The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by zp.spouse, 2022-01-25 02:13:52

โรงเรียนสลกบาตรวิทยา

วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม 2565

โ ร ง เ รี ย น

สลกบาตร
วิทยา

วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม 2565

กำหนดการค่ายวิทยาศาสตร์สัญจร

เวลา กำ ห น ด ก า ร

07.30-08.30 น. เดินทางจากมหาวิทยาลั ยราชภั ฏกำแพงเพชรไปยังโรงเรียน
08.30-08.45 น. จัดเตรียมสถานที่ และอุ ปกรณ์
08.45-09.00 น.
09.00-09.50 น. นักเรียนลงทะเบียนเข้าร่วมกิ จกรรมโดยการแสกน QR CODE LINE
09.50-10.00 น. ณ ห้องประชุ มวชิรสาร
10.00-10.50 น. กล่ าวรายงานการจัดงาน โดยคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
10.50-11.00 น. กล่ าวเปิดงาน โดยผู้อำนวยการสถานศึ กษา
11.00-11.50 น.
11.50-12.40 น. ฐานที่ 1 (≤50 นาที )
12.40-13.30 น.
13.30-14.30 น. เปลี่ ยนฐานกิ จกรรม (≤10 นาที )

14.30-15.00 น. ฐานที่ 2 (≤50 นาที )

15.00-16.00 น. เปลี่ ยนฐานกิ จกรรม (≤10 นาที )

ฐานที่ 3 (≤50 นาที )

พักรับประทานอาหารกลางวัน (≤50 นาที )

ฐานที่ 4 (≤50 นาที )

กิ จกรรมแนะแนวการศึ กษาแต่ ละหลั กสูตร (≤ 1 ชั่วโมง)
ณ ห้องประชุ มวชิรสาร
-มอบของรางวัลของหลั กสูตรคณิตศาสตร์ (ถ้ ามี)
-มอบเกี ยรติ บัตรให้โรงเรียน (เชิญผู้อำนวยการสถานศึ กษา/ตั วแทนครูรับมอบ
เกี ยรติ บัตร เกี ยรติ บัตรของครูผู้ควบคุมและนักเรียนที่ เข้าร่วมกิ จกรรม
ดาวน์โหลดทางเว็บไซต์ HTTPS://BIT.LY/3DIGA3W )
-กล่ าวรายงานสรุปกิ จกรรมโดยคณบดี/รองคณบดี
-กล่ าวปิดกิ จกรรมโดยผู้อำนวยการสถานศึ กษา/ตั วแทนครู

เดินทางกลั บมหาวิทยาลั ยราชภั ฏกำแพงเพชร

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 4-6 จำนวน 110 คน

หมายเหตุ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลั ยราชภั ฏกำแพงเพชร จะรับผิด
ชอบค่ าวัสดุอุ ปกรณ์ ค่ าสารเคมี ค่ าอาหารกลางวันและอาหารว่างของที มวิทยากรผู้จัดกิ จกรรม
ทั้งนี้ขอความอนุเคราะห์ทางโรงเรียนรับผิดชอบค่ าอาหารว่างและค่ าอาหารกลางวันของนักเรียน
ที่ เข้าร่วมกิ จกรรม

โรงเรียนสลกบาตรวิทยา

พิธีเปิด-ปิด/กิ จกรรมแนะแนว ห้องประชุ มวชิรสาร

ฐาน 1 หลั กสูตรชีววิทยา ห้อง 421 อาคาร 4

ฐาน 2 หลั กสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้ อม ห้อง 422 อาคาร 4

ฐาน 3 หลั กสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้ อม ห้อง 423 อาคาร 4

ฐาน 4 หลั กสูตรคณิตศาสตร์ ห้อง 212 อาคาร 2

1 1กลุ่ม ฐาน1 หลั กสูตรชีววิทยา-กระบวนการหมักของจุ ลิ นทรีย์
09.00-09.50 น. ฐาน2 หลั กสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้ อม-ค่ ายเยาวชนอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม
10.00-10.50 น. ฐาน3 หลั กสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้ อม-เทคโนโลยีสำรวจคุณภาพสิ่งแวดล้ อม
11.00-11.50 น. ฐาน4 หลั กสูตรคณิตศาสตร์-โครงงานคณิตศาสตร์
12.40-13.30 น. กิ จ ก ร ร ม แ น ะ แ น ว
13.30-14.30 น.

2กลุ่ม ฐาน2 หลั กสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้ อม-ค่ ายเยาวชนอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม
ฐาน3 หลั กสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้ อม-เทคโนโลยีสำรวจคุณภาพสิ่งแวดล้ อม
09.00-09.50 น. ฐาน4 หลั กสูตรคณิตศาสตร์-โครงงานคณิตศาสตร์
10.00-10.50 น. ฐาน1 หลั กสูตรชีววิทยา-กระบวนการหมักของจุ ลิ นทรีย์
11.00-11.50 น. กิ จ ก ร ร ม แ น ะ แ น ว
12.40-13.30 น.
13.30-14.30 น.

3กลุ่ม ฐาน3 หลั กสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้ อม-เทคโนโลยีสำรวจคุณภาพสิ่งแวดล้ อม
ฐาน4 หลั กสูตรคณิตศาสตร์-โครงงานคณิตศาสตร์
09.00-09.50 น. ฐาน1 หลั กสูตรชีววิทยา-กระบวนการหมักของจุ ลิ นทรีย์
10.00-10.50 น. ฐาน2 หลั กสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้ อม-ค่ ายเยาวชนอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม
11.00-11.50 น. กิ จ ก ร ร ม แ น ะ แ น ว
12.40-13.30 น.
13.30-14.30 น.

4กลุ่ม ฐาน4 หลักสูตรคณิตศาสตร์-โครงงานคณิตศาสตร์
ฐาน1 หลักสูตรชีววิทยา-กระบวนการหมักของจุ ลินทรีย์
09.00-09.50 น. ฐาน2 หลักสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม-ค่ายเยาวชนอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม
10.00-10.50 น. ฐาน3 หลักสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม-เทคโนโลยีสำรวจคุณภาพสิ่งแวดล้อม
11.00-11.50 น. กิ จ ก ร ร ม แ น ะ แ น ว
12.40-13.30 น.
13.30-14.30 น.

เอกสารประกอบกจิ กรรมคา ย

เยาวชนรกั ษส่งิ แวดลอ ม

เรอื่ ง การอนรุ กั ษด นิ และนำ้

โปรแกรมวชิ าวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอ ม

คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกำแพงเพชร

1. ชอ่ื กิจกรรม การอนรุ กั ษดนิ และน้ำ คายเยาวชนรักษส ่ิงแวดลอม โครงการคายวทิ ยาศาสตรส ัญจร
ประจำป 2564
โดย โปรแกรมวทิ ยาศาสตรส ิ่งแวดลอ ม คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กำแพงเพชร

2. ทฤษฎที ่เี กย่ี วของ
2.1 ดนิ (Soil)
ดิน (Soil) เปน สิ่งแวดลอมทีเ่ กิดข้นึ เองโดยธรรมชาติ เกดิ จากการสลายตวั ผุพงั ของหนิ ชนิดตาง ๆ
โดยใชเวลาทีน่ านมาก หนิ ที่สลายตัวผกุ รอ นนจ้ี ะมขี นาดตา ง ๆ กนั เม่ือผสมรวมกับซากพชื ซากสตั ว นำ้
อากาศ กก็ ลายเปนเน้อื ดินซึ่งสวนประกอบเหลาน้จี ะมากนอยแตกตางกนั ไปตามชนิดของดิน
ดินมีประโยชนมากมายมหาศาลตอมนษุ ยและสง่ิ มีชีวิตอ่ืน ๆ คอื
1) ประโยชนตอการเกษตรกรรม เพราะดินเปนตนกำเนิดของการเกษตรกรรมเปนแหลงผลิต
อาหารของมนุษย ในดินจะมีอินทรียวัตถุและธาตุอาหารรวมทั้งน้ำที่จำเปนตอการเจริญเติบโตของพืช
อาหารที่คนเราบริโภคในทกุ วันน้มี าจากการเกษตรกรรมถึง 90%
2) การเลี้ยงสัตว ดินเปนแหลงอาหารสัตวทั้งพวกพืชและหญา ที่ขึน้ อยู ตลอดจนเปนแหลงที่อยู
อาศัยของสัตวบ างชนดิ เชน งู แมลง นาก ฯลฯ
3) เปน แหลง ท่อี ยอู าศัย แผนดินเปนทตี่ ้งั ของเมือง บานเรือน ทำใหเกิดวฒั นธรรมและอารยธรรม
ของชมุ ชนตาง ๆ มากมาย
4) เปนแหลงเก็บกักน้ำ เนื้อดินจะมีสวนประกอบสำคัญ ๆ คือ สวนที่เปนของแข็ง ไดแก กรวด
ทราย ตะกอน และสวนที่เปนของเหลว คือ น้ำซึ่งอยูในรูปของความชื้นในดินซึ่งถามีอยูมาก ๆ ก็จะ
กลายเปนน้ำซึมอยูคือน้ำใตดิน น้ำเหลานี้จะคอย ๆ ซึมลงที่ต่ำ เชน แมน้ำลำคลองทำใหเรามีน้ำใชได
ตลอดป
2.2 ชนิดของดนิ (Type of Soil
อนุภาคของดินจะรวมตัวกันเขาเกิดเปนเม็ดดิน อนุภาคเหลานี้จะมีขนาดไมเทากัน ขนาดเล็ก
ทส่ี ุดคืออนุภาคดินเหนยี ว อนภุ าค ขนาดกลางเรียกอนภุ าคทรายแปง อนุภาคขนาดใหญเรียกวา อนุภาค
ทรายเน้ือดิน จะมอี นภุ าคทง้ั 3 กลมุ นี้ผสมกนั อยใู นสดั สวนทไ่ี มเทากันทำใหเ กิดลกั ษณะของดนิ 3 ชนดิ
ใหญ ๆ คือ ดินเหนยี ว ดินทราย และดินรวน

1) ดนิ เหนยี ว เปนดินทีเ่ มอื่ เปยกแลวมคี วามยืดหยุน อาจปน เปนกอนหรือคลงึ เปนเสน ยาวได
เหนยี วเหนอะหนะติดมือ เปนดนิ ท่มี ีการระบายนำ้ และอากาศไมด ี มีความสามารถในการอุมน้ำไดดี
มคี วามสามารถในการจบั ยึดและแลกเปลยี่ นธาตุอาหารพชื ไดส ูง หรือคอนขางสงู เปน ดินทมี่ ีกอนเน้ือ
ละเอยี ด เพราะมปี ริมาณอนุภาคดนิ เหนียวอยูมาก เหมาะที่จะใชทำนาปลกู ขาวเพราะเกบ็ น้ำไดน าน

2) ทราย เปนดินท่มี กี ารระบายน้ำและอากาศดีมาก มคี วามสามารถในการอุม นำ้ ต่ำ มีความ
อดุ มสมบูรณต ่ำ เพราะความสามารถในการจบั ยดึ ธาตอุ าหารพชื มีนอ ย พืชท่ีช้นั บนดนิ ทรายจงึ มักขาด
ทั้งอาหารและนำ้ เปนดินทีม่ เี นื้อดนิ ทรายเพราะมีปริมาณอนุภาคทรายมาก ดิน

3) ดนิ รว น เปนดนิ ท่มี เี นื้อดนิ คอนขา งละเอยี ดนุมมอื ยดื หยนุ ไดบ า ง มีการระบายนำ้ ไดด ีปาน
กลาง จัดเปนเนอื้ ดินทเ่ี หมาะสมสำหรับการเพาะปลกู ในธรรมชาตมิ กั ไมค อยพบ แตจะพบดินทม่ี ีเน้อื
ดินใกลเคยี งกันมากกวา สขี องดิน สขี องดนิ จะทำใหเราทราบถงึ ความอุดมสมบูรณป รมิ าณอนิ ทรียวัตถุ
ทปี่ ะปนอยแู ละแปรสภาพเปน ฮิวมสั ในดิน ทำใหสีของดนิ ตา งกนั ถามฮี ิวมสั นอยสีจะจางลงมีความอุดม
สมบูรณนอ ย

ตารางท่แี สดงเนื้อดินชนิดตางๆ ในกลมุ พวกเนือ้ ดนิ

1.ดนิ เหนียว (clay) เนือ้ ดิน กลมุ พวกเน้ือดิน

2.ดนิ เหนยี วปนตะกอน (silty clay) พวกดินเหนยี ว (pine-textured)
3.ดนิ เหนียวปนทราย (sandy clay)
4.ดินรว นเหนียวปนตะกอน (silty clay loam)
5.ดนิ รวนปนดนิ เหนียว (clay loam)
6.ดินรว นเหนยี วปนทราย (sandy clay loam) พวกดินคอนขา งเหนยี ว(Moderately Fine- textured)
7.ดนิ รวน (loam)
8.ดนิ รว นปนตะกอน (silt loam)
9.ดินตะกอน (silt) พวกดินรว น(Medium-textured)
10.ดินรว นปนทราย (sandy loam)
11.ดินทรายปนดนิ รว น (loamy sand)
12.ดนิ ทราย (sand) พวกดนิ ทราย(coarse-textured)

วิธีพจิ ารณาวา ดินนั้นมเี นอ้ื ดินชนิดใด
การจะพิจารณาวา ดนิ น้นั มเี น้ือดนิ ชนดิ ใด สามารถกระทำได 2 วธิ ี วธิ หี นึ่งนนั้ กระทำในหอ งปฏิบตั ิการ

โดยวิเคราะหห าปรมิ าณของทราย ตะกอน และเม็ดดินเหนยี วทมี่ อี ยใู นดนิ น้ัน แลวนำไปเปรียบเทียบดูกับตาราง
สามเหล่ียม วา จะตกอยใู นเนอ้ื ดินชนิดใด

1. เปนวธิ ที ส่ี ะดวกและรวดเรว็ คอื การใชสมั ผัสดวยนว้ิ มือแตวธิ ีนี้ตอ งการความชำนาญ และตองทำอยู
เสมอๆ วิธีทำก็คอื ทำดินใหช นื้ พอทจ่ี ะปนได ปน ดินเปน กอ นกลมๆ ขนาดเสนผา ศูนยกลางครึง่ นว้ิ จับกอ นดินน้ี
ระหวา งนวิ้ หวั แมมือกบั นว้ิ ช้ี แลว บดี้ นิ โดยกดหัวแมม ือไปขางหนา จะทำใหดินนนั้ เปนแผน บางๆ

1.1 ถาแผนของดินนน้ั ทำไดง าย ยาว และไมห กั งา ย ดินนัน้ จัดเปนพวกดนิ เหนยี ว (fine-textured)
ไดแ ก ดินเหนยี ว (clay) ดินเหนียวปนตะกอน (silty clay) ดนิ พวกน้มี ีลักษณะเหนียว และยืดหยุน มาก

1.2 ถาแผนของดนิ นน้ั ทำได แตจ ะหักเปนทอ นขนาด 3/4 ถึง 1 นว้ิ จดั อยใู นพวกดินคอนขา งเหนยี ว
(moderately fine-textured) ซึง่ ไดแ ก ดนิ รวนปนดนิ เหนียว (clay loam) หรือดินรว นเหนยี วปนตะกอน

( silty clay loam) ดนิ พวกน้ีเหนียว และยืดหยนุ ปานกลาง
1.3 ถาแผน ของดินทำไมได และดนิ จะแตกออกเปนชิ้นขนาดสน้ั กวา 3/4 นิว้ ดนิ นนั้ จะจัดอยใู นพวก

ดินรวน หรือดินรวนทราย (medium-textured or moderately coariie-textured) ซ่งึ ไดแก ดินรว นปนตะกอน
(silt loam) ดนิ รวน (loam) หรอื ดนิ รวนปนทราย (sandy loam)
ถาดินนนั้ ไมจ บั กันเปนแผน รูส กึ เปนเมด็ หยาบ ดินน้ันจดั อยใู นพวกดนิ ทราย (coarse-textured) ไดแก ดนิ ทราย
ปนดนิ รวน (loamy sand), ดินทราย (sand)
อยางไรกต็ ามการใชสมั ผัสดวยน้ิวมอื น้ี เปน การบอกไดเพียงหยาบๆ วา จดั อยใู นพวกใดเทา นนั้ ไมส ามารถบอกวา
เปน เนื้อดนิ ชนดิ ใดที่แนนอนได
2.3 โครงสรา งดนิ (Soil Structure)

ท่ีมา : กรมวชิ าการเกษตร

ช้ันดิน

2.4 ปญ หาทรัพยากรดิน
ดินสวนใหญถูกทำลายใหสูญเสียความอุดมสมบูรณ หรือตัวเนื้อดินไปเนื่องจากการกระทำของ

มนุษยและการสูญเสียตามธรรมชาติ ทำใหเราไมอาจใชประโยชนจากดินไดอยางเต็มประสิทธิภาพ
การ สูญเสยี ดินเกดิ ไดจ าก

1) การกดั เซาะและพงั ทลายโดยน้ำ นำ้ จำนวนมากทกี่ ระทบผิวดินโดยตรงจะกดั เซาะผวิ ดิน ให
หลุดลอยไปตามนำ้ การสูญเสยี บริเวณผวิ ดินจะเปนพื้นทก่ี วาง หรือถกู กดั เซาะเปน รองเลก็ ๆ ก็ข้นึ อยู
กบั ความแรงและบริเวณของน้ำที่ไหลบาลงมาก

2) การตัดไมทำลายปา การเผาปา ถางปาทำใหหนาดินเปด และถูกชะลา งไดง า ยโดยน้ำและลม
เม่อื ฝนตกลงมา น้ำกช็ ะลางเอาหนาดินท่ีอดุ มสมบูรณไปกบั นำ้ ทำใหดนิ มีคณุ ภาพเสอ่ื มลง

3) การเพาะปลูกและเตรียมดินอยางไมถ กู วธิ ี การเตรยี มทด่ี นิ ทำการเพาะปลกู น้ันถา ไมถ กู วธิ กี จ็ ะ
กอ ความเสยี หายกับดนิ ไดม าก ตัวอยา งเชน การไถพรวนขณะดนิ แหง ทำใหห นาดนิ ทส่ี มบูรณห ลดุ ลอยไป
กับลมได หรือการปลกู พชื บางชนิดจะทำใหด ินเสื่อมเร็ว การเผาปาไม หรือ ตอขาวในนา จะทำใหฮ วิ มัสใน
ดนิ เสอ่ื มสลายเกดิ ผลเสียกับดนิ มาก

การปลูกพืชตดิ ตอ กนั เปน เวลานาน การปลูกพืชทำลายดิน พืชบางชนิด ธาตุอาหารพชื ถูกทำลาย หรืออยูใน
เติบโตเร็ว ใชธาตุอาหารพืชจำนวน สภาพที่พืชใชประโยชนนอย เชน
โดยไมบำรุงดิน จะทำใหธาตุอาหารตาม มากเพื่อสรางผลผลิต ทำใหดิน เมื่อเกิดไฟไหมปา ฮิวมัสจะถูกความ
ระดับความลึกของรากพืชถูกนำไปใชม าก สูญเสียความสมบูรณไดงาย เชน รอ นทำลายไดง า ย หรอื เมอ่ื ดินเปลยี่ น
จนดินเส่ือมความสมบูรณ ยคู าลิปตสั และมนั สำปะหลัง สภาพไปเปนกรด (acid) หรือดาง
(alkaline) จะทำใหพ ชื ดดู ธาตอุ าหาร
บางชนิดไปใชประโยชนไ มไ ด เม่ือดิน
เสื่อมคุณคา ก็จะทำใหผลผลิต
ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ล ด ล ง เ ส ี ย ค  า ปุ ย
เพ่มิ ข้นึ

3.วตั ถปุ ระสงค
1) ผูเรียนมคี วามรเู รอื่ งดินและผลกระทบจากปญหาทรัพยากรดนิ
2) ผูเรยี นสามารถตรวจสอบดนิ ได
3) ผูเรยี นบอกการใชป ระโยชนจากการเรียนรูก ิจกรรมการตรวจสอบดินได
4. อปุ กรณ/สารเคมีท่ีใชในกิจกรรม

1) ขวดพลาสติก 7) pH meter
2) ดนิ สำหรบั การทดลอง 8) TDS meter
3) ตน หญา หรือ พืชขนาดเลก็ 9) Turbidity meter
4) ฟางขาว หรอื ซงั ขา วโพด 10) Beaker
3) กรรไกร 11) น้ำกล่นั
4) มีดคัตเตอร
5) กระบอกตวง
6) ปน กาว

5. ขัน้ ตอนการทดลอง
1) นำขวดพลาสตกิ นำ้ ดมื่ จำนวน 3 ขวด เพอ่ื ประดษิ ฐชุดการทดลอง การอนรุ ักษดินและนำ้ โดยใชมดี

คัตเตอร ตดั ขวดพลาสตกิ ออกเปน 2 สว น และเจาะรบู รเิ วณฝาขวดน้ำ และนำมาวางตอ กันโดยจะไดช ดุ
การทดลอง ท้งั หมด 3 ชุด แสดงดงั ภาพ

ภาพชุดการทดลองจากขวดพลาสติก
2) นำชุดการทดลองท้ัง 3 ชุด มาบรรจวุ ัสดุสำหรับการทดลอง ดงั น้ี

2.1) ชดุ การทดลองที่ 1 บรรจุ ดินตัวอยางจากโรงเรยี น
2.2) ชุดการทดลองที่ 2 ชน้ั ที่ 1 บรรจดุ นิ ตวั อยา งจากโรงเรยี น และช้ันท่ี 2 บรรจุ ฟางขา ว/ซงั
ขาวโพด
2.3) ชดุ การทดลองที่ 3 ชั้นที่ 1 บรรจดุ ินตวั อยางจากโรงเรียน และช้นั ท่ี 2 ตกแตงดว ย
ตน หญา /ตนพชื ขนาดเลก็
3) ทำการทดสอบการชะลางของดินในชดุ การทดลอง โดย เทนำ้ ลงในชุดการทดลอง ทง้ั 3 พรอ มๆกัน
4) นำน้ำไลอ อกจากชุดการทดลองในภาชนะรองรบั นำ้ ทง้ั 3 ชดุ การทดลอง ไปทดสอบคุณภาพน้ำ โดย
ใชเครือ่ งมือ ไดแก pH meter TDS meter และ Turbidity meter
5) บันทึกผลการสังเกตการทดลองและคาคุณภาพนำ้ ท่วี ัดไดจ ากเครอ่ื งมือลงในตาราง
6) ศกึ ษาเปรยี บเทยี บผลและอภิปรายผลจากชุดการทดลองทง้ั 3
7) สรุปผลการทดลอง

6. ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ
ผลการสงั เกตภายหลังการท
ชุดที่ ลกั ษณะท่วั ไป ลงในชดุ การทดล

1. ลักษณะเนอื้ ดิน
Clay………..%
Sand..………%
Silt ………..%
ลักษณะ โครงสรา งดิน
Single grained ( )
Massive ( )
Granular ……………%
Blocky ……………%
Prismatic ……………%
Columnar……………%
Platy ……………%

2. ลักษณะเนื้อดิน
Clay………..%
Sand..………%
Silt ………..%

บตัวอยา งดินในชุดการทดลอง

ทดสอบเตมิ นำ้ คณุ ภาพนำ้ ภายหลังการทดสอบเตมิ นำ้ ลง
ลอง ในชดุ การทดลอง

คา pH คา TDS คา Turbidity

ลกั ษณะ โครงสรา งดนิ
Single grained ( )
Massive ( )
Granular ……………%
Blocky ……………%
Prismatic ……………%
Columnar……………%
Platy ……………%
3. ลกั ษณะเนื้อดิน
Clay………..%
Sand..………%
Silt ………..%
ลกั ษณะ โครงสรางดนิ
Single grained ( )
Massive ( )
Granular ……………%
Blocky ……………%
Prismatic ……………%
Columnar……………%
Platy ……………%



6. อภิปรายผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หลกั สูตรวิทยาศาสตรส งิ่ แวดลอม เรื่อง เทคโนโลยีสำรวจ
คณุ ภาพสิ่งแวดลอ ม “การจัดทำแผนที่ในการเชอื่ มโยง

ขอมูลสิง่ แวดลอ ม โดยใช Google Map"

การสำรวจสิง่ แวดลอมดวยแผนท่อี อนไลน google Map

กูเกิล แผนท่ี (อังกฤษ: Google Maps) เปน เวบ็ ไซตค น หาสวนหน่ึงของกูเกลิ โดยเนนที่การคนหา
บรกิ ารและรานคาตาง ๆ โดยการใสสงิ่ ที่ตองการคน หา เชน รา นกวยเต๋ียว หรือ ธนาคาร และใสสถานท่ีท่ี
ตองการคน หา (วิกพิ ีเดยี /google map)

วิธกี ารสรา งแผนทอ่ี อนไลนเ พ่อื การสำรวจ

การฝกปฏิบตั กิ ารการสรา งแผนทอี่ อนไลนเพอ่ื การสำรวจดา นสง่ิ แวดลอมน้ี สามารถนำไปประยตุ 
ใชในการลงพน้ื ทเี่ พื่อสำรวจจรงิ และเพ่ือใหสามารถเกบ็ รวบรวมขอ มูลไดอยางครอบคลุมและตอบโจทยใ น
ประเดน็ ปญ หาทนี่ กั เรยี นตองการนำเสนออยางครอบคลุมท้ังในเชิงพน้ื ท่ี และเชงิ ปรมิ าณ รวมไปถึงจะชว ย
พัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะหอยา งเปน เหตุเปน ผล ซ่ึงจะนำไปสูการเลือกและตดั สินใจลงมือทำกิจกรรม
หรือโครงการที่เก่ยี วของกบั ส่ิงแวดลอ มไดอ ยา งชดั เจน

ในสว นของงานดานสงิ่ แวดลอมสามารถนำ google map มาประยุกตใชเ พ่ือการสำรวจใน
หลากหลายดาน ขอ ดีของ google map คอื เปน แอพริเคช่ันท่ีฟรี ไมม คี าใชจาย เขา ถึงและใชงาน และยงั
มคี วามทนั สมัยของขอมูลเปนอยางมาก ซ่ึงในปจ จุบันแผนที่ออนไลนน ้เี ราสามารถใชสำรวจรว มกันหลาย
คนไดโดยวิธีการแชรล ิงกใหกัน และขอมลู จะแสดงออกมาเปน real time หรอื เปน ปจจบุ ันทนั ที

ในบทปฏิบัติการนี้จะเปนการสรางแผนที่ออนไลนเพื่อการสำรวจถังขยะในโรงเรียน ซึ่งถือวาเปน
แหลงกำเนิดมลพิษชนิดหนึ่ง ซึ่งในบทปฏิบัติการน้ีจะมีการสรางตัวแผนที่ออนไลนไวใหแลว และสามารถ
เขา ถงึ ไดโ ดยการใช QR code ทแ่ี นบมานี้

การเตรยี มแบบฟอรมเพื่อการสำรวจสิ่งแวดลอม

วิธีการสรางแผนทอ่ี อนไลนใ น google drive เพอ่ื ใหส ามารถเขาถึงไดงา ยและสามารถแชรล งิ กเ พื่อให
ทกุ คนสามารถเขาถึงได ในกรณที ม่ี ีการสำรวจหลายคน

สรางชอ่ื แผนทีใ่ หส อดคลอ งกับงาน และคำอธบิ ายใหชดั เจน

เลเยอรท่ีไมม ชี อื่ เราสามารถเปลีย่ นใหเปน ช้นั ขอมลู ทเี่ ราตองการแสดง ในทีน่ ้ี จะใชช นั้ ขอมลู น้วี าเปน ช้ัน
ขอมูล “ถังขยะ”

จากนั้นทำการแชรลงิ ก เพ่ือใหส ามารถเขา ถงึ ไดท ุกคนทม่ี ีลิงก โดยการกำหนดคุณลักษณะดงั ภาพ sหรอื
จัดทำในรปู แบบ QR code

การสำรวจและการจดั เกบ็ ขอมลู โดยใชโทรศพั ท

เมอ่ื เราสรา ง form แผนทเ่ี พือ่ ใชใ นการจดั เก็บขอมลู แลว จากน้ันเราสามารถนำลงิ กที่มกี ารแชรน้ี
นำไปใชเ พื่อการสำรวจไดเลย โดยการเปดลงิ ก หรอื QR code

จะไดหนา interface ดังภาพเพ่อื จัดทำการสำรวจ

ข้ันตอนการสำรวจมีดังนี้
1. นกั เรยี นเดินไปยังจดุ ที่มีถงั ขยะตงั้ อยู จากนนั้ กดไอคอนตรงลกู ศร เพื่อทำการกำหนดจดุ

จากนนั้ ทำการบันทึกขอมลู โดยใสร ายละเอยี ดของขอมูลท่ตี องการบันทึกลงไป

2. เราสามารถกำหนดไอคอนท่ีจะแสดงผลไดต ามภาพดานลาง หรือแทรกรปู ภาพท่เี ราตองการ
ใสเขา ไปได

3. สามารถแสดงคำอธบิ าย และเปลี่ยนแผนที่ฐานไดต ามตองการ



โรงเรียนสลกบาตรวิทยา

ค่ายวิทยาสาสตร์สัญจร ติดต่อที่

ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ กำ แ พ ง เ พ ช ร
6 9 ห มู่ 1 ต . น ค ร ชุ ม อ . เ มื อ ง
จ . กำ แ พ ง เ พ ช ร 6 2 0 0 0

https://bit.ly/3rpOan7 (055)706555 ext. 4010
ดูรูปกิจกรรม [email protected]
ดาวน์โหลดเกียรติบัตร


Click to View FlipBook Version