การคุม้ ครอง
สทิ ธิผู้บริโภค
๔หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี
ผบู้ รโิ ภค คอื ผทู้ ี่ซ้อื สินคา้ หรอื ไดร้ บั บรกิ ารจาก
ผปู้ ระกอบการ หรือไดช้ ักชวนจากผูป้ ระกอบการ
ให้ซื้อสนิ คา้ หรือรบั บริการ
ความสาคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค
ผบู้ รโิ ภค ผปู้ ระกอบ ผบู้ รโิ ภค
ธรุ กจิ
กระตนุ้ ใหต้ ระหนักในสทิ ธิ สร้างพลงั ใหส้ ามารถปอ้ งกัน
ของตนเองและรักษาสทิ ธิตาม สรา้ งจติ สานึกให้ผลติ สินคา้ และต่อต้านการถกู เอารดั เอา
และบริการท่ีมีคณุ ภาพ และ เปรียบจากผู้ประกอบธรุ กจิ
กฎหมาย มีความเปน็ ธรรมดา้ นราคา
ผูบ้ ริโภคจะตอ้ งมกี ารตรวจสอบคณุ ภาพของสินคา้
ก่อนการตัดสินใจซื้อ เพื่อความปลอดภัยในการบรโิ ภค
ไดร้ บั ความปลอดภยั ไดร้ บั ความเปน็ ธรรม มีความประหยดั
จากการบรโิ ภค จากการบรโิ ภค ในการบรโิ ภคสนิ ค้า
กฎหมายคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค
พระราชบัญญตั ิคุ้มครองผ้บู ริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
(แก้ไขเพิ่มเตมิ ฉบับท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๕๖ )
กฎหมายคุ้มครองผ้บู รโิ ภค
พระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองผบู้ รโิ ภค
(ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. ๒๕6๒
เปน็ กฎหมายที่เกีย่ วกบั การกาหนดราคาสินค้า
และบรกิ าร
เพ่ือใหผ้ ู้บรโิ ภคไดร้ ับความเป็นธรรม บริโภค
สนิ คา้ และบริการในราคาเหมาะสมและมี
คุณภาพ
เปน็ กฎหมายท่ใี ห้ความเปน็ ธรรมกับ
ผู้ที่ทาการค้าและผู้บรโิ ภค ป้องกนั การผูกขาด
ปอ้ งกนั มิใหม้ กี ารกาหนดราคาซอ้ื หรือขายสินค้าและ
บริการอย่างไมเ่ ปน็ ธรรม
พระราชบญั ญัติยา พ.ศ. ๒๕๑o
(แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๓๐)
พระราชบัญญตั ฉิ บบั นก้ี าหนดลกั ษณะของการโฆษณายาท่ีจะขายให้กับผู้บรโิ ภค ดังน้ี
• ไมเ่ ป็นการโออ้ วดสรรพคณุ ของยาว่าสามารถบาบดั บรรเทา รกั ษา หรอื ป้องกันโรคใหห้ ายขาดได้
• ไม่แสดงสรรพคณุ ยาอนั เป็นข้อมูลเทจ็ หรอื เกินจริง
• ผขู้ ายต้องไม่แสดงสรรพคุณวา่ สามารถบาบดั บรรเทา รกั ษา หรอื ปอ้ งกนั โรคใดได้บา้ ง
• ผู้ขายต้องไม่ขายยาโดยไมส่ ภุ าพ หรือโดยการรอ้ งราทาเพลง หรือการแสดงความทกุ ขท์ รมานของผปู้ ว่ ย
• ตอ้ งไมโ่ ฆษณาขายยาโดยมีของแถม หรือมีการออกสลากรางวลั เพื่อดงึ ดดู ใจใหผ้ ูบ้ ริโภคมาซ้อื
พระราชบญั ญตั ิ
อาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒
เปน็ กฎหมายทใ่ี หค้ วามคมุ้ ครองแก่ผู้บริโภค
โดยควบคุมคณุ ภาพของอาหารใหม้ คี วามปลอดภัยกบั
ผู้บรโิ ภค ต้ังแต่ ข้นั ตอนกระบวนการผลิตทตี่ ้อง
ควบคุมสขุ อนามัย สว่ นผสมของอาหารตอ้ งไมม่ สี ิ่ง
ปลอมปน ซ่งึ เปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพ
เครอ่ื งสาอางท่ีใช้ภาชนะบรรจุไม่ถกู สขุ ลักษณะ
หรอื มีสิ่งท่ีอนั ตรายตอ่ ผ้ใู ช้เจือปนอยู่
: เคร่ืองสาอางที่ไมม่ ี
สว่ นประกอบตามทไ่ี ด้ขน้ึ ทะเบียนไว้ หรอื ตามทร่ี ะบุ
ไวใ้ นฉลากหรือใชว้ ัตถุทีท่ าเทียมขึ้น
เครอ่ื งสาอางท่มี สี ว่ นประกอบน้อยหรือมากกว่าทข่ี ้ึน
ทะเบยี นไว้ หรือทรี่ ะบไุ วใ้ นฉลาก
หนว่ ยงานค้มุ ครองผ้บู รโิ ภคของรฐั
สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค (สคบ.)
สนบั สนนุ หรอื ทาการศึกษาและวิจยั ปญั หา ติดตามและสอดส่องพฤตกิ ารณ์ ดาเนินคดีเก่ียวกบั การละเมดิ สทิ ธิของ
เก่ยี วกับการค้มุ ครองผู้บริโภคร่วมกบั ของผ้ปู ระกบการธรุ กิจ ผ้บู ริโภค
สถาบันการศึกษาและหนว่ ยงานอื่น ถงึ การกระทาทมี่ ีลกั ษณะ
เปน็ การละเมดิ สิทธผิ บู้ รโิ ภค
รับเรอ่ื งราวรอ้ งทุกข์จากผ้บู ริโภคทไ่ี ดร้ บั เสนอความคดิ เห็นต่อคณะรฐั มนตรเี กี่ยวกบั
ความเดือดร้อนหรือเสยี หายอนั เน่ืองมาจาก นโยบายและมาตรการในการคมุ้ ครอง
การกระทาของผปู้ ระกอบธุรกิจ ผูบ้ รโิ ภค
คณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค (สคบ.)
พจิ ารณาเรอ่ื งราวรอ้ งทุกขจ์ ากผู้บรโิ ภค พิจารณาเรอ่ื งราวรอ้ งทกุ ข์จากผูบ้ รโิ ภค
ทไ่ี ดร้ บั ความเดอื ดร้อนเสียหาย ทไี่ ดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นเสยี หาย
อนั เนือ่ งมาจากการกระทา อันเนอ่ื งมาจากการกระทา
ของผูป้ ระกอบธรุ กจิ ของผู้ประกอบธุรกจิ
เสนอความคิดเหน็ ตอ่ คณะรฐั มนตรเี กี่ยวกับ
นโยบายและมาตรการ
ในการคุ้มครองผู้บริโภค
รบั เร่อื งราวรอ้ งทุกขจ์ ากผู้บรโิ ภค ดาเนนิ คดีเก่ยี วกบั การละเมิดสทิ ธิ
ทไ่ี ดร้ บั ความเดือดรอ้ นหรอื เสียหาย ของผ้บู ริโภค
อนั เนื่องมาจากการกระทา
ของผู้ประกอบธรุ กจิ
กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของอาหาร โดยควบคุม
ตามชอ่ื ประเภท ชนิด หรอื ลักษณะของอาหาร กาหนด
หลักเกณฑ์เง่ือนไขและวธิ ีการผลิต เพื่อจาหน่าย นาเข้า
หรอื การจาหนา่ ย เป็นตน้
กาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงือ่ นไขเกยี่ วกบั การผลิต
ขาย นาเขา้ หรือสั่งเขา้ มาในราชอาณาจักร
การนายามาเปน็ ตัวอยา่ งเพ่อื ทาการตรวจสอบสถานท่ี
ผลิต สถานทข่ี าย และสถานทเี่ ก็บยา
สานักงานมาตรฐานอตุ สาหกรรม (สมอ.)
กาหนดมาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐาน รบั รองคุณภาพผลิตภณั ฑ์ โดยอนญุ าตให้ เป็นหนว่ ยตรวจสอบให้กบั
ผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (มอก.) แสดงเคร่ืองหมายมาตรฐานตามชนดิ ของ สถาบันมาตรฐานต่างประเทศ
และมาตรฐานระดบั สากล ISO ผลิตภัณฑน์ ้ันๆ ซึ่งมีทั้งแบบบังคบั และ
ไมบ่ ังคบั
รบั จดทะเบียนผลติ ภัณฑ์ ให้การรับรองฉลากเขยี วแก่ผลิตภณั ฑ์
ทช่ี ว่ ยลดปญั หาสงิ่ แวดล้อม
จดั ระเบียบส่งเสรมิ ระบบการค้า
การตลาดและตลาดในประเทศให้
เกดิ ความเป็นธรรม
ส่งเสริมการค้าอย่างเปน็ ธรรม
และปอ้ งกันการผูกขาด
ทางเศรษฐกจิ
จัดระเบยี บและส่งเสรมิ
ระบบการค้าสนิ ค้าเพอื่ รกั ษา
ระดับราคาสินคา้ เกษตร
จดั ระเบยี บการคา้ การตลาด
กากับตรวจสอบ และควบคมุ
การประกอบธรุ กจิ
เปน็ องคก์ รพฒั นาเอกชนสาธารณประโยชน์ มีบทบาทสาคญั ในการพัฒนา การรณรงคใ์ หช้ ือ่ สามัญทางยา
เรม่ิ ดาเนินการตงั้ แต่ พ.ศ. 2526 ในช่ือ สาธารณสุข เชน่ ผลกั ดนั ในฉลากเอกสารกากับยา
“คณะกรรมการประสานองคก์ รเอกชนเพ่ือ นโยบายหา้ มผสมสารคาเฟอีน การรณรงคใ์ ห้มนี โยบายลดใช้
การสาธารณสขุ มูลฐาน” หรอื คปอส. สารเคมใี นการเกษตร ฯลฯ
ในยาแก้ปวดลดไข้
วัตถปุ ระสงค์หลกั :
• สง่ เสรมิ ให้ผ้บู ริโภคได้รบั การคมุ้ ครองตามสทิ ธิอันพงึ มีพงึ ได้
• สนบั สนุนและสง่ เสริมใหผ้ ูบ้ รโิ ภคและองค์กรต่างๆ ได้มีสว่ นรว่ มในการค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค
• สง่ เสริมการศกึ ษา วิจัย และเผยแพร่ความรูเ้ กย่ี วกบั การคุม้ ครองผู้บรโิ ภค เพือ่ ใหผ้ บู้ รโิ ภคคมุ้ ครองดแู ลตวั เองได้
แนวทางการป้องกนั และคมุ้ ครองสทิ ธิของ
ผู้บริโภค
ปญั หาในการบรโิ ภค
ผู้บรโิ ภค ผู้ประกอบการ
• ความรูน้ อ้ ย • ขาดจรรยาบรรณในการผลติ สินคา้ และบรกิ าร
• ไมไ่ ด้ตระหนกั และเห็นความสาคญั ในสิทธิของตน • มุ่งกาไรเป็นหลัก
• ค่านยิ มในการบรโิ ภคสินคา้ ฟมุ่ เฟือย สนิ คา้ ท่มี ี • มุ่งการแข่งขันในธุรกจิ มากเกินไป
ราคาแพง
• ความจาเป็นทางเศรษฐกิจ
การมคี วามรู ้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั สทิ ธิ
ผูบ้ รโิ ภคของตนเอง
• สง่ เสริมใหผ้ ู้บริโภคไดร้ ับการคุ้มครองตามสทิ ธอิ นั พึงมีพงึ ได้
• สนับสนนุ และสง่ เสริมให้ผู้บริโภคและองคก์ รต่างๆ ไดม้ สี ่วนร่วมในการค้มุ ครองผู้บรโิ ภค
การกาหนดมาตรการดา้ นการคมุ ้ ครอง
ผบู ้ รโิ ภคของหน่วยงานภาครฐั
มาตรการปอ้ งกัน มาตรการที่ มาตรการแกป้ ัญหา
ก่อนการซอื้ ขาย เกย่ี วเนอ่ื งกับสนิ คา้ หลงั การซอื้ ขาย
• กาหนดและควบคุมมาตรฐาน • กากับดูแลการขายตรงการเชา่ • จัดต้งั ระบบและขน้ั ตอนในการ
ซอื้ สนิ คา้ ฟอ้ งรอ้ งและชดเชยความ
สนิ คา้
• กาหนดข้อห้ามในทางการคา้ • กาหนดเงอื่ นไขในการขาย เสยี หายที่อาจเกิดขน้ึ
• ให้ผปู้ ระกอบการแจ้งการปรบั สินค้าที่ชดั เจน • กาหนดกรอบความรบั ผดิ ชอบ
ราคาลว่ งหนา้ • กาหนดมาตรฐานของสญั ญาท่ี ของผผู้ ลติ ทม่ี ีตอ่ สนิ ค้าหรือ
• ใหข้ ้อมูลข่าวสารทเี่ ปน็ ประโยชน์ เปน็ ธรรม
บริการทบ่ี กพรอ่ ง
ต่อการตัดสนิ ใจในการเลอื กซอื้
การส่งเสริมสทิ ธผิ ้บู รโิ ภค
• จัดให้มปี ีรณรงคส์ ทิ ธผิ ูบ้ รโิ ภค
• จัดใหม้ กี ารเผยแพร่ขอ้ มูลดา้ นสิทธผิ บู้ ริโภคและผปู้ ระกอบการ
• จัดให้มกี ารตรวจสอบกระบวนการผลิต และการจาหน่ายสนิ คา้ และบรกิ ารใหเ้ ป็นไปตามทีม่ าตรฐานกาหนด
• จดั ใหม้ กี ารทดสอบเบอ้ื งต้นเกยี่ วกับปริมาณและคุณภาพของสินคา้ และบรกิ าร
• จดั ให้มีการแนะนาผบู้ ริโภคด้านวิธีการร้องทุกข์ และการตดิ ตามประสานงาน เรอื่ งราวร้องทกุ ข์แทนผู้บริโภค
• จดั ใหม้ ีตัวแทนผู้บริโภคจากกลุ่มผู้บริโภคหรือองค์กรเอกชน ที่ดาเนนิ งานเกยี่ วกับการคุม้ ครองผบู้ ริโภค
การเสรมิ สรา้ งองค์กรเพือ่ ดาเนนิ งานค้มุ ครองผู้บรโิ ภค การตรวจสอบคุณภาพและราคาสนิ ค้าจาก
หน่วยงานภาครัฐจะทาใหผ้ บู้ รโิ ภคได้รบั ความ
จัดใหม้ กี ารพิจารณาปรับปรุงระบบงานและกระบวนการบรหิ ารภายในของ
สานกั งานคณะกรรมการ ปลอดภยั และเป็นธรรมในการบรโิ ภค
จัดให้มีการประสานประโยชนจ์ ากหนว่ ยงานอื่นๆ
ทดี่ าเนนิ งานเก่ียวข้องกบั การคุ้มครองผบู้ รโิ ภค
พฒั นาระบบการจดั เก็บรวบรวมและการนาขอ้ มูลขา่ วสารมาใชใ้ นงานค้มุ ครอง
ผบู้ รโิ ภคไดท้ ันที โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
จัดให้มกี ารประสานงานและแลกเปล่ียนข้อมูลขา่ วสารด้านการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค
ในระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ
จดั สรรงบประมาณเพอื่ การดาเนนิ งานคมุ้ ครองผู้บริโภค
ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพการณป์ ัจจุบัน
จดั ตง้ั องคก์ รเอกชนท่ีดาเนนิ งานเกยี่ วขอ้ งกบั การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค การสง่ เสรมิ และ
ในระดบั ต่างๆเพือ่ ใหค้ วามร้เู กย่ี วกับการบรโิ ภคทปี่ ลอดภัย สนบั สนนุ
องคก์ รเอกชน
จัดให้การสนับสนนุ การดาเนินงานขององค์กรเอกชนทดี่ าเนินงาน
เกยี่ วขอ้ งกับการค้มุ ครองผบู้ รโิ ภคในดา้ นข้อมูลข่าวสาร เพื่อดาเนินงาน
คุ้มครอง
ความรทู้ างดา้ นกฎหมาย และมกี ารประชมุ แลกเปลีย่ นขอ้ มลู ขา่ วสาร ผู้บรโิ ภค
และการปฏิบตั ิงานรว่ มกนั