The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สพม.40

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สพม.40

คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สพม.40

จาก...ผอู้ �ำนวยการส�ำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

นายประสิทธิ์ อนิ วรรณา
สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 ได้จดั ทำ� คมู่ ือ
การขบั เคลอื่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
มัธยมศึกษา เขต 40 ดว้ ยรูปแบบ SPM 4.0 ส�ำหรบั ใช้ในการขับเคลอ่ื น
การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ของสำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
เขต 40 และโรงเรยี นในสังกัด จำ� นวน 39 โรงเรียน
คู่มือการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส�ำนักงาน
เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 ฉบบั น ี้
เป็นการน�ำนโยบายลงสู่การปฏิบัติในส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ
โรงเรียนในสังกัด ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 โดยใช้หลักการบริหารจัดการ
ท่ีสอดรับกับมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2561
มาตรฐานส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พ.ศ. 2560 และการจัดการศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 อีกทั้งได้รับ
ความรว่ มมือของทุกภาคสว่ นร่วมกันจดั ทำ� คมู่ ือฉบับน ้ี โดยมีข้นั ตอนการด�ำเนนิ งาน 5 ขนั้ ได้แก่ เรียนรู้เข้าใจ
ใชพ้ ืน้ ทเ่ี ปน็ ฐาน บรู ณาการปฏิบตั ิ จัดการสะท้อนผล และ กลไกยง่ั ยืน ในการขบั เคล่อื นการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา สำ� นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0 ครงั้ น ้ี ข้าพเจ้าพรอ้ มทั้ง
ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกท่านมีความมุ่งหวังท่ีจะพัฒนาให้โรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 40 มีรูปแบบการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพไปในทิศทางเดียวกัน มีกลไกการบริหารโรงเรียนที่มีคุณภาพ
มีการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพน�ำไปสู่เป้าหมายส�ำคัญคือ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก�ำหนด และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ที่จ�ำเป็นส�ำคัญในศตวรรษที่ 21 (3R8C) จากท่ีกล่าวมาน้ีถือว่าเป็นภาระงานท่ีผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายต้องให้
ความส�ำคัญและน�ำสู่การปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเกิดความส�ำเร็จของงานและ
น�ำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ของส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ท่ีทุกฝ่ายคาดหวังว่า
“สำ� นกั งานเขตมาตรฐาน โรงเรียนคุณภาพ ด้วยหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”
ขอขอบคุณคณะท�ำงาน และผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านท่ีร่วมกันจัดท�ำคู่มือฉบับน้ีจนเสร็จสมบูรณ์
และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือฉบับนี้จะเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดให้เกิด
ประโยชนต์ อ่ ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง อกี ทง้ั ยงั สง่ ผลตอ่ การยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานใหส้ งู ขนึ้ ตอ่ ไป

(นายประสิทธ์ ิ อินวรรณา)
ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 40

สารบญั

ส่วนท่ี 1 บทน�ำ 4
1. ความเป็นมา ........................................................................................................ 5
2. วตั ถุประสงค์ ....................................................................................................... 6
3. ค�ำจ�ำกัดความ ..................................................................................................... 6
4. ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ .................................................................................................. 7
8
สว่ นท่ี 2 โครงสรา้ งการบริหารและบทบาทหนา้ ที่ 9
1. โครงสรา้ งการบริหาร ........................................................................................... 10
2. บทบาทหน้าท่ี ......................................................................................................
14
ส่วนท่ี 3 การขบั เคลอ่ื นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 15
สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40 15
16
1. วสิ ยั ทัศน์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40 ............................... 17
2. พนั ธกจิ ................................................................................................................ 17
3. เปา้ ประสงค์ ......................................................................................................... 17
4. กลยุทธ์ ................................................................................................................
5. จุดเนน้ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40 ................................... 19
6. ตวั ช้วี ดั ................................................................................................................. 23
7. รปู แบบการขับเคลือ่ นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ส�ำนกั งานเขตพนื้ ที่
การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 40 .................................................................................. 26
8. การศกึ ษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 .............................................................................. 28
9. การปฏบิ ตั กิ ารขับเคลื่อนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ส�ำนกั งานเขตพนื้ ท่ี 29
การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0 .................................................. 29
ส่วนท่ี 4 การนเิ ทศ ติดตามและรายงานผล 30
1. วัตถุประสงคข์ องการนเิ ทศ ตดิ ตาม และรายงานผล .............................................. 30
2. เคร่อื งมือในการนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล ...................................................... 32
3. ผใู้ ชเ้ ครื่องมือในการนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล ...............................................
4. การนเิ ทศบรู ณาการโดยใชพ้ ื้นทีเ่ ป็นฐานเพื่อการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ........... 33
5. การสรปุ และรายงานผล .......................................................................................
สว่ นที่ 5 ปฏทิ นิ การดำ� เนนิ งานการขับเคลอื่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 35
สำ� นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 ดว้ ยรูปแบบ SPM 4.0 36

บรรณานุกรม

ภาคผนวก

สว่ นที่ 1

บทนำ�

หนา้ 5

1. ความเปน็ มา คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0

การบริิหารจััดการสถานศึึกษาอย่่างมีีระบบ เป็็นกลไกสำำ�คััญของการพััฒนาคุุณภาพโรงเรีียน ซึ่่�งจะ
ส่่งผลต่่อคุุณลัักษณะและการจััดการเรีียนรู้้� อัันจะส่่งผลกระทบต่่อคุุณภาพผู้ �เรีียนที่ �เป็็นเป้้าหมายหลัักของ
การจััดการศึึกษา โดยผลลััพธ์ร์ วมสุุดท้า้ ยของการบริหิ ารและการจััดการศึึกษาขั้้�นพื้�นฐาน คืือ ผู้้�เรีียน เป็น็ คนดีี�ี
เก่ง่ มีสี ุขุ และมีสี มรรถนะสำำ�คัญั ตามหลักั สูตู รแกนกลางการศึกึ ษาขั้้�นพื้�นฐาน ได้แ้ ก่ ่ ความสามารถในการสื่�อสาร
ความสามารถในการคิดิ ความสามารถในการแก้้ปััญหา ความสามารถในการใช้้ทัักษะชีวี ิติ และความสามารถ
ในการใช้เ้ ทคโนโลยีขี องผู้�เรีียน
สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 เปน็ หนว่ ยงานภายใตก้ ารขบั เคลอื่ นคณุ ภาพการศกึ ษา
สงั กัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน รับผดิ ชอบ ส่งเสรมิ สนับสนุน นเิ ทศ ก�ำกบั ตดิ ตาม และ
ประเมินผลคุณภาพการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดเพชรบูรณ์
ประกอบด้วย โรงเรียนในสงั กดั จ�ำนวน 39 โรงเรียน เพอ่ื ให้การขับเคล่อื นคุณภาพการศึกษาของส�ำนักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 40 และโรงเรยี นในสังกดั มีทิศทางที่ชดั เจน มกี ารเช่ือมโยง รอ้ ยรดั เขา้ ใจ
ตรงกนั จนท�ำใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายท่ีตง้ั ไว้
สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 จงึ จดั ทำ� คมู่ อื การขบั เคลอื่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
สำ� นกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ดว้ ยรูปแบบ SPM 4.0 เพือ่ ให้การจัดการศกึ ษาของโรงเรียน
ในสังกัดส�ำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40 มปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล

ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40

ห ้นา 6 2. วัตถปุ ระสงค์

ู่ค ืมอการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 เพือ่ ขับเคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 40
และโรงเรยี นในสงั กดั

3. ค�ำจ�ำกดั ความ

3.1 การขบั เคลือ่ นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40
ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 หมายถึง การนำ� นโยบายลงสู่การปฏบิ ตั ใิ นสำ� นกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา และโรงเรยี น
ในสังกัด ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 ใช้หลักการบริหารจัดการท่ีมีมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2561 มาตรฐานส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พ.ศ. 2560 และการจัดการศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0
ความรว่ มมอื ของทุกภาคส่วน โดยมีขน้ั ตอนการดำ� เนินงาน 5 ข้ัน ได้แก่ ขน้ั ท่ี 1 เรียนรเู้ ขา้ ใจ ขัน้ ที่ 2 ใชพ้ ้นื ท่ี
เป็นฐาน ขั้นที่ 3 บรู ณาการปฏิบตั ิ ขน้ั ที่ 4 จัดการสะทอ้ นผล และขัน้ ท่ี 5 กลไกยงั่ ยนื การขบั เคลื่อนการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 จะส่งผลให้
การด�ำเนินงานของส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 มีมาตรฐาน และโรงเรียนในสังกัด
จดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ มรี ปู แบบและกลไกการบรหิ ารสถานศกึ ษา การจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ไปสเู่ ป้าหมายส�ำคัญ คือ นกั เรยี นมคี ุณลักษณะจำ� เป็นส�ำคญั ในศตวรรษที่ 21 (3R8C)
3.2 ส�ำนักงานเขตมาตรฐาน หมายถึง การด�ำเนินงานของส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
เขต 40 ตามมาตรฐานส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา พ.ศ. 2560 เป็นมาตรฐานกลาง ซึ่งมาตรฐานส�ำนักงาน
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา พ.ศ. 2560 ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี 1 การบริหารจดั การองค์การ
สคู่ วามเปน็ เลศิ มาตรฐานท่ี 2 การบรหิ ารและการจดั การศึกษาทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ และมาตรฐานท่ี 3 สมั ฤทธิผล
การบรหิ ารและการจดั การศึกษา
3.3 โรงเรียนคุณภาพ หมายถึง โรงเรียนมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง
พ.ศ. 2562) มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและมีความเป็นเลิศสู่สากล
โดยมรี ูปแบบการบรหิ ารสถานศึกษาที่ดี ในการขบั เคลอ่ื นคุณภาพดา้ นการบริหารและการจัดการ มกี ระบวนการ
จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญเป็นแบบอย่างที่ดี ส่งผลไปสู่เป้าหมายคุณภาพนักเรียนทั้งด้านวิชาการ
คุณลักษณะจำ� เปน็ สำ� คญั ในศตวรรษที่ 21 (3R8C) ตลอดจนคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

4. ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับ หนา้ 7

1. ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 และโรงเรียนในสังกัด มีแนวทางการขับเคล่ือน คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นไปในทิศทางและเป้าหมายเดียวกัน ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. โรงเรียนได้รับการสนับสนุน ส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้

สำ� นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40

ส่วนท่ี 2

โครงสร้างการบริหารและบทบาทหนา้ ท่ี

การปฏิบตั งิ านขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาสำ� นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40 หนา้ 9
ด้วยรปู แบบ SPM 4.0 มโี ครงสรา้ งการบริหารและบทบาทหนา้ ท ่ี ดงั ต่อไปนี้
คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
1. โครงสรา้ งการบรหิ าร

ส�ำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 40

ห ้นา 10 2. บทบาทหนา้ ที่

ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 2.1 ระดับสำ� นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40
2.1.1 แต่่งตั้�งคณะกรรมการขัับเคลื่�อนการพััฒนาคุุณภาพการศึึกษา ระดัับเขตพื้�นที่�การศึึกษา
ประกอบด้ว้ ย
1) ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 เปน็ ประธานกรรมการ
2) รองผู้อ�ำนวยการสำ� นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40 เปน็ รองประธาน
กรรมการ
3) ประธานสหวทิ ยาเขตทุกสหวทิ ยาเขต เป็นกรรมการ
4) ผู้อำ� นวยการกลุ่มสำ� นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 เปน็ กรรมการ
5) ผู้้�อำำ�นวยการกลุ่�มนิิเทศ ติิดตาม และประเมิินผลการจััดการศึึกษา เป็็นกรรมการ
และเลขานกุ าร
6) กลุ่�มงานเลขานุุการคณะกรรมการติิดตาม ตรวจสอบ ประเมิินผล และนิิเทศ
การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาของกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา เป็นกรรมการ
และผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
2.1.2 คณะกรรมการขบั เคลอื่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระดบั เขตพนื้ ท ่ี นำ� ขอ้ มลู สารสนเทศ
วางแผน กำ� หนดกรอบการดำ� เนินงาน โครงการ กิจกรรม ที่สอดคลอ้ งกับวิสยั ทัศน ์ พนั ธกจิ กลยุทธ์ ของ
ส�ำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40
2.1.3 ประชุุมชี้�แจง ทิิศทาง และแนวทางการขัับเคลื่�อนการพััฒนาคุุณภาพการศึึกษาของสำำ�นััก
งานเขตพื้�นที่�การศึกึ ษามัธั ยมศึึกษา เขต 40 กัับโรงเรียี นในสัังกััด 39 โรงเรียี น
2.1.4 นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสำ� นกั งาน
เขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 และสรปุ รายงานผล ปกี ารศึกษาละ 2 คร้ัง ดว้ ยแบบนิเทศ ตดิ ตาม
ตามจุดเน้นสำ� นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40
2.1.5 นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการขับเคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของส�ำนักงาน
เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40 ของโรงเรยี นโดยใชค้ ณะกรรมการสหวิทยาเขต อยา่ งน้อย ปกี ารศกึ ษา
ละ 2 ครัง้ ดว้ ยแบบประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศกึ ษา

ส�ำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 40

2.2 ระดบั สหวทิ ยาเขต หนา้ 11
2.2.1 ส�ำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40 แต่งตง้ั คณะกรรมการขับเคล่อื นการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา ระดับสหวิทยาเขต ประกอบดว้ ย คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
1) ประธานสหวิิทยาเขต เป็็นประธานกรรมการ
2) รองประธานสหวิทิ ยาเขต เป็น็ รองประธานกรรมการ
3) ผู้้�อำำ�นวยโรงเรีียนทุกุ โรงเรีียนในสหวิทิ ยาเขต เป็น็ กรรมการ
4) ผู้้�ทรงคุณุ วุฒุ ิปิ ระจำำ�สหวิิทยาเขต เป็็นกรรมการ
5) ศึึกษานิิเทศก์ป์ ระจำำ�สหวิทิ ยาเขต เป็็นกรรมการและเลขานุุการ
6) รองผู้้�อำำ�นวยการโรงเรียี นหรืือหััวหน้้างานวิิชาการ เป็็นกรรมการและผู้้�ช่่วยเลขานุกุ าร
2.2.2 น�ำการขบั เคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสำ� นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา
เขต 40 ไปก�ำหนดการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนในสหวทิ ยาเขต
2.2.3 นิิเทศ ติิดตาม และประเมิินผลการขัับเคลื่�อนการพััฒนาคุุณภาพการศึึกษาของโรงเรีียน
ในสหวิทิ ยาเขตโดยสหวิทิ ยาเขตและสำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึึกษามััธยมศึกึ ษา เขต 40 ในระหว่า่ งปีีการศึึกษา
โดยใช้ร้ ูปู แบบการนิเิ ทศ ติดิ ตาม และประเมินิ ผลตามแนวทางของสหวิทิ ยาเขตและสำำ�นักั งานเขตพื้�นที่�การศึกึ ษา
มััธยมศึกึ ษา เขต 40

ส�ำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40

ห ้นา 12 2.3 ระดบั ศูนยพ์ ฒั นาวิชาการกล่มุ สาระการเรียนรู้
2.3.1 สำำ�นักั งานเขตพื้�นที่�การศึึกษามัธั ยมศึึกษา เขต 40 แต่ง่ ตั้�งคณะกรรมการขัับเคลื่�อนการพััฒนา
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 คุณุ ภาพการศึกึ ษา ระดัับศููนย์์พััฒนาวิชิ าการกลุ่�มสาระการเรีียนรู้� ประกอบด้ว้ ย
1) ผู้้�อำำ�นวยการโรงเรียี นที่�เป็็นที่�ตั้�งศูนู ย์พ์ ัฒั นาวิิชาการ เป็น็ ประธานกรรมการ
กลุ่�มสาระการเรีียนรู้้�
2) รองผู้้�อำำ�นวยการโรงเรียี นที่�เป็็นที่�ตั้�งศููนย์พ์ ัฒั นาวิิชาการ เป็็นรองประธานกรรมการ
กลมุ่ สาระการเรียนร้ทู ร่ี บั ผิดชอบงานวิชาการของโรงเรียน
3) หััวหน้า้ กลุ่�มสาระการเรีียนรู้�ของทุกุ โรงเรียี นในสัังกัดั เป็น็ กรรมการ
4) ศึึกษานิเิ ทศก์ ์ ที่่�รับั ผิิดชอบกลุ่�มสาระการเรียี นรู้� เป็น็ กรรมการ
5) หััวหน้า้ กลุ่�มสาระการเรียี นรู้�ของโรงเรียี นที่�เป็น็ ประธาน เป็็นกรรมการและเลขานุกุ าร
ศููนย์์พัฒั นาวิชิ าการกลุ่�มสาระการเรีียนรู้�
6) ครููผู้�สอนในกลุ่�มสาระการเรียี นรู้�ของโรงเรียี น เป็็นกรรมการและผู้้�ช่ว่ ยเลขานุุการ
ที่่�เป็น็ ประธานศูนู ย์พ์ ัฒั นาวิิชาการกลุ่�มสาระการเรีียนรู้�
2.3.2 ดำำ�เนินิ งานตามบทบาทหน้า้ ที่่�ของศููนย์พ์ ััฒนาวิชิ าการกลุ่�มสาระการเรียี นรู้้� ตามแนวทางการจัดั
โครงสร้้างการบริิหารจััดการเพื่�อพััฒนาคุุณภาพในระดัับเขตพื้�นที่�การศึึกษา เครืือข่่ายส่่งเสริิมประสิิทธิิภาพ
การจดั การมัธยมศึกษาจงั หวัด (ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
2.3.3 คัดเลือกผลการปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best practice) แตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้

สำ� นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40

2.4 ระดบั โรงเรียน หนา้ 13
2.4.1 โรงเรียี นแต่ง่ ตั้�งคณะกรรมการขัับเคลื่�อนการพัฒั นาคุณุ ภาพการศึึกษา ระดัับโรงเรียี น
ประกอบด้้วย คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
1) ผู้้�อำำ�นวยการโรงเรีียน เป็็นประธานกรรมการ
2) รองผู้้�อำำ�นวยการโรงเรียี น เป็น็ รองประธานกรรมการ
3) หััวกลุ่�มงาน เป็็นกรรมการ
4) หััวหน้า้ กลุ่�มสาระการเรียี นรู้้� เป็็นกรรมการ
5) ผู้้�แทนคณะกรรมการสถานศึึกษาขั้้�นพื้�นฐาน เป็็นกรรมการ
6) หััวหน้า้ กลุ่�มบริิหารวิชิ าการ เป็็นกรรมการและเลขานุกุ าร
2.4.2 นำำ�คู่่�มืือการขัับเคลื่�อนการพััฒนาคุุณภาพการศึึกษาสำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึึกษามััธยมศึึกษา
เขต 40 ไปใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี น
2.4.3 นำำ�ข้อ้ มูลู สารสนเทศที่�เกี่�ยวข้อ้ งและผลการปฏิบิ ัตั ิงิ านที่�เป็น็ เลิศิ มาวางแผนร่ว่ มกันั เพื่�อกำำ�หนดรูปู แบบ
การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี น
2.4.4 วางแผนกำำ�หนดโครงการและกิิจกรรมการดำำ�เนิินงานของโรงเรีียนให้้สอดคล้้องกัับวิิสััยทััศน์์
พันธกจิ กลยุทธข์ องสำ� นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40
2.4.5 คณะกรรมการขัับเคลื่�อนการพัฒั นาคุณุ ภาพการศึึกษา ระดัับโรงเรีียน นิเิ ทศ ติิดตาม และรายงาน
ผลการขัับเคลื่ �อนการพััฒนาคุุณภาพการศึึกษาของโรงเรีียน ด้้วยแบบประเมิินมาตรฐานการปฏิิบััติิงานโรงเรีียน
มััธยมศึึกษา พ.ศ. 2560 (ปรัับปรุุง พ.ศ. 2562) ไปยัังสำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึึกษามััธยมศึึกษา เขต 40
เมื่�อสิ้�นภาคเรียี น

สำ� นกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40

สว่ นท่ี 3

การขบั เคล่อื นการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
สำ�นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40

ด้วยรูปแบบ SPM 4.0

หนา้ 15

1. วิสยั ทศั น์ สำ� นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0

ส�ำนักงานเขตมาตรฐาน โรงเรียนคุณภาพ ดว้ ยหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. พนั ธกิจ

2.1 ส่ง่ เสริมิ สนับั สนุนุ พัฒั นาศักั ยภาพนักั เรียี นอย่า่ งรอบด้า้ นเพื่�อให้ม้ ีคี วามรู้้�ทักั ษะวิชิ าการ ทักั ษะวิชิ าชีพี
ทัักษะชีวี ิิต ทััศนคติทิ ี่่�ดีตี ่อ่ ชาติบิ ้้านเมืืองและคุณุ ลัักษณะในศตวรรษที่่� 21
2.2 ส่่งเสริิม สร้้างโอกาส ลดความเหลื่�อมลํ้้�า ให้้นัักเรีียนในระดัับการศึึกษาขั้้�นพื้�นฐานได้้รัับการศึึกษา
ทมี่ ีคุณภาพอยา่ งท่ัวถึงและเท่าเทยี ม
2.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
2.4 ส่่งเสริิม สนัับสนุุน พัฒั นาครูแู ละบุุคลากรทางการศึกึ ษาให้้เป็น็ มืืออาชีพี อย่า่ งมีคี ุุณภาพ
2.5 ส่งเสริม พัฒนาระบบบริหารจัดการของส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียน แบบบูรณาการ
ตามหลักธรรมาภบิ าล

ส�ำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

ห ้นา 16

ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 3. เปา้ ประสงค์

3.1 นักั เรีียน มีคี วามรู้้� ทักั ษะวิิชาการ ทัักษะวิชิ าชีีพ ทักั ษะชีวี ิิต และคุณุ ลัักษณะในศตวรรษที่่� 21
เป็็นบุุคคลแห่่งการเรียี นรู้้� คิดิ ริเิ ริ่�มสร้้างสรรค์น์ วัตั กรรมและปรับั ตััวต่อ่ การเป็น็ พลเมืืองที่่�ดีี
3.2 นัักเรีียนที่่�มีีความต้้องการจำำ�เป็็นพิิเศษ กลุ่�มชาติิพัันธุ์์� กลุ่�มผู้้�ด้้อยโอกาสและกลุ่�มที่�อยู่�ในพื้�นที่�
หา่ งไกลทุรกนั ดารได้รบั การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ อย่างท่ัวถงึ และเทา่ เทียม
3.3 ครููมีีความเชี่�ยวชาญตามสมรรถนะ และมีีจรรยาบรรณในวิิชาชีีพ พััฒนาตนเองให้้มีีความรอบรู้�
ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความแม่นย�ำทางวิชาการ และมีทักษะ
การจดั การเรียนรูท้ หี่ ลากหลาย โดยยึดนักเรียนเป็นสำ� คัญ ตอบสนองนักเรยี นเป็นรายบุคคล เป็นผสู้ รา้ งสรรค์
นวตั กรรม และมที กั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
3.4 บคุ ลากรทางการศกึ ษา เปน็ ผเู้ รยี นร ู้ มสี มรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำ� แหนง่ สรา้ งสรรค์
นวัตกรรม และมที ักษะในการใช้เทคโนโลยี
3.5 ผู้�บริหิ ารสถานศึกึ ษามีคี วามเป็น็ เลิศิ ส่ว่ นบุคุ คล คิดิ เชิงิ กลยุทุ ธ์แ์ ละนวัตั กรรม มีภี าวะผู้้�นำำ�ทางวิชิ าการ
มีีสำำ�นึึกความรัับผิดิ ชอบ และการบริิหารแบบมีีส่ว่ นร่่วม
3.6 โรงเรยี นจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
3.7 โรงเรียนบริหารงานและจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้ความร่วมมือของทุกภาคส่วน
มรี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ สภาพแวดลอ้ มเหมาะสมเออื้ ต่อการเรยี นรู้ในทุกมิติ และวิจยั สรา้ งนวัตกรรม
ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีดิจติ อล ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรูข้ องผเู้ รียน
3.8 ส�ำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 บริหารจัดการไดม้ าตรฐาน ผู้รบั บรกิ ารมีความ
พึงพอใจ

สำ� นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

4. กลยุทธ์ หนา้ 17

4.1 จัดการศึกษาเพื่อความมน่ั คง คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
4.2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
4.3 พัฒนาผ้บู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา
4.4 สร้างโอกาสและลดความเหลอื่ มล้ำ� ทางการศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพ
4.5 เพิ่�มประสิิทธิภิ าพการบริิหารจััดการ
4.6 จัดั การศึกึ ษาเพื่�อพัฒั นาคุุณภาพชีวี ิิตที่�เป็น็ มิิตรกับั สิ่�งแวดล้อ้ ม

5. จดุ เนน้ สำ� นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40

5.1 ยกระดับั ผลสัมั ฤทธิ์�ทางการเรีียน ผลการทดสอบทางการศึึกษาระดับั ชาติิขั้�นพื้�นฐาน (O-NET)
เพิ่ �มขึ้ �น
5.2 นักั เรียี นป็น็ ผู้้�มีคี วามคิิดริิเริ่�มสร้้างสรรค์์นวัตั กรรมที่�เป็็นมิติ รกับั สิ่�งแวดล้อ้ ม
5.3 นัักเรียี นมีีจิติ อาสา สำำ�นึกึ ในความเป็็นไทย อยู่�อย่า่ งพอเพีียง และดำำ�รงชีวี ิติ ในสังั คมอย่่างมีคี วามสุขุ
5.4 นักั เรียี นสามารถค้น้ พบตนเอง มีีทัักษะพื้�นฐานอาชีีพ และการมีีงานทำำ� มีคี วามพร้้อมในการแข่ง่ ขันั
5.5 ครูจดั การเรียนรดู้ ว้ ย Active Learning
5.6 1 ครู 1 นวัตกรรมการจดั การเรียนร ู้
5.7 ครููและบุุคลากรทางการศึึกษาใช้เ้ ทคโนโลยีีและนวัตั กรรม ในการพัฒั นางาน
5.8 ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามคี วามเชยี่ วชาญตามสมรรถนะ มาตฐาน และมจี รรยาบรรณในวชิ าชพี
5.9 1 โรงเรียี น 1 นวัตั กรรมการบริหิ ารงาน
5.10 ขัับเคลื่�อนคุุณภาพการศึึกษาด้ว้ ยเครือื ข่า่ ยความร่่วมมืือการบริหิ ารจัดั การศึกึ ษา
5.11 มีีระบบประกัันคุุณภาพที่�เข้ม้ แข็ง็
5.12 บริิหารจััดการศึกึ ษาตามหลัักปรัชั ญาของเศรษฐกิจิ พอเพีียง
5.13 โรงเรีียนมีีหลัักสููตรสถานศึึกษาที่่�ทัันต่่อการเปลี่�ยนแปลง และตอบสนองความต้้องการของผู้�เรีียน
ชุมุ ชน และสัังคม

6. ตัวช้วี ดั

6.1 ร้้อยละ 90 ของนัักเรียี นมีีความรักั ในสถาบันั หลักั ของชาติแิ ละยึดึ มั่�นในการปกครองระบอบ
ประชาธิิปไตย อัันมีพี ระมหากษััตริยิ ์ท์ รงเป็น็ ประมุขุ มีที ััศนคติิที่่�ดีีต่่อบ้้านเมือื ง มีหี ลัักคิดิ ที่่�ถูกู ต้้อง เป็็นพลเมืืองดีี
ของชาติิและพลเมืืองโลกที่่�ดี ี มีคี ุุณธรรม จริิยธรรม
6.2 ร้อ้ ยละ 90 ของนัักเรียี นมีีความต้อ้ งการจำำ�เป็็นพิเิ ศษ กลุ่�มชาติพิ ัันธ์์ กลุ่�มผู้้�ด้้อยโอกาสและกลุ่�มที่�อยู่�
ในพื้�นที่่�ทุรุ กัันดารได้ร้ ัับการศึึกษาที่่�มีคี ุณุ ภาพ อย่่างทั่�วถึึงและเท่่าเทียี ม
6.3 ร้อ้ ยละ 90 ของนัักเรีียนทุกุ คนมีศี ัักยภาพในการจัดั การสุขุ ภาวะของตนเองให้ม้ ีสี ุขุ ภาพที่่�ดีี สามารถ
ดำำ�รงชีีวิติ อย่่างมีคี วามสุขุ ทั้�งด้า้ นร่่างกายและจิิตใจ
6.4 ร้้อยละ 90 ของนักั เรียี นที่่�มีนี ิิสััยรัักการอ่า่ น
6.5 ร้้อยละ 80 ของนัักเรียี นมีีสมรรถนะสำำ�คััญตามหลักั สููตร มีีทักั ษะการเรียี นรู้�ในศตวรรษที่่� 21
มีคี วามพร้อ้ มในการเข้้าสู่่�เวทีีการแข่่งขันั

ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 40

ห ้นา 18 6.6 ร้้อยละ 60 ของนัักเรีียนมีีสมรรถนะที่่�จำำ�เป็็นด้้านการรู้�เรื่�องการอ่่าน (Reading Literacy)
การรู้�เรื่�องคณิิตศาสตร์์ (Mathematics Literacy) การรู้�เรื่�องวิิทยาศาสตร์์ (Science Literacy)
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 6.7 ร้้อยละ 60 ของนัักเรียี นมีที ักั ษะสื่�อสารภาษาอังั กฤษ และสื่�อสารภาษาที่่� 3 ในระดัับดีีขึ้�นไป
6.8 ร้้อยละ 100 ของนัักเรีียนที่่�มีีทักั ษะด้า้ น Digital Literacy ที่่�มีกี ารเรีียนรู้�อย่า่ งมีีประสิิทธิภิ าพ
6.9 นัักเรียี นมีคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึึกษาระดัับชาติขิั้�นพื้�นฐาน (O-NET) มากกว่่าร้อ้ ยละ 50
ในแต่ล่ ะวิชิ าเพิ่�มขึ้�นจากปีกี ารศึกึ ษาที่่�ผ่่านมา
6.10 ร้้อยละ 100 ของนัักเรียี นมีี ID Plan และ Portfolio เพื่�อการศึกึ ษาต่อ่ และประกอบอาชีพี
6.11 ร้้อยละ 90 ของนัักเรียี นมีคี วามรู้� ความเข้า้ ใจ และมีีความพร้อ้ มสามารถรัับมือื กับั ภััยคุุกคาม
ทุกุ รูปู แบบที่่�มีีผลกระทบต่่อความมั่�นคง
6.12 ร้้อยละ 100 ของครูมู ีกี ารพัฒั นาความรู้� ความสามารถ ตามสมรรถนะและมาตรฐานวิิชาชีีพ
6.13 ร้้อยละ 100 ของครูมู ีจี รรยาบรรณในวิิชาชีีพและจิติ วิิญญาณความเป็็นครูู
6.14 ร้้อยละ 100 ของครูจู ััดการเรียี นรู้�แบบ Active Learning
6.15 ร้้อยละ 100 ของครูจู ััดการเรียี นรู้้�ด้้วยเทคโนโลยีีและนวััตกรรม
6.16 ร้อ้ ยละ 100 ของบุคุ ลากรทางการศึกึ ษามีสี มรรถนะในการปฏิบิ ัตั ิงิ านตามมาตรฐานตำำ�แหน่ง่ อย่า่ งมีี
ประสิิทธิิภาพ
6.17 ร้้อยละ 100 ของบุุคลากรทางการศึึกษาใช้เ้ ทคโนโลยีีและนวััตกรรมในการปฏิิบััติิงาน
6.18 ร้้อยละ 100 ของโรงเรียี นมีกี ารพัฒั นา ปรับั ปรุุง และบริิหารหลักั สูตู รสอดคล้อ้ งตามความต้อ้ งการ
ของผู้�เรียี น และบริบิ ทอย่่างมีปี ระสิิทธิิภาพ
6.19 ร้้อยละ 100 ของโรงเรียี นบริิหารตามหลัักปรััชญาของเศรษฐกิิจพอเพียี ง
6.20 ร้อ้ ยละ 100 ของโรงเรียี นที่่�มีกี ารขับั เคลื่�อนการจัดั การศึกึ ษาเพื่�อพัฒั นาคุณุ ภาพชีวี ิติ และสิ่�งแวดล้อ้ ม
6.21 ร้้อยละ 100 ของโรงเรีียนมีนี วััตกรรมในการบริิหารจัดั การ
6.22 ร้้อยละ 100 ของ โรงเรีียนมีเี ครือื ข่่ายความร่่วมมืือในการบริิหารจััดการ
6.23 สำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึึกษามีีระบบบริหิ ารจััดการตามมาตรฐานสำำ�นักั งานเขตพื้�นที่�โดยมีี
คะแนนประเมินิ ไม่น่ ้้อยกว่า่ 90
6.24 ร้้อยละ 100 ของกลุ่�มงานในสำำ�นักั งานเขตพื้�นที่�การศึกึ ษามีกี ารขัับเคลื่�อนคุุณภาพการศึกึ ษา

ส�ำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 40

7. รปู แบบการขับเคลอ่ื นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา สำ� นักงาน หนา้ 19
เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40 ดว้ ยรูปแบบ SPM 4.0
คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
จากแผนยุุทธศาสตร์์ชาติิกัับการพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืน “ประเทศมีีความมั่�นคง มั่่�งคั่�ง ยั่่�งยืืน เป็็นประเทศ
พััฒนาแล้้ว ด้้วยการพััฒนา ตามหลัักปรััชญาของเศรษฐกิิจพอเพีียง” ตามรััฐธรรมนููญแห่่งราชอาณาจัักรไทย
พุทุ ธศัักราช 2560 หมวด 6 แนวนโยบายแห่ง่ รัฐั มาตรา 65 รััฐพึงึ จััดให้้มียี ุุทธศาสตร์ช์ าติิเป็็นเป้้าหมาย
การพััฒนาประเทศอย่า่ งยั่�งยืนื ตามหลัักธรรมาภิิบาลเพื่�อใช้้เป็็นกรอบในการจััดทํําแผนต่่าง ๆ ให้ส้ อดคล้้องและ
บูรู ณาการกันั เพื่�อให้เ้ กิดิ เป็น็ พลังั ผลักั ดันั ร่ว่ มกันั ไปสู่�เป้า้ หมายดังั กล่า่ ว การจัดั ทํําการกํําหนดเป้า้ หมาย ระยะเวลา
ที่�จะบรรลุุเป้้าหมาย และสาระที่่�พึึงมีีในยุุทธศาสตร์์ชาติิให้้เป็็นไปตามหลัักเกณฑ์์และวิิธีีการที่�กฎหมายบััญญััติิ
ทั้�งนี้�กฎหมายดัังกล่่าวต้้องมีีบทบััญญััติิเกี่�ยวกัับการมีีส่่วนร่่วม และการรัับฟัังความคิิดเห็็นของประชาชน
ทุุกภาคส่ว่ นอย่่างทั่�วถึึง ด้้วยยุทุ ธศาสตร์์ชาติิ (พ.ศ. 2561 - 2580) ทั้้�ง 6 ด้า้ น ประกอบด้้วย ยุทุ ธศาสตร์ช์ าติิ
ด้านความม่ันคง เพื่อสร้างประเทศ ให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์ของประเทศ ด้วยการสร้างคนไทยในอนาคต
ให้มศี ักยภาพในการรว่ มกันพัฒนาประเทศ สามารถปรบั ตวั รองรบั บริบทการพฒั นาในอนาคต มีความพรอ้ มทงั้
กาย ใจ สตปิ ญั ญา มที กั ษะในการวเิ คราะหอ์ ยา่ งมเี หตผุ ล มกี ารเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ มภี มู คิ มุ้ กนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง
มีจิตส�ำนึกวัฒนธรรมท่ีดีงามรู้คุณค่าความเป็นไทยและมีความรับผิดชอบ เป็นรากฐานที่ม่ันคงของชุมชนสังคม
รกั ชาติและสถาบันพระมหากษตั รยิ ์อันก่อใหเ้ กดิ สงั คมไทยเป็นสงั คมท่เี ปน็ ธรรม มคี วามเหลื่อมลำ้� นอ้ ย อตั รา
ความยากจนต่ำ� มีการกระจายโอกาสการเข้าถงึ ทรัพยากร การสรา้ งฐานอาชีพ บริการทางสังคมทีม่ คี ุณภาพ
และกระบวนการยตุ ธิ รรมอย่างทวั่ ถึง ไม่คอรัปชนั่ โดยทปี่ ระชาชนทุกช่วงวัย มคี ุณภาพชวี ิตทด่ี ี ครอบครัว
อยดู่ มี สี ขุ ประชาชนคนไทยและเกษตรกรสามารถพงึ่ พาตนเองทางดา้ นอาหาร มหี ลกั ประกนั ความมน่ั คงดา้ นอาชพี
และมีคุณภาพชวี ติ ที่ด ี ผา่ นการนอ้ มนำ� ศาสตร์พระราชามาดำ� เนนิ ชีวติ ตามรปู แบบดังภาพ

ส�ำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40

ห ้นา 20 จากภาพวิิธีีการแห่่งศาสตร์์พระราชา เป็็นการแสดงถึึงกระบวนการของศาสตร์์พระราชา
เพื่�อการพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืนตามหลักั การทรงงาน เข้้าใจ เข้า้ ถึงึ พััฒนา ซึ่ง�่ พระบาทสมเด็จ็ พระบรมชนกาธิเิ บศร
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 มหาภูมู ิพิ ลอดุลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิติ ร ทรงใช้ก้ ับั ทั้�ง คน วัตั ถุ ุ สังั คม สิ่�งแวดล้อ้ ม และวัฒั นธรรม มีคี วาม
ลุ่มลกึ เปน็ ตัวอยา่ งใหเ้ ห็นอยา่ งชัดเจน ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย
1. เข้าใจ (Understanding) ประกอบดว้ ยองค์ประกอบยอ่ ย 4 องคป์ ระกอบ
1.1 การใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว (Existing data) พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสนพระทัยคน้ ควา้ หาข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ นต็ และทรงรับฟัง
ขา่ วสารจากทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ โดยเฉพาะแผนท ี่ ทรงตรวจสอบความถกู ตอ้ งของแผนทท่ี กุ ครง้ั ทเ่ี สดจ็
ทอดพระเนตรสภาพพื้�นที่�จริิง เมื่�อเสด็็จประทัับบนเฮลิิคอปเตอร์์พระที่�นั่�งทรงทอดพระเนตรและตรวจสอบ
หากไม่่ถููกต้อ้ งจะทรงส่่งข้อ้ มููลให้้หน่่วยราชการ เช่น่ กรมแผนที่�ทหารไปดำำ�เนิินการแก้้ไขในทางวิิทยาการข้อ้ มูลู
(Data Science) การทำำ�ความสะอาดข้้อมููล (Data cleaning) มีีความจำำ�เป็็นอย่่างยิ่�ง พระบาทสมเด็็จ
พระบรมชนกาธิิเบศรมหาภููมิิพลอดุุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิิตร ได้้ทรงทำำ�เช่่นนั้�นมาโดยตลอด เช่่น ทรงมีี
พระราชปจุ ฉาถึงความถูกตอ้ งของแผนท่ีกับพระสหายแห่งสายบรุ ี เมื่อเสด็จพ้ืนที่พรุแฆแฆ ท่ปี ัตตานี เปน็ ต้น
บรรดานกั สถติ ิต่างทราบกนั ดีว่าเม่ือใส่ข้อมูลที่ไมส่ ะอาดเขา้ ไป วิเคราะหด์ ี ใช้แบบจำ� ลองดอี ยา่ งไร กไ็ ด้แบบ
จ�ำลองขยะออกมา เชน่ Garbage-in, Garbage out (GIGO) model อันแสดงใหเ้ ห็นว่าทรงใชห้ ลักการ
เข้าใจ เขา้ ถึง พฒั นา ไดอ้ ย่างลึกซงึ้ เช่นเดียวกนั กับที่มีความรู้ทางสถิติศาสตรอ์ ย่างลุม่ ลกึ ไมใ่ ชเ่ ปน็ เพยี งผูใ้ ช้
แต่เป็นผู้ใชข้ ้อมูลทีม่ ีอยูอ่ ย่างผูม้ คี วามรู้ระมดั ระวงั รอบคอบเป็นอยา่ งยิ่ง ซึง่ แม้แตน่ ักวทิ ยาการขอ้ มูลท่มี ีอาชพี
ดัังกล่่าวโดยตรงยัังรู้้�สึึกเบื่ �อหน่่ายและต้้องใช้้เวลามากเป็็นพิิเศษในการทำำ�ความสะอาดข้้อมููลดัังกล่่าว
การที่�ทรงแก้้ไขความถููกต้้องของข้้อมููลที่่�มีีอยู่�แล้้ว การแก้้ไขแผนที่�จะสะท้้อนให้้เห็็นถึึงพระนิิสััยในการทรงงาน
อย่า่ งมีีวิิริิยะ และมีคี วามเข้้าใจในวิชิ าการเป็็นอย่่างยิ่�ง
1.2 การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical data) พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงเอาพระทยั ใสใ่ นการใชข้ อ้ มลู เชงิ ประจกั ษเ์ ปน็ อยา่ งยงิ่ โดยเฉพาะ
ระบบสถติ ทิ างการ (Official statistics) และการสำ� มะโนประชากร (Census) และสถติ ศิ าสตรศ์ กึ ษา (Statistical
Education) ทรงมีพระอฉั รยิ ะภาพในความส�ำคัญของการใชส้ ถติ ิในการพัฒนา
1.3 การวิเคราะหแ์ ละวิจัย (Analytics and Research) โครงการพระราชด�ำริ จ�ำนวน
4,810 โครงการ อาศัยการวิเคราะห์และการวิจัย สร้างองค์ความรู้ท่ีมั่นใจว่าได้ผลก่อนที่จะน�ำไปปฏิบัติจริง
โครงการพระราชดำ� รโิ ครงการหนงึ่ ทใ่ี ชก้ ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู และการวจิ ยั มากทสี่ ดุ โครงการหนง่ึ คอื โครงการหลวง
(Royal Project) โดยเฉพาะการวจิ ัยเกีย่ วกบั การปลกู พชื เมอื งหนาว และการเล้ยี งสตั ว์จากเมืองหนาว เชน่
ปลาเทราทม์ กี ารจดั ตงั้ สถานวี จิ ยั โครงการหลวง และสถานเี กษตรหลวงมากมาย การคน้ ควา้ วจิ ยั ดงั กลา่ ว รวมไปถงึ
การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การบรรจุหีบห่อ เทคโนโลยีหลังการเก็บเก่ียว ไปจนถึงการวิจัยตลาด ผลส�ำเร็จ
จากการวิจัยท�ำให้โครงการหลวงมีความก้าวหน้ามาก ท�ำให้แก้ปัญหาการปลูกฝิ่นและการท�ำไร่เล่ือนลอย
บนพนื้ ท่สี งู ท�ำใหค้ นไทยไดบ้ ริโภคสนิ คา้ คุณภาพสูงและทดแทนการนำ� เข้าได้มากมาย

ส�ำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

1.4 การทดลองจนได้ผลจริง (Experiment till actionable results) พระต�ำหนกั หนา้ 21
จติ รลดารโหฐานเปน็ หอ้ งทดลองขนาดใหญท่ พ่ี ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร ทรงพระมหากรณุ าโปรดเกลา้ ใหต้ ง้ั ขน้ึ มที งั้ การเลย้ี งโคนม ทำ� นา ปลกู ตน้ ยางนา ปลกู ปา่ ทดลอง คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
ท�ำโรงสที ดลองท�ำนมผงอดั เมด็ ผลิตถา่ นชีวภาพ และอ่นื ๆ อกี มากมาย ทัง้ หมดนที้ รงทดลองจนกว่าจะทรง
มน่ั พระทยั วา่ ไดผ้ ลดจี รงิ นำ� ไปใชง้ านไดจ้ รงิ จงึ ทรงเผยแพรต่ อ่ ไป ความใสพ่ ระทยั ในการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์
หรือวิศวกรรมศาสตร์นั้นแสดงให้เห็นเด่นชัดตลอดพระชนม์ชีพ บางโครงการทดลองใช้เวลาทดลองยาวนาน
สบิ สามถงึ สบิ สปี่ ี เพอื่ ใหม้ น่ั ใจวา่ ทำ� แลว้ ไดผ้ ลจรงิ เชน่ การทำ� ฝนหลวงหรอื ฝนเทยี ม กอ่ นทจ่ี ะนำ� ไปสรา้ งตน้ แบบ
หรือขยายผลให้ความรู้แก่ประชาชนที่จะท�ำต่อเองได้ ทรงต้องม่ันใจผลของการทดลองว่าได้ผลจริงก่อนเผยแพร่
หรอื ถ่ายทอดเทคโนโลยีใหป้ ระชาชน
2. เขา้ ถงึ (Connecting) ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบยอ่ ย 3 องค์ประกอบ
2.1 ระเบิดจากข้างใน (Inside-out blasting) พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระประสงค์ให้การพัฒนาเป็นการระเบิดจากข้างใน เป็นการ
ให้ประชาชนหรือชุมชนที่เข้าไปพัฒนาหรือท�ำงาน เกิดการปรับตัวท่ีจะพัฒนาตนเอง เกิดความต้องการที่จะ
พัฒนาตนเองเสียก่อนไม่ใช่สงิ่ ทีท่ างราชการ เข้าไปบังคับให้ประชาชนหรอื ชมุ ชนท�ำ ซ่งึ จะไม่ย่งั ยืน จึงทรงเน้น
การพฒั นาคน ให้คนเกิดการเปลีย่ นแปลงตนเองกอ่ น แลว้ จึงเข้าไปพัฒนาเปล่ียนแปลง ซงึ่ เปน็ การเข้าถึงก่อน
จะพัฒนา ไม่ใช่น�ำการพัฒนาเข้าไปโดยท่ีประชาชนยังไม่ตระหนักหรือเห็นความส�ำคัญของการพัฒนาหรือ
การเปลี่ยนแปลง หลักการในข้อน้ีตรงกับหลักวิชาการสมัยใหม่ว่าด้วยการน�ำและการบริหารการเปล่ียนแปลง
(Change Management) ดงั ท่ ี John P. Kotter ไดน้ ำ� เสนอวา่ ในการเปล่ยี นแปลงตอ้ งทำ� ให้คนตระหนัก
ถงึ ความจ�ำเปน็ เรง่ ดว่ นท่ีจะตอ้ งเปลีย่ นแปลง (Establishing a Sense of Urgency) ต้องสอื่ สารวิสยั ทัศน์
(Communicate the vision) เพอ่ื ให้คนได้เห็นทิศทางท่ีชัดเจนท่จี ะเปลีย่ นแปลง
2.2 เขา้ ใจกลุ่มเปา้ หมาย (Understand target) “ฉันครองราชยส์ องปีแรก ฉนั ไม่มีผลงาน
เพราะฉันยังไม่รู้ว่าราษฎรต้องการอะไร” พระราชปรารภนี้สะท้อนให้เห็นวิธีการแห่งศาสตร์พระราชา
ในการเข้า้ ถึงึ แล้ว้ จึงึ พัฒั นาได้เ้ ป็น็ อย่า่ งดียีิ่�ง ทรงให้ค้ วามสำำ�คัญั กับั การทำำ�ความเข้า้ ใจกลุ่�มเป้า้ หมาย ซึ่ง�่ คือื ประชาชน
ว่่าประชาชนต้้องการอะไร ก่อ่ นที่�จะทรงงาน ภาพที่�คนไทยทุกุ คนได้้พบเห็น็ จนเจนตาคืือภาพที่�พระบาทสมเด็็จ
พระบรมชนกาธิิเบศร มหาภููมิิพลอดุุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิิตร โปรดที่�จะประทัับกัับพื้�นดิินเพื่�อพููดคุุย
กบั ชาวบา้ นในทอ้ งถน่ิ ทรุ กนั ดาร เพอื่ ทจ่ี ะทรงเขา้ ใจความเดอื ดรอ้ น ปญั หา ความทกุ ขย์ ากของชาวบา้ น เพอ่ื หาทาง
แกไ้ ขตอ่ ไป ทรงมพี ระเมตตาอยา่ งสงู ตอ่ ประชาชนในการทจ่ี ะเขา้ ใจปญั หาของประชาชน โดยเฉพาะเมอ่ื ประชาชน
จะถวายฎีกาเพ่ือขอพระราชทานพระเมตตาในการปัดเป่าความทุกข์ร้อนต่าง ๆ ในหลายคร้ังทางราชการเอง
กลบั ขดั ขวาง ทง้ั นท้ี รงพยายามเขา้ ใจกลมุ่ เปา้ หมาย คอื ประชาชนของพระองคใ์ นแตล่ ะทอ้ งถนิ่ อยา่ งลกึ ซงึ้ มากทสี่ ดุ
2.3 สร้างปัญญา (Educate) การสรา้ งปญั ญาสงั คมเปน็ ส่วนส�ำคัญยิ่งในการเข้าถงึ ประชาชน
หากประชาชนยงั ขาดความเข้าใจก็ ต้องสร้างปญั ญาสงั คมให้ประชาชนเข้าใจ ครูแหง่ แผน่ ดนิ เลือกจะใชว้ ิธีท่ีงา่ ย
ท่ีสุดในการส่ือสารกับประชาชน เพื่อสร้างปัญญา ทรงเลือกใช้วิธีการพูดที่จะสร้างปัญญาให้เหมาะสมกับผู้ฟัง
ในคราวหนึง่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทาน
“โคพันธุ์และสุกร” แก่ชาวไทยภูเขาในภาคเหนือ ทรงพระกรุณาสอนด้วยพระองค์ด้วยภาษาท่ีเข้าใจง่ายว่า
“ฟังให้ดี ๆ นะ จะเลย้ี งหมูให้มันอว้ นโตเร็ว ๆ ตอ้ งใหม้ ันกนิ ให้อมิ่ ”

สำ� นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40

ห ้นา 22 3. พัฒนา (Development) แนวพระราชดำ� รใิ นการพฒั นานน้ั เมอ่ื ทรงเขา้ ใจ เข้าถึง แลว้ จึงพัฒนา
น้นั ทรงมหี ลักการสำ� คญั คอื
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 3.1 เรมิ่ ต้นด้วยตนเอง (Self-initiated) แนวพระราชด�ำริในการพัฒนาทรงเน้นการพฒั นาที่
เกดิ จากประชาชนตอ้ งการจะพัฒนา ตลอดรชั สมัยในการทรงงานในบางครงั้ ประชาชนก็ไม่ไดใ้ ห้ความรว่ มมอื
กับโครงการพระราชด�ำริเช่นกัน ไม่เคยทรงฝืนบังคับประชาชนให้ร่วมมือแต่อย่างใดด้วยเหตุผลท่ีแตกต่างกัน
กลับทรงเร่มิ ตน้ โครงการพระราชด�ำรใิ หมอ่ ย่างสม�่ำเสมอจนมโี ครงการพระราชด�ำร ิ จ�ำนวน 4,810 โครงการ
และความต้องการให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างเต็มท่ี ดังที่ทรงเน้นเสมอว่าการพัฒนาน้ันต้องระเบิด
จากขา้ งในก่อน
3.2 พงึ่ พาตนเองได้ (Self-reliance) พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงเนน้ วา่ การพฒั นาตอ้ งทำ� ใหป้ ระชาชนพงึ่ พาตนเองไดท้ รงโปรดใหป้ ระชาชน
ทำ� อะไรไดด้ ว้ ยตนเอง ทรงโปรดความเรยี บงา่ ยและพง่ึ พาตนเองได้ ดงั ทไ่ี ดพ้ ระราชทานพระราชดำ� ริ “การปลกู ปา่
โดยไมต่ อ้ งปลกู ” ปลอ่ ยใหธ้ รรมชาตชิ ว่ ยในการฟน้ื ฟธู รรมชาตหิ รอื แมก้ ระทง่ั “การปลกู ปา่ 3 อยา่ ง ประโยชน ์ 4อยา่ ง”
ได้แก่ ปลูกไม้เศรษฐกิจ ไม้ผลและไม้ฟืน นอกจากได้ประโยชน์ตามประเภทของการปลูกแล้วยังช่วยสร้าง
ความชุ่มช้ืนให้แก่พ้ืนดินด้วย พระองค์จึงทรงเข้าใจธรรมชาติและมนุษย์ที่อยู่อย่างเก้ือกูลกัน ท�ำให้คน
อยู่ร่วมกับป่าไม้ได้อย่างยั่งยืน แนวพระราชด�ำริในเรื่องการพ่ึงพาตนเองได้ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ
ไมเ่ รง่ รอ้ นจะพัฒนาโดยการยัดเยียดเทคโนโลยีตา่ ง ๆ หรอื เงนิ เขา้ ไปในการพฒั นาก็สะทอ้ นออกมาอย่างชัดเจน
ในเรอ่ื งของการปลกู ปา่
3.3 ต้นแบบเผยแพร่ความรู้ (Prototype and role model) พระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงโปรดการสรา้ งตน้ แบบการเผยแพร่
ความรู้ โดยทรงตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริการท่ีทรงเลือกใช้พื้นที่ที่มีปัญหาและ
ความยากล�ำบากในการพัฒนานั้นก็เพื่อเป็นต้นแบบให้ประชาชนได้เห็นและท�ำตาม ซ่ึงหากแม้พื้นท่ีท่ีมีปัญหา
มากท่ีสดุ ก็ยงั พัฒนาใหด้ ีไดป้ ระชาชนเองกน็ ่าจะท�ำตามได้เปน็ การเรยี นร้จู ากตวั แบบ (Role model) ทีเ่ ปน็
แรงบันดาลใจการพัฒนาประชาชนและประเทศชาติ ดังนั้น การเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา จึงเป็นวิธีการแห่ง
ศาสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน และเป็นการปกครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน
ชาวสยามอยา่ งแทจ้ ริง
3.4 สืบสาน รักษา ต่อยอด (Continuing to maintain) จากพระปฐมบรมราชโองการ
ของ “พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว” เน่ืองใน
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เม่ือวันท่ี 4 พฤษภาคม 2562 ที่ผ่านมา ทรงให้ความม่นั ใจแกป่ ระชาชนชาวไทย
ถึงพระราชปณิธานและความต้ังใจอันแน่วแน่ในการทรงงานว่า โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ
แนวพระราชด�ำริต่าง ๆ ของ “พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร” รชั กาลท ี่ 9 จะไดร้ ับการสบื สาน รกั ษา และตอ่ ยอด ตอ่ ไปในรชั กาลท่ี 10 เพ่ือความเจรญิ
สงบสุข และความมน่ั คงไพบลู ย์ของประเทศไทย

สำ� นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40

การศกึ ษาในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 หนา้ 23

1. สง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนดา้ นทักษะภาษาเพ่ือการส่ือสาร ไดแ้ ก่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
และภาษาท่ีสาม เชน่ ภาษาจนี ภาษาท้องถน่ิ ทุกวันน้กี ารสร้างบรรยากาศการเรียนร้ทู ม่ี คี วามสอดคล้องกัน
ท้งั ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาที่สาม จะท�ำใหผ้ ้เู รียนใช้ภาษาไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม และเคยชิน
กับการใช้ภาษามากข้ึน มีความกล้าท่ีจะใช้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาของผู้เรียน จะช่วยให้ผู้เรียน
เรียนร้ไู ดม้ ากขึน้ ท�ำใหม้ ีโลกทัศนก์ วา้ งข้ึน
2. ใช้ STEM เข้ามามบี ทบาทในการส่งเสริมการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
การเรยี นรแู้ บบ STEM คอื การนำ� เอาศาสตรท์ ง้ั 4 ดา้ น ไดแ้ ก ่ วทิ ยาศาสตร ์ (Science) เทคโนโลย ี (Technology)
วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร ์ (Mathematics) มาบรู ณาการรวมกนั เพ่ือแก้ไขปัญหาหรอื
สรา้ งสรรคส์ งิ่ ตา่ ง ๆ ขน้ึ มาตามโจทยท์ ผี่ เู้ รยี นสนใจ ซง่ึ วธิ กี ารนจี้ ะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นรจู้ กั คดิ วเิ คราะห ์ และใชศ้ าสตรค์ วามรู้
ทง้ั 4 ดา้ น มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หไ้ ดอ้ งคค์ วามรหู้ รอื นวตั กรรมใหม ่ ซงึ่ นบั วา่ เปน็ หวั ใจหลกั ของการศกึ ษาในยคุ ไทยแลนด ์ 4.0
3. ส่งเสริมทักษะ EF ในการพัฒนาทักษะการด�ำเนินชีวิต EF (Executive Functions)
เป็นกระบวนการทางความคิดในสมองส่วนหน้า ท่ีเกี่ยวข้องกับการคิด ความรู้สึก และการกระท�ำ เช่น
การยัง้ ใจคดิ ไตรต่ รอง การควบคมุ อารมณ์ การยืดหยุ่นทางความคิด และการตงั้ เป้าหมาย รวมถึงการจดั ล�ำดับ
ความส�ำคัญของเรอื่ งตา่ ง ๆ ซ่งึ นบั วา่ เป็นทักษะทจี่ ำ� เปน็ อยา่ งมากในโลกยคุ ปจั จุบนั
4. การเรยี นรู้แบบโครงการสง่ เสรมิ กระบวนการคดิ อย่างเปน็ ระบบ การเรียนรแู้ บบโครงการ จะช่วย
ใหผ้ ู้เรียนกำ� หนดปัญหา สมมตฐิ าน ไดร้ ว่ มมือกันวางแผนและใช้ความคดิ อย่างเปน็ ระบบตามหลกั วทิ ยาศาสตร ์
ซงึ่ จะชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นเกดิ องค์ความรจู้ ากขอ้ สรุปต่าง ๆ ทเี่ กิดขึ้น และน�ำไปสกู่ ารน�ำเสนอโครงการทสี่ ร้างสรรค์
5. ใช้เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการจัดการเรียนร ู้ เน้นให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีอย่างมีวิจารณญาณ
และเกิดประโยชน ์ สง่ เสริมการเรียนรแู้ ละมงุ่ หมายให้ผเู้ รียนเกิดองคค์ วามรไู้ ดด้ ว้ ยตัวเอง
6. เน้นการก้าวสู่ข้ันของกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning กระบวนการเรียนรู้แบบ
Active Learning คอื กระบวนการเรยี นรทู้ เี่ นน้ ใหผ้ เู้ รยี น เรยี นรดู้ ว้ ยการปฏบิ ตั ิ โดยมคี รคู อยเปน็ โคช้ ใหม้ ากกวา่
จะถ่่ายทอดความรู้้�ด้้วยตััวเอง ซึ่่�งเป็็นขั้�นที่่�ทำำ�ให้้ผู้�เรีียนมีีความคงทนในความรู้�ได้้ถึึงกว่่าร้้อยเปอร์์เซ็็นต์์ เพราะ
เปน็ ขน้ั ของการเรยี นรทู้ ีผ่ ูเ้ รียนนั้นเกิดองคค์ วามรู้ไดด้ ว้ ยตวั เองจากการกระทำ� ต่าง ๆ ซึ่งองค์ความรู้ท่ีผเู้ รยี นไดน้ ้ี
จะท�ำให้ผูเ้ รยี นเกดิ การสร้างสรรค์นวตั กรรม

ส�ำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

ห ้นา 24 จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น จึงน�ำไปสู่รูปแบบการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส�ำนักงาน
เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 ด้วยรปู แบบ SPM 4.0 ดังภาพ
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0
เป้าหมายการขบั เคลอื่ นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40
ด้วยรปู แบบ SPM 4.0
เพอ่ื พัฒนาคุณภาพนักเรียนใหม้ คี ุณภาพ ใหม้ ีทกั ษะ 3R8C เปน็ ทกั ษะส�ำคญั ในศตวรรษที่ 21 ทีจ่ ะตอ้ ง
เตรียมความพรอ้ มใหน้ ักเรยี น รบั นโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 ได้แก่
Reading : สามารถอ่่านออก
(W)Riting : สามารถเขีียนได้้
(A)Rithmatic : มีีทัักษะในการคำำ�นวณ
Critical Thinking and Problem Solving : มีที ัักษะการคิิดวิิเคราะห์์ การคิดิ อย่่างมีวี ิิจารณญาน
และสามารถแก้ไขปัญหาได้
Creativity and Innovation : คิิดอย่่างสร้า้ งสรรค์แ์ ละคิดิ เชิิงนวััตกรรม
Collaboration Teamwork and Leadership : ความร่ว่ มมือื ในการทำำ�งานเป็็นทีมี และภาวะ
ความเป็นผ้นู �ำ
Communication Information and Media Literacy : ทักั ษะในการสื่�อสาร และการรู้�เท่่าทันั สื่�อ
Cross-Cultural Understanding : ความเข้า้ ใจความแตกต่า่ งของวัฒั นธรรมและกระบวนการคิิดข้้าม
วฒั นธรรม
Computing and ICT Literacy : มีที ัักษะการใช้ค้ อมพิวิ เตอร์์ และรู้�เท่า่ ทัันเทคโนโลยีี
Career and Learning Skills : มีที ักั ษะอาชีีพ และการเรียี นรู้�
Compassion : มีีความเมตตากรุณุ า มีคี ุณุ ธรรม และมีีระเบีียบวินิ ััย

สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40

กระบวนการสำ� คัญ 5 ข้ัน ในการขบั เคลอื่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา หนา้ 25
ส�ำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0

ทกุ ฝ่ายทมี่ ีส่วนเกย่ี วข้องจะดำ� เนินการตามขน้ั ตอน ดังน้ี

1 ข้ันที่ 1 เรียนรู้เขา้ ใจ คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0

เรยี นรเู้ ขา้ ใจ นโยบาย เปา้ หมายการพฒั นาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร/สำ� นกั งานคณะกรรมการ

การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน บทบาทหนา้ ที่ของแต่ละกลุ่มงาน ซง่ึ ก่อนท่จี ะวางแผนการด�ำเนนิ การทกุ สว่ นท่ี
เกย่ี วขอ้ งจำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ ใจบรบิ ท สภาพชมุ ชน สภาพปญั หา ของสำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา ตลอด
จนโรงเรยี น และนกั เรยี น มีคู่มือมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน ขน้ั ตอนการดำ� เนนิ งานของแต่ละส่วนน�ำ
ไปสู่การพฒั นา และสร้างความเข้าใจแกผ่ อู้ ื่นท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การดำ� เนินงาน

2 ขัน้ ที่ 2 ใช้พนื้ ทเี่ ป็นฐาน
3
จัดท�ำข้อมูลสารสนเทศ และน�ำมาวางแผนร่วมกัน โดยใช้ฐานข้อมูล School Based

Management : SBM และ Student Based Management : SBM มาวางแผนโครงการ
และกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือไปสู่วิสัยทัศน์ของส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40
ขน้ั ที่ 3 บูรณาการปฏบิ ตั ิ
จากการวางแผนโครงการ และกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในการปฏบิ ตั กิ าร ใชล้ กั ษณะบรู ณาการการทำ� งาน
มกี ารใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Information and Communication Technology
: ICT) ในการบริหารจัดการ เชน่ นิเทศออนไลน ์ การประชุมผ่านวิดีโอคอล มีการผสานแนวคดิ /
วิธกี ารเป็นองค์รวม ท�ำนอ้ ยได้มากตามหลักไทยแลนด์ 4.0 ส่เู ป้าหมายเดียวกนั โดยใช้หลักการ
มีสว่ นรว่ ม

4 ขน้ั ท่ี 4 จัดการสะท้อนผล
จากการดำ� เนนิ งานโครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ จะต้องมีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู ้ สะท้อน
ผลการทำ� งาน เพอื่ นำ� ส่กู ารปรบั ปรงุ การท�ำงานทีด่ ขี ้ึน เกิดเป็นองค์ความรู้ (Knowledge Manage-
ment) โดยกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC )

5 ข้ันที่ 5 กลไกย่งั ยืน

น�ำผลการด�ำเนนิ งาน การปฏบิ ตั ิ สรปุ รายงานผล น�ำเสนอในรูปแบบตา่ งๆอย่างสร้างสรรค์

และมกี ารสรา้ งระบบสนบั สนนุ เสรมิ แรง และจดั ใหม้ แี หลง่ เรยี นร ู้ เผยแพรก่ ารปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ (Best
Practice) สกู่ ารพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื

ส�ำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40

ห ้นา 26 7. การปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
สำ� นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 ดว้ ยรูปแบบ SPM 4.0

เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ท่ีก�ำหนดของทิศทางในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ในช่วงเวลาของปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งส�ำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา
เขต 40 จดั ท�ำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการปฏิบตั งิ านตามนโยบายท่รี ะบุระยะเวลาในแตล่ ะกจิ กรรม
และโครงการส�ำคัญ โดยก�ำหนดการปฏบิ ัตงิ านในการดำ� เนนิ การใหบ้ รรลผุ ลตามเปา้ หมาย ดังน้ี

กำ� หนดการปฏบิ ตั งิ านในการดำ� เนนิ งานปฏบิ ัติการขบั เคล่ือนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา สำ� นักงานเขต
พ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0 ตามข้นั ตอนการด�ำเนนิ งาน ดงั นี้
ระยะท่ี 1 ตุลาคม - พฤศจกิ ายน 2562
1. จดั ท�ำโครงการ/กจิ กรรม แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (ข้นั ท่ี 1 เรยี นร้เู ข้าใจ)
2. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
เขต 40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0 สรา้ งความเขา้ ใจในการปฏบิ ตั งิ านแก่บุคลากรในสงั กัดทกุ ระดบั (ขน้ั ที่ 1
เรยี นรเู้ ขา้ ใจ)
3. นเิ ทศ ติดตามการเตรยี มความพร้อมเปดิ ภาคเรียน 2/2562 (ข้ันที่ 2 ใชพ้ ้นื ที่เปน็ ฐาน)
4. จดั สรรงบประมาณสนบั สนนุ การขบั เคลอื่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
มัธยมศกึ ษา เขต 40 ด้วยรปู แบบ SPM 4.0 (ข้นั ท่ี 2 ใช้พื้นทเี่ ปน็ ฐาน)

ระยะท่ี 2 ธนั วาคม 2562 – มนี าคม 2563 (ขนั้ ท่ี 3 บรู ณาการปฏบิ ตั ิ)
1. ด�ำเนินการโครงการ/กิจกรรมที่ส�ำคัญ ตามจุดเน้นส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานที่
เกย่ี วขอ้ งกบั ส�ำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40 ดงั น้ี
1.1 โครงการขับเคลอ่ื นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา
เขต 40 ด้วยรปู แบบ SPM 4.0
1.2 โครงการนอ้ มนำ� พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 สู่การปฏบิ ตั ิ
1.3 โครงการส่งเสรมิ นิสยั รกั การอ่านและพฒั นาหอ้ งสมุด
1.4 โครงการพัฒั นาระบบข้้อมูลู สารสนเทศของสำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึกึ ษา (Big Data)
1.5 โครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจ�ำต�ำบล
1.6 โครงการโรงเรียนประชารฐั
1.7 โครงการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
1.8 โครงการสร้า้ งเครือื ข่า่ ยและความร่ว่ มมือื ในการจัดั การศึกึ ษาระหว่า่ ง สำำ�นักั งานคณะกรรมการ
การศึึกษาขั้้�นพื้�นฐาน กัับสำำ�นักั งานคณะกรรมการการอาชีีวศึกึ ษา และหน่่วยงานทางการศึกึ ษาอื่่�น
1.9 โครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
1.10 โครงการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา
1.11 โครงการนเิ ทศบรู ณาการโดยใชพ้ ืน้ ทเี่ ป็นฐานเพื่อการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

ระยะที่ 2 ธันวาคม 2562 – มนี าคม 2563 (ขั้นที่ 3 บรู ณาการปฏบิ ัติ) (ต่อ) หนา้ 27
1.12 โครงการส่่งเสริิมสนับั สนุนุ ระบบดูแู ลช่่วยเหลืือนักั เรียี น
1.13 โครงการขัับเคลื่�อนโรงเรีียนมาตรฐานสิ่�งแวดล้้อมศึึกษา คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
1.14 โครงการส่ง่ เสริิมคุุณธรรม จริิยธรรม และธรรมาภิบิ าลในสถานศึึกษา
2. การจดั สัมมนา เสวนา ถอดประสบการณ์การปฏิบตั ิงาน (ข้ันท่ี 4 จดั การสะท้อนผล)
3. การจัดนิทรรศการ/ประกวด/นำ� เสนอผลการปฏบิ ตั ิงานที่เปน็ เลิศ (ข้ันท่ี 5 กลไกยง่ั ยืน)
4. สรปุ รายงาน และเผยแพร่ (ขน้ั ท่ี 5 กลไกยัง่ ยืน)

สำ� นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

ส่วนท่ี 4

การนิเทศ ติดตาม และรายงานผล

หนา้ 29

การปฏบิ ตั งิ านขบั เคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0 ทส่ี ง่ ผลต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ จงึ ต้องมกี ารนิเทศ ติดตาม
และรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ซง่ึ มแี นวทางการดำ� เนนิ งาน ประกอบดว้ ย วตั ถปุ ระสงค์
ของการนิเทศ ติดตาม และรายงาน เครื่องมือการนิเทศ ติดตามการขับเคล่ือนการด�ำเนินงานการบริหาร
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กลมุ่ ผใู้ ชเ้ ครอื่ งมอื การนเิ ทศ ตดิ ตามการพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
และการสรปุ รายงานผล ดงั นี้

1. วัตถุประสงค์ของการนเิ ทศ ติดตาม และรายงานผล

1.1 เพอ่ื ตดิ ตาม กระตุน้ สนบั สนุน ส่งเสริม และรายงานผลการด�ำเนนิ งานการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ส�ำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40 ด้วยรปู แบบ SPM 4.0
1.2 เพื่อใช้กระบวนการการนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน ในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ระดบั สำ� นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ระดับสหวทิ ยาเขต ระดบั ศนู ยพ์ ัฒนาวชิ าการกลมุ่
สาระการเรียนรู้ และระดับโรงเรยี น

2. เครอ่ื งมือในการนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล

เครือ่ งมอื การนิเทศ ติดตามการขบั เคลือ่ นการด�ำเนินงานการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา สำ� นักงานเขต
พ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40 ดว้ ยรูปแบบ SPM 4.0 จำ� แนกเปน็ 3 ประเภท คือ
2.1 แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา
ของสำ� นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 40
2.2 แบบนิเทศ ติดตาม จุดเนน้ สำ� นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40
2.3 แบบสรปุ ผลการนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล เมือ่ ส้ินภาคเรยี น/ปีการศึกษา

สำ� นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

ห ้นา 30 3. ผใู้ ชเ้ ครอ่ื งมือและรายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมิน
ผลการจัดการศึกษา
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0
คณะกรรมการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40
ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 แบ่งเป็น 3 ระดบั ได้แก ่ ระดับสำ� นกั งานเขตพ้ืนที่ ระดับสหวทิ ยาเขต และระดบั
โรงเรียน

4. การนเิ ทศบูรณาการโดยใชพ้ นื้ ทเี่ ป็นฐานเพอื่ การพัฒนา
คุณภาพการศึกษา

จุดเน้นการนเิ ทศ ไดแ้ ก่
1) การพัฒนาและใชห้ ลักสูตรสถานศึกษา
2) ระบบนเิ ทศภายใน
3) การจัดการเรยี นรู้ Active Learning
4) DLIT/DLTV
5) การยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
6) การประกนั คณุ ภาพสถานศึกษา
7) การจัดการเรียนรโู้ รงเรียนในโครงการพเิ ศษ (โรงเรียนคุณภาพประจำ� ตำ� บล/โรงเรยี นประชารัฐ)
วตั ถุประสงค ์ ของแตล่ ะระดบั ดงั น้ี
ระดับเขตพืน้ ท่ี
1. เพอื่ นเิ ทศ ตดิ ตาม ใหก้ ารแนะนำ� ชว่ ยเหลอื การดำ� เนนิ งานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น
2. เพ่ือสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของทุกโรงเรียนทอ่ี ย่ใู นสงั กดั
ระดับสหวิทยาเขต
1. เพอื่ นเิ ทศ ตดิ ตาม ใหก้ ารแนะนำ� ชว่ ยเหลอื การดำ� เนนิ งานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น
ในสหวทิ ยาเขต
2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของทกุ โรงเรียนทีอ่ ยูใ่ นสหวิทยาเขต
ระดบั โรงเรียน
เพอ่ื นเิ ทศ ตดิ ตาม ใหก้ ารแนะนำ� ชว่ ยเหลอื การจดั การเรยี น การสอนของครทู กุ คนในทกุ หอ้ งเรยี น
ทส่ี ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพของนกั เรยี น ใหบ้ รรลตุ ามมาตรฐานของหลกั สตู รและมาตรฐานของการประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษา

สำ� นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40

หนา้ 31

ท่มี า: แนวทางการนิเทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทเ่ี ปน็ ฐานเพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาสู่การนิเทศภายในโรงเรียนเพ่อื พัฒนา คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
คุณภาพของผู้เรยี น “2562 ปที องแห่งการนิเทศภายใน หอ้ งเรียนเปน็ ฐาน เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพของผู้เรียน” หนา้ 14

ภาพความสำ� เร็จการนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พน้ื ที่เป็นฐาน ระดบั เขตพน้ื ท่ี
1. มแี นวทางการขบั เคลื่อนการปฏิบัติการนเิ ทศสู่โรงเรยี น
2. มีขอ้ มลู สารสนเทศของการนเิ ทศ
3. มรี ะบบและกระบวนการนเิ ทศตามบรบิ ทของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
4. มีแผนและคมู่ อื การนเิ ทศตามบริบทของเขตพน้ื ที่การศึกษา
5. มกี ารนเิ ทศโรงเรยี นทกุ โรงเรียน
6. มีการสรปุ และรายงานผลการนเิ ทศ
7. ผลการทดสอบคุณภาพผูเ้ รยี นระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา O-NET สงู ข้นึ ผูเ้ รยี นมีสมรรถนะ
และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์เปน็ ไปตามจุดเนน้ ของหลักสตู ร
8. มผี ลงานการปฏบิ ัตทิ ีด่ ขี องโรงเรยี นตามนโยบายและจุดเนน้ ของสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขน้ั พน้ื ฐาน
ภาพความส�ำเรจ็ การนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนท่เี ป็นฐาน ระดับสหวิทยาเขต
1. มีแนวทางการขับเคลอ่ื นการปฏบิ ัติการนเิ ทศสโู่ รงเรยี น
2. มีข้อมูลสารสนเทศของการนิเทศ
3. มีระบบและกระบวนการนเิ ทศตามบริบทของสหวิทยาเขต
4. มแี ผนและคมู่ อื การนเิ ทศตามบรบิ ทของสหวิทยาเขต
5. มีการนเิ ทศโรงเรยี นทุกโรงเรยี นในสหวิทยาเขต
6. มกี ารสรุปและรายงานผลการนเิ ทศ
7. ผลการทดสอบคณุ ภาพผเู้ รยี นระดบั เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา O-NET สงู ข้นึ ผเู้ รียนมีสมรรถนะ
และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์เปน็ ไปตามจดุ เน้นของหลักสูตร
8. มีผลงานการปฏบิ ตั ิท่ีดขี องโรงเรยี นตามนโยบายและจุดเนน้ ของสำ� นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา
และสำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ส�ำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40

ห ้นา 32 ภาพความสำ� เรจ็ การนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พื้นทเี่ ป็นฐาน ระดับศนู ยพ์ ฒั นาวชิ าการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
1. มีแนวทางการขบั เคลือ่ นการปฏิบัติการนิเทศสโู่ รงเรยี น
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 2. มีขอ้ มูลสารสนเทศของการนเิ ทศ
3. มีระบบและกระบวนการนเิ ทศตามบริบทของศูนยพ์ ฒั นาวชิ าการกลุม่ สาระการเรยี นรู้
4. มแี ผนและคูม่ อื การนิเทศตามบริบทของศนู ย์พัฒนาวชิ าการกลุ่มสาระการเรียนรู้
5. มกี ารนิเทศโรงเรียนทกุ โรงเรยี นในศูนยพ์ ัฒนาวิชาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
6. มกี ารสรุปและรายงานผลการนเิ ทศ
7. ผลการทดสอบคณุ ภาพผ้เู รียนระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา O-NET สูงข้นึ ผู้เรียนมสี มรรถนะ
และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์เป็นไปตามจดุ เนน้ ของหลกั สตู ร
8. มผี ลงานการปฏบิ ตั ทิ ด่ี ีของโรงเรียนตามนโยบายและจุดเนน้ ของส�ำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
และสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
ภาพความส�ำเรจ็ การนเิ ทศบูรณาการโดยใชพ้ ื้นทีเ่ ป็นฐาน ระดบั โรงเรียน
1. มีการสรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจกับบุคลากรในโรงเรียน
2. มขี อ้ มลู สารสนเทศของผู้เรียนรอบดา้ น
3. มรี ะบบนิเทศภายในตามบริบทของโรงเรียน
4. มแี ผนและคู่มือการนเิ ทศตามบรบิ ทของโรงเรยี น
5. มกี ารนิเทศครูทกุ ชนั้ เรียน
6. มีการสรปุ และรายงานผลการนิเทศ
7. ผลการทดสอบคณุ ภาพผ้เู รียนระดบั โรงเรยี น O-NET สูงข้นึ ผเู้ รยี นมสี มรรถนะและคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์เปน็ ไปตามจุดเน้นของหลักสตู ร
8. มีผลงานการปฏิบตั ิท่ดี ีของครแู ละนักเรียน

5. การสรปุ และรายงานผล

ใชแ้ บบสรปุ ผลการนิเทศ ตดิ ตาม ระยะสน้ิ ปกี ารศึกษา 2562 (มถิ ุนายน 2562 – มีนาคม 2563) โดยมี
การสรปุ และรายงานผล ดังนี้
1. ระดับโรงเรยี น ระดับศนู ยพ์ ฒั นาวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ และระดับสหวทิ ยาเขต สรปุ และ
รายงานผลการดำ� เนินงานต่อสำ� นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
2. ระดับส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สรุปและรายงานผลการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา (ก.ต.ป.น.) ของสำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 40

ส�ำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40

ส่วนท่ี 5

ปฏทิ นิ การดำ�เนนิ งานการขับเคลอ่ื นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
สำ�นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40
ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0

คู่มอื การขับเคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0 หนา้ 34

สำ� นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

บรรณานุกรม หนา้ 35

คณะสถิตปิ ระยุกต ์ (GSAS) สถาบนั บัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร ์ (NIDA). เขา้ ใจ เข้าถงึ พฒั นา : วธิ ีการ คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
ศาสตรพ์ ระราชาเพื่อการพฒั นาท่ยี ่ังยนื . (Online). http://as.nida.ac.th/gsas/article.
ส�ำนกั กรรมาธิการ 1 ส�ำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2560). รายงานคณะกรรมการขับเคลือ่ นสบื สาน
ศาสตร์พระราชา สภาขับเคล่อื นปฏิรูปประเทศ เรอื่ ง “การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชาเพ่อื
การปฏิรูปประเทศ”. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พร์ ฐั สภา.
สำ� นกั ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). มาตรฐานส�ำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา พ.ศ. 2560. กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั .
สำ� นักบริหารงานการมัธยมศกึ ษาตอนปลาย สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน. (2562). มาตรฐาน
การปฏิบตั งิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562). กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศบูรณาการ
โดยใชพ้ ้นื ท่ีเปน็ ฐานเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาสู่การนเิ ทศภายในโรงเรียนเพื่อพฒั นาคุณภาพ
ของผ้เู รยี น “2562 ปที องแห่งการนิเทศภายใน ห้องเรยี นเป็นฐาน เพื่อพฒั นาคุณภาพของผู้เรียน”
กรงุ เทพฯ : ม.ป.พ.

สำ� นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40

ภาคผนวก หนา้

ตารางวิเิ คราะห์ค์ วามสอดคล้อ้ งของนโยบาย เป้า้ ประสงค์ ์ ตัวั ชี้�วัด ของสำำ�นักั งานคณะกรรมการ 37
การศึึกษาขั้้�นพื้�นฐาน และกลยุุทธ์์ จุุดเน้้น ตััวชี้้�วััด ของสำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึึกษามััธยมศึึกษา 39
เขต 40 46
ค่่าเป้า้ หมายตัวั ชี้้�วัดั การขัับเคลื่�อนการพัฒั นาคุุณภาพการศึึกษา สำำ�นักั งานเขตพื้�นที่� 47
การศึึกษามัธั ยมศึึกษา เขต 40 ด้ว้ ยรูปู แบบ SPM 4.0 48
แนวทางการจัดั โครงสร้า้ งการบริหิ ารจัดั การเพื่�อพัฒั นาคุณุ ภาพในระดับั เขตพื้�นที่�การศึกึ ษา 49
เครือื ข่่ายส่่งเสริิมประสิิทธิภิ าพการจััดการมัธั ยมศึึกษา จัังหวััด (ปรัับปรุงุ พ.ศ. 2560) 63
มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 71
แบบประเมินการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพการศึกษาส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 73
มัธยมศึกษา เขต 40 ด้วยรปู แบบ SPM 4.0 75
แบบท่ี 1 แบบประเมินมาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา
แบบท่ี 2 แบบนิเทศ ติดตาม การปฏิบตั ิงานตามจุดเนน้ ของ สพม. 40 79
แบบที่ 3 แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม ตามจดุ เน้น สพม. 40
แบบสรุุปรายงานผลการขัับเคลื่�อนการพััฒนาคุุณภาพการศึึกษา สพม. 40 83
คำำ�สั่่�งแต่ง่ ตั้�งคณะกรรมการจัดั ทำำ�คู่่�มือื การขับั เคลื่�อนการพัฒั นาคุณุ ภาพการศึกึ ษา สำำ�นักั งาน
เขตพื้�นที่�การศึึกษามัธั ยมศึกึ ษา เขต 40 ด้้วยรููปแบบ SPM 4.0
คำำ�สั่่�งแต่่งตั้�งคณะกรรมการตรวจสอบความถููกต้อ้ ง สมบููรณ์์ และบรรณาธิกิ ารกิจิ คู่่�มือื
การขับั เคลื่�อนการพััฒนาคุณุ ภาพการศึึกษา สำำ�นักั งานเขตพื้�นที่�การศึึกษามัธั ยมศึึกษา เขต 40
ด้ว้ ยรููปแบบ SPM 4.0
คำำ�สั่่�งแต่่งตั้�งคณะกรรมการตรวจสอบความถููกต้อ้ ง สมบูรู ณ์์ และบรรณาธิิการกิิจ
คู่่�มืือการขัับเคลื่�อนการพัฒั นาคุณุ ภาพการศึึกษา สำำ�นักั งานเขตพื้�นที่�การศึึกษามััธยมศึึกษา เขต 40
ด้ว้ ยรูปู แบบ SPM 4.0 ครั้�งที่่� 2

ตารางวิเิ คราะห์์ความสอดคล้อ้ งของนโยบาย เป้า้ ประสงค์ ์ ตัวั ชี้้�วัดั ของสำำ�นัักงาน
คณะกรรมการการศึึกษาขั้้�นพื้�นฐาน และกลยุทุ ธ์ ์ จุุดเน้้น ตัวั ชี้้�วัดั
ของสำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึกึ ษามััธยมศึกึ ษา เขต 40

ห ้นา 38 ตารางวิิเคราะห์์ความสอดคล้อ้ งของนโยบาย เป้า้ ประสงค์์ ตัวั ชี้้�วัดั ของสำำ�นัักงาน
คณะกรรมการการศึึกษาขั้้�นพื้�นฐาน และกลยุุทธ์์ จุุดเน้น้ ตัวั ชี้้�วััด
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0 ของสำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึกึ ษามััธยมศึกึ ษา เขต 40
ตารางวิิเคราะห์์ความสอดคล้อ้ งของนโยบาย
เป้า้ ประสงค์์ ตัวั ชี้้�วััด ของสำำ�นัักงาน
คณะกรรมการการศึึกษาขั้้�นพื้ �นฐานและ
กลยุุทธ์ ์ จุดุ เน้้น ตััวชี้้�วัดั ของสำำ�นักั งาน
เขตพื้�นที่�การศึกึ ษามััธยมศึกึ ษา เขต 40

สำ� นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40

ค่า่ เป้้าหมายตัวั ชี้้�วัดั การขับั เคลื่�อนการพัฒั นาคุุณภาพการศึึกษา
สำำ�นักั งานเขตพื้�นที่�การศึึกษามัธั ยมศึึกษา เขต 40 ด้้วยรูปู แบบ SPM 4.0

ห ้นา 40 ค่่าเป้้าหมายตััวชี้้�วัดั การขัับเคลื่�อนการพััฒนาคุณุ ภาพการศึึกษา
สำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึึกษามัธั ยมศึกึ ษา เขต 40 ด้้วยรูปู แบบ SPM 4.0
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0
ค่่าเป้้าหมายตัวั ชี้้�วัดั การขับั เคลื่�อน
การพัฒั นาคุณุ ภาพการศึึกษา
สำำ�นัักงานเขตพื้�นที่�การศึกึ ษามััธยมศึกึ ษา
เขต 40 ด้้วยรููปแบบ SPM 4.0

สำ� นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40

หนา้ 41 คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0

�สำนักงานเขต ้พืน ่ทีการ ึศกษา ัมธยม ึศกษา เขต 40

คู่มอื การขับเคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0 หนา้ 42

สำ� นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

หนา้ 43 คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0

�สำนักงานเขต ้พืน ่ทีการ ึศกษา ัมธยม ึศกษา เขต 40

คู่มอื การขับเคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0 หนา้ 44

สำ� นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

หนา้ 45 คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0

�สำนักงานเขต ้พืน ่ทีการ ึศกษา ัมธยม ึศกษา เขต 40

ห ้นา 46 แนวทางการจัดโครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การเพ่ือพฒั นาคุณภาพ
ในระดบั เขตพน้ื ท่ีการศึกษา เครอื ข่ายส่งเสริมประสทิ ธภิ าพการจัดการ
ู่ค ืมอการขับเค ื่ลอนการ ัพฒนาคุณภาพการ ึศกษา สพม.40 ด้วยรูปแบบ SPM 4.0
มัธยมศกึ ษาจังหวดั (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

แนวทางการจัดโครงสร้างการบรหิ ารจัดการเพ่ือพฒั นา
คุณภาพในระดบั เขตพื้นท่ีการศกึ ษา เครือข่ายสง่ เสรมิ
ประสิทธภิ าพการจดั การมัธยมศกึ ษาจังหวดั
(ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

สำ� นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 หนา้ 47
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)
คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

สำ� นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40

แบบประเมินการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศกึ ษา เขต 40 ด้วยรปู แบบ SPM 4.0

แบบประเมนิ การขบั เคล่อื นพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา หนา้ 49
สำ� นกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
คู่มอื การขับเคล่อื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0
แบบที่ 1 แบบประเมนิ มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา
ค�ำชแี้ จง การประเมินมาตรฐาน
การปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา
แบบประเมินมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน

สำ� นกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40

คู่มอื การขับเคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.40 ดว้ ยรปู แบบ SPM 4.0 หนา้ 50

สำ� นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40


Click to View FlipBook Version