The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย3_เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wirinphonr2527, 2023-02-19 07:49:54

หน่วย3_เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย

หน่วย3_เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย

จุดประสงค์การเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย • ตระหนักถึงความส าคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคมของประเทศได้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓


สนธิสัญญาเบาว์ริงมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ดังนี้ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตและการค้าระหว่างประเทศ ข้าวกลายเป็นสินค้าส่งออกส าคัญที่สุดและไทยเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลก ปัจจัยส าคัญที่ท าให้การส่งออกขยายตัวอย่างรวดเร็ว ได้แก่ การพัฒนาระบบขนส่ง ภายในประเทศและระหว่างประเทศ การเพิ่มขึ้นของประชากรของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก และการยกเลิกระบบไพร่และทาส ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในการแบ่งงานกันท าระหว่างกลุ่มหรือชาติและเกิด ชนชั้นนายทุนและกรรมกร


ประเทศไทยได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศแล้ว ๑๒ แผน ซึ่งก าลังจะมีแผนที่ ๑๓ ปัจจุบันก าลังจัดท าแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๗๐) แผนพัฒนาแต่ละฉบับมีแนวคิด วัตถุประสงค์ และแนวทางในการพัฒนาแตกต่างกัน เพราะปัจจัยในการท าแผนพัฒนาแต่ละยุคสมัยเปลี่ยนแปลงไป


เศรษฐกิจในประเทศดีขึ้น วิถีการด าเนินชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง จากเดิม ประชาชนมีรายได้มากขึ้น มีธุรกิจใหม่ ๆ มีการจ้างงานเพิ่มมากขึ้น


สามารถจัดการสภาวะแวดล้อม ได้ดียิ่งขึ้น ท าให้ประชากรมีอิสระในการ เลือกวิถีการด ารงชีวิตได้มากขึ้น ท าให้ประเทศสามารถช่วยเหลือ บุคคลผู้ด้อยโอกาสได้มากขึ้น ประชากรมีความเป็นอยู่และ สวัสดิการทางเศรษฐกิจดีขึ้น ท าให้เป็นประเทศที่มีอ านาจ ต่อรองทางเศรษฐกิจ


ที่ดิน ทุน แรงงาน ความก้าวหน้าทางวิทยาการ ตลาด ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ


ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจมีเป้าหมายเพื ่อให้ เศรษฐกิจมีความเจริญเติบโตอย ่างต ่อเนื ่อง มีการปรับปรุงโครงสร้างทางสังคมอย ่าง เหมาะสม เพื ่อยกระดับความอยู ่ดีกินดีของ ประชาชน ดังนั้นเครื ่องชี้วัดการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจจึงต้องใช้การวัดระดับความ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และวัดความอยู่ดี กินดีประกอบกัน


แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นเครื่องมือส าคัญ ที่จะช่วยพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัยได้อย่างรวดเร็วและ เป็นระบบ ประเทศไทยเริ่มมีการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ ๑ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๔ ในปัจจุบันประเทศไทยก าลังอยู่ในการใช้แผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ ความส าคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


นโยบายส าคัญ สนับสนุนการเพิ่มปริมาณการผลิตภายในประเทศ ส่งเสริมการผลิตด้านการเกษตรทั้งปริมาณและคุณภาพ ส่งเสริมการออมทรัพย์และการลงทุนในอุตสาหกรรมของเอกชน พัฒนาก าลังคน ส่งเสริมสมรรถภาพของการท างานและมาตรฐานของการท างาน พัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐาน


นโยบายส าคัญ เพิ่มก าลังการผลิตของประเทศและรายได้ประชาชาติ พัฒนาก าลังคน สนับสนุนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ รักษาเสถียรภาพการเงินการคลัง


นโยบายส าคัญ เร่งแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจ แก้ปัญหาดุลการช าระเงิน ยกระดับรายได้ของประชากร ลดอัตราการเพิ่มของประชากร ยกระดับการมีงานท า


นโยบายส าคัญ เร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคมให้น้อยลง ลดอัตราการเพิ่มของประชากร ปรับปรุงการบริหารทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชาติ สนับสนุนขีดความสามารถในการป้องกันประเทศ


นโยบายส าคัญ ฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจและการเงินของประเทศ ปรับโครงสร้าง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ พัฒนาและกระจายบริการทางสังคม แก้ปัญหาความยากจนในชนบท


นโยบายส าคัญ พัฒนาสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็ง ปรับปรุงการผลิตและการตลาดของสหกรณ์ ส่งเสริมสหกรณ์ให้มีองค์กรชั้นสูง ส่งเสริมการจัดตั้งสหกรณ์ใหม่


นโยบายส าคัญ รักษาอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้สู่ชนบท พัฒนาทรัพยากรมนุษย์


นโยบายส าคัญ เสริมสร้างศักยภาพของคน พัฒนาสิ่งแวดล้อมของสังคม พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้มีเสถียรภาพ ปรับระบบบริหารจัดการ


นโยบายส าคัญ สร้างความเข้มแข็งของชุมชน พัฒนาเมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ พัฒนาความเชื่อมโยงชนบทและเมืองอย่างเกื้อกูล


นโยบายส าคัญ พัฒนาคนให้มีคุณภาพ และคุณธรรม เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและเป็นธรรม สร้างความมั่นคงทางทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศให้เกิดธรรมาภิบาล


นโยบายส าคัญ พัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร รวมถึงความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน สร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม


นโยบายส าคัญ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล ้าในสังคม การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน


นโยบายส าคัญ การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม การพัฒนาคนส าหรับโลกยุคใหม่ การมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน การเสริมสร้างความสามารถของประเทศในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง และความเสี่ยงภายใต้บริบทโลกใหม่


Click to View FlipBook Version