการจดั ให้มีตลาดกลางข้ึนในพ้นื ที่ต่างๆ เพ่ือเป็ น
แหล่งกลางซ้ือขายผลผลิตเกษตร แต่จานวนตลาดกลางที่จดั ต้งั ข้ึนยงั มีนอ้ ยมากสามารถจดั จาหน่ายสินคา้
เกษตรไดไ้ ม่ถึงร้อยละ 20 ของผลผลิตเกษตรท้งั หมด

สรุปเนอื้ หาประจาบท
องคก์ ารทางธุรกิจการเกษตร สามารถแบ่งออกเป็ น 5 กลุ่ม ไดแ้ ก่ องคก์ ารธุรกิจการเกษตรแบบ

เจา้ ของคนเดียว องคก์ ารธุรกิจแบบหา้ งหุ้นส่วน องคก์ ารธุรกิจการเกษตรท่ีเป็ นสถาบนั เกษตรกร และ
องค์การธุรกิจการเกษตรท่ีเป็ นองค์การของรัฐ โดยกระบวนการจัดการองคก์ ารทางธุรกิจการเกษตร
ประกอบดว้ ยการดาเนินกิจกรรม 4 ข้นั ตอน คอื ข้นั ตอนการวางแผน ข้นั ตอนการจดั การองคก์ ร ข้นั ตอนการ
ช้ีนา และข้นั ตอนการควบคุมองคก์ ร
***********************************************************************************
กจิ กรรมท่ี 2
1. ใหน้ กั ศึกษาอธิบายหรือสรุปจาแนกรูปแบบของธุรกิจเกษตรประเภทต่างๆ
2. ใหน้ กั ศึกษาสืบคน้ รูปแบบองคก์ ารธุรกิจเกษตรทดี่ าเนินการในรูปแบบของรัฐบาล
3. ใหน้ กั ศึกษาสืบคน้ รูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตรท่นี กั ธุรกิจเกษตรประกอบอาชีพแลว้ ประสบความสาเร็จ
และนกั ศกึ ษาเกิดความประทบั ใจหรือสนใจจะนาเป็นตน้ แบบชีวติ ในอนาคต

23

ประเภทและรูปแบบองคก์ รธุรกิจเกษตร

ใบงานท่ี 2
หน่วยท่ี 2 เรื่อง ประเภทและรูปแบบองค์กรธุรกจิ เกษตร
…………………………………………………………………………………………………………….

เร่ือง เลือกรูปแบบองคก์ ารธุรกิจ
จุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกเหตผุ ลการเลือกธุรกิจทเี่ หมาะสมกบั ตนเองได้
จุดประสงค์ด้านคณุ ธรรมและจริยธรรมของนักศกึ ษา

1. ดา้ นมนุษยส์ มั พนั ธ์ ในการมีส่วนร่วม รบั ฟังคนอื่น เป็นผนู้ าและผตู้ ามท่ีดี
2. ดา้ นความรบั ผดิ ชอบตอ่ ส่วนรวมและส่วนบคุ คล คือ การตรงตอ่ เวลา ส่งงานทนั กาหนดเวลา
ความสะอาดและถกู ตอ้ งของผลงาน
3. ดา้ นความมีวนิ ยั ในตนเอง ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบยี บ
4. ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะวชิ าชีพ มีความสานึกดีในการจดั การธุรกิจเกษตรในทุกเร่ืองทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
วัสดุ เคร่ืองมือ และอปุ กรณ์
1. กระดาษ A4
2. เอกสารประกอบการสอน
ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน
1. ให้ผเู้ รียนเลือกอาชีพธุรกิจเกษตรของตนเองทจี่ ะทาในอนาคต จะเลือกรูปแบบองคก์ ารใด
บรรยายใน กระดาษ A4 โดยบรรยายบอกถึง ทาธุรกิจอะไร ขนาดธุรกิจที่จะทา เงินลงทนุ จานวนคนท่ี
ทางานในองคก์ ร ตลาดขายผลผลิต
2. บอกเหตุผลเปรียบเทียบ ขอ้ ดี-ขอ้ เสีย ทาไมถึงเลือกรูปแบบองคก์ ารน้นั
3. สรุปรายงานนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน
4. ใชเ้ วลา 40 นาที
5. ประเมินผล
แหล่งค้นคว้า
1. หนงั สือเอกสารประกอบการสอนวชิ าการจดั การธุรกิจเกษตร
2. ทางอินเตอร์เน็ต
3. หนงั ส่ือและตาราเก่ียวกบั การบริหารจดั การทว่ั ไป


Click to View FlipBook Version