The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การขับเคลื่อน PLC Model

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การขับเคลื่อน PLC Model

การขับเคลื่อน PLC Model

หน้า |1

ความเปน็ มา

การศกึ ษาเปน็ กระบวนการทีส่ ำคัญอย่างย่ิงในการพฒั นาคนให้มคี ณุ ภาพ มีความสามารถที่จะ
ปรบั ตวั ไดอ้ ย่างรเู้ ท่าทนั การเปลย่ี นแปลงต่าง ๆ ทุกด้าน สามารถแก้ไขปัญหา และพฒั นาประเทศให้มคี วาม
เจริญกา้ วหน้าได้ การจดั การศึกษาจึงตอ้ งเป็นไปในแนวทางท่ีเหมาะสมกบั สภาพความต้องการทางสังคม
เศรษฐกจิ การเมอื ง และวฒั นธรรมของประเทศ ดังจะเห็นได้จากกระทรวงศึกษาธกิ ารได้กำหนดใหม้ กี าร
ปฏริ ปู การศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. 2552-2561 มนี โยบายมงุ่ เนน้ ใหค้ นไทยได้เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อย่างมี
คุณภาพ โดยมีเป้าหมายหลกั 3 ประการ คอื 1) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาและเรียนรู้ของ
คนไทย 2) เพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาและเรยี นรอู้ ย่างทวั่ ถงึ และมีคณุ ภาพ 3) สง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของทกุ
ภาคสว่ นของสังคมในการบรหิ ารและการจัดการศึกษา หลกั การและกรอบแนวคิดเน้นการปฏริ ปู ระบบ
การศกึ ษา และการเรียนรู้ พร้อมทั้งเสนอกลไกที่จะก่อให้เกดิ ผลตอ่ การพฒั นาการศึกษาอย่างเป็นระบบ
ไม่ใชส่ ่วนหนึง่ สว่ นใดของระบบ และพิจารณาระบบการศึกษาและเรยี นรู้ในฐานะท่ีเป็นส่วนหน่ึงของระบบ
การพัฒนาประเทศ ซึ่งตอ้ งเชอื่ มโยงกับการพฒั นาระบบอนื่ ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง เกษตรกรรม
สาธารณสุข การจ้างงาน เป็นต้น วิสัยทศั น์ คนไทยได้เรยี นร้ตู ลอด ชีวติ อย่างมีคุณภาพ มกี ารปฏริ ปู
การศกึ ษาและการเรยี นรู้อยา่ งเป็นระบบ โดยเน้นประเดน็ หลกั 3 ประการคือ 1) พัฒนาคณุ ภาพและ
มาตรฐานการศกึ ษาและเรยี นรูข้ องคนไทย 2) เพิม่ โอกาสทางการศึกษาและเรยี นรู้ 3) ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วม
ของทกุ ภาคสว่ น ของสังคมในการบรหิ ารและจดั การศกึ ษา ถา้ วิเคราะห์ประเด็นหลักทง้ั สามประการนี้ จะ
ส่งผลให้คนไทยยคุ ใหม่ เปน็ บคุ คลดงั นี้ 1) สามารถเรียนรูไ้ ด้ด้วยตนเอง รกั การอา่ น และมีนสิ ัยใฝเ่ รยี นรู้
ตลอดชวี ติ 2) มีความสามารถในการสอ่ื สาร สามารถคิด วเิ คราะห์ แก้ปัญหา คดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ 3) มีจิต
สาธารณะ มรี ะเบยี บวินัย เหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนรวม สามารถทำงานเปน็ กลุ่ม 4) มศี ีลธรรม คณุ ธรรม
จริยธรรม ค่านยิ ม จิตสำนกึ และความภูมใิ จในความเป็นไทย และสามารถก้าวทันโลก

การจดั การศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มงุ่ พฒั นาผู้เรียน
ใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ทงั้ 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ท่ีกำหนด เพือ่ ให้ผเู้ รยี นเกดิ
สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ คอื ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิดความสามารถในการ
แก้ปัญหาความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี มคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์
และมกี ารพัฒนาตนเองตามศกั ยภาพ พัฒนาอย่างรอบดา้ นเพือ่ ความเป็นมนษุ ย์ทีส่ มบูรณ์ท้งั รา่ งกาย
สตปิ ัญญาอารมณ์ และสังคมเสรมิ สร้างให้เปน็ ผูม้ ีศลี ธรรมจรยิ ธรรม มีระเบียบวนิ ัยปลกู ฝงั และสรา้ ง
จิตสำนึกของการทำประโยชนเ์ พอื่ สว่ นรวม

ปรากฏการทเ่ี กิดขน้ึ ในศตวรรษท่ี 21 คือ คนไทยจะตองเรยี นรเู ทคโนโลยใี หม่ เพอ่ื การกาวใหทัน
ผลติ ภัณฑท่ถี กู วางตลาด ใชหรือไม่ หรือจะมองก้าวขา้ มเทคโนโลยีใหเหลานนั้ ไป แลวพัฒนาตอยอดการสร
างผลติ ภัณฑใหมข้นึ ใชเอง คนไทยจะตองเรียนรแู ละซอื้ นวตั กรรมท่ปี ระเทศท่พี ฒั นาแลวคิดคนใหใช หรอื

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

หน้า |2

จะเปนผูคิดพฒั นานวัตกรรมทีส่ อดคลองกับบริบทของสังคม ถ่นิ ฐานของเราเองขนึ้ ใชเอง คนไทยเปนผูรบั รขู
อมลู สารสนเทศ เพ่อื สื่อสาร รวมมอื กับระดับนานาชาติ หรือเปนผูรเู ทาทนั สารสนเทศ สือ่ เทคโนโลยี นาํ
ไปใชเปนประเดน็ สาระสําคญั สรางความรวมมือ เพ่ือพัฒนานวัตกรรม และส่งิ ใหมในดานการผลิตและดาน
เศรษฐกจิ การคา คนไทยจะเปนผูเรียนรูและพฒั นาตนเองได พรอมรับการเปล่ยี นแปลง ตามทันการ
เปลี่ยนแปลงสินคาใหม ๆ
ไดเรื่อยไป หรือเปนผูรูจกั ตวั เองและพัฒนาเพ่ือเปนตวั ของตัวเอง พรอมกําหนดการเปลีย่ นแปลงและ
ออกแบบสนิ คาใหมสูตลาดไดเสมอ ซง่ึ หมายความวาคนไทยจะเปนผูซ้อื (Consumer) หรือจะเปนผูผลิต
(Producer) น่ันเอง

การจดั การเรียนการสอน และการปลูกฝงสังคมทางบานในปจจบุ ันปลูกฝงวัฒนธรรม
การรบั ในตัวเด็กไทย ในสิ่งเหลานี้ใชหรอื ไม คือ เช่ือตามท่ีไดฟง ขาดความม่ันใจในตัวเอง ไมแสวงหา
ขอมลู สารสนเทศทีเ่ ชอ่ื ถือได ขาดความกระตือรือรน ติดรปู แบบเดมิ ๆ เปนผูบริโภค ทําอะไรแคพอผาน
ไมอดทน ไมชอบทํางานหนัก ชอบทาํ งานคนเดยี ว ไมนึกถงึ สวนรวม เอาตัวรอดเกง ขาดคุณธรรม
จรยิ ธรรม ไมสนใจสนั ติวิธี และขาดอัตลักษณไทย แลวการจัดการเรียนการสอน และการปลูกฝงสังคม
ทางบานในยคุ ศตวรรษท่ี 21 จะปลกู ฝงวฒั นธรรมการสรางในตวั เด็กไทย ในสงิ่ เหลานี้ไดอยางไร คือ
รจู ักคิดวเิ คราะห มีความคิดสรางสรรคมคี วามมนั่ ใจในตนเอง แสวงหาความรู รูเทาทันสาระสนเทศใน
การสรางองคความรูดวยตนเอง คิดสรางสรรค เรียนรเู ปนผูประกอบการ และผูผลิต มงุ ความเปนเลิศ
อดทน ทาํ งานหนัก ทํางานไดเปนทีม รับผิดชอบตอสวนรวม คํานงึ ถงึ สงั คม มคี ณุ ธรรม ยดึ มั่นในสันติธรรม
และมีความเปนไทย (ไพฑรู ย สินลารัตน (2557) ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตองกาวใหพนกับดัก
ของตะวนั ตก)

การเรียนรตู องไมใชสถานการณสมมตใิ นหองเรยี น แตตองออกแบบการเรยี นรูใหไดเรียนในสภาพที่
ใกลเคยี งชีวิตจริงท่สี ุด และควรเปนบรบิ ทหรือสภาพแวดลอมในขณะเรียนรู เกิดการส่งั สมประสบการณใหม
เอามาโตแยงความเชอ่ื หรือคานยิ มเดิม ทําใหละจากความเชื่อเดมิ หันมายดึ ถือความเช่ือ หรือคานยิ มใหม ท่ี
เรียกวากระบวนทัศนใหม ทําใหเปนคนทม่ี ีความคิดเชงิ กระบวนทัศนที่ชดั เจน และเกิดการเรียนรูเชิง
กระบวนทัศนใหมได ทงั้ น้ีจาํ เปนตองมคี วามสามารถในการรบั รูขอมูลหลักฐานใหม และนํามาสงั เคราะหเป
นความรูเชงิ กระบวนทัศนใหม ขอสําคัญสาํ หรบั คนที่จะเรยี นรไู ดตองเกดิ ประเด็นคําถามอยากรูกอนจึงจะ
อยากเรยี น ไมใชครูอยากสอนเพยี งฝายเดียวแตนกั เรียนยงั ไมมปี ระเด็นท่ีไมอยากรู ดังนน้ั การออกแบบการ
สถานการณการเรยี นรูจงึ ควรใชบริบทสภาพแวดลอมท่นี ักเรยี นคุนเคยและรูจัก ซงึ่ ก็คือสภาพของครอบครวั
ชุมชน และทองถน่ิ ของนักเรียนนั่นเอง สงิ่ ท่ไี ดจาก
คาํ ถามอยากรูของนักเรียนจะทาํ ใหครูเห็นความแตกตางของพ้ืนฐานความรูและพ้ืนฐานประสบการณเดิม
ของนักเรียนไดเปนรายบคุ คล

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

หน้า |3

กรอบความคดิ เพ่ือการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 มเี ปาหมายไปที่ผูเรยี น เกดิ คุณลักษณะ
ในศตวรรษที่ 21 โดยผูเรียนจะใชความรูในสาระหลักไปบรู ณาการส่ังสมประสบการณกบั ทกั ษะ 3 ทักษะ
เพื่อการดาํ รงชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 คอื ทกั ษะดานการเรยี นรแู ละนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สอื่ และ
เทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชพี ซ่ึงการจดั การศึกษาจะใชระบบสงเสรมิ การเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21
หาระบบ คือ ระบบมาตรฐานการเรยี นรู ระบบการประเมินผลทักษะการเรียนรู ระบบหลักสูตรและ
วธิ กี ารสอน ระบบการพฒั นางานอาชพี และระบบแหลงเรียนรูและบรรยากาศการเรียนรู้

โรงเรียนวงั โป่งพทิ ยาคม จัดให้มกี ารเรียนการสอน 2 ช่วงชั้น โดยเปดิ สอนนักเรยี นระดับชน้ั
มธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 1 ถึงชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 มีนกั เรยี นจำนวน 282 คน

โรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคมประสบปญั หาสำคัญ 3 ประการ ซ่ึงสง่ ผลทำให้โรงเรยี นไมส่ ามารถจดั การ
เรยี นการสอนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพตามเป้าประสงคห์ ลกั ได้ ดงั นี้

1. ปญั หาความยากจนขาดแคลนทนุ การศกึ ษา ปัญหานกั เรียนไปเกีย่ วข้องกับยาเสพติด ปญั หา
นกั เรยี นมีพฤติกรรมเสย่ี ง และการเลอื กทำงานหลังจบการศกึ ษาภาคบงั คับ สง่ ผลทำนกั เรียน
ใหอ้ อกกลางคันเพิ่มมากข้นึ

2. เนอื่ งจากโรงเรียนไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษาจากรัฐบาลโดยคดิ
เปน็ รายหัวนักเรยี น ซึง่ การจดั สรรงบประมาณในลกั ษณะดงั กลา่ วส่งผลให้โรงเรียนวงั โปง่ พิทยา
คมซึ่งมจี ำนวนนักเรียนน้อย ได้รบั งบประมาณท่นี อ้ ยลง สง่ ผลให้โรงเรียนวงั โป่งพิทยาคมขาด
ทง้ั อปุ กรณ์ เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา ทำใหป้ ระสิทธิภาพในการเรยี นการสอนลดลง

3. ปัญหาการขาดแคลนครูทม่ี ีความเชี่ยวชาญทางดา้ นวิชาชพี และการขาดแคลนครจู ากการย้าย
ซง่ึ สง่ ผลใหก้ ารจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคมขาดความตอ่ เน่ืองและมีประสิทธิภาพ
ลดลง

จากสภาพปญั หาดังกล่าว โรงเรียนวังโปง่ พทิ ยาคมจงึ ได้ดำเนนิ การศึกษาสาเหตุของปญั หาเพื่อเป็น
ข้อมลู พืน้ ฐาน เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา หรอื กำหนดแนวทางในการปรับปรงุ การบรหิ ารจัดการโรงเรยี น
เพ่ือใหน้ ักเรยี น ครู บุคลาการทางการศึกษา และผู้บรหิ าร บรรลุสู่เป้าประสงคอ์ ย่างมปี ระสิทธภิ าพและ
เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกับการขับเคลอื่ นการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.40 โดยโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคมมแี นว
ทางการขบั เคล่ือนการจัดการศึกษาด้วย PLC Model

โรงเรียนวงั โป่งพทิ ยาคม

หน้า |4

เปา้ ประสงค์

1. เพ่อื เสรมิ สร้างองค์ความรพู้ ื้นฐาน อนั จำเป็นในการดำรงชวี ติ ใหผ้ ู้เรียน คิดเปน็ ทำเปน็ มีทกั ษะในการ
วิเคราะห์ แก้ปญั หาดว้ ยตนเอง นำไปประยุกต์ใชไ้ ด้จรงิ

2. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนรกั การแสวงหาความรู้ พัฒนาการเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ
3. เพื่อพฒั นาผู้เรยี นทางดา้ นร่างกาย จิตใจ สังคม ศีลธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนมีความเจรญิ งอกงามทาง

คุณธรรม ประพฤติตนตามกรอบอันดงี าม มีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม
4. เพ่ือส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการสื่อสาร แสดงออกอย่างเหมาะสม มีพฤตกิ รรมทางสงั คมที่

อยรู่ ว่ มกบั สงั คมอยา่ งสันติภายใต้ระบอบประชาธิปไตยตระหนกั ถงึ บทบาทและหน้าที่ของตนเอง รู้จัก
และเคารพสถาบัน รวมทง้ั เหน็ คณุ ค่าของทรพั ยากร และส่ิงแวดล้อม
5. เพ่อื พัฒนาผู้เรียนให้มีความรคู้ วามสามารถทางการใช้เทคโนโลยี ในการแสวงหาความรู้ การนำไป
ประยุกต์ใช้ เพอื่ ใหร้ เู้ ทา่ ทันความเจริญก้าวหนา้ ทางวิทยาการสมยั ใหมแ่ ละการเปลย่ี นแปลงของโลกยุค
ใหม่
6. เพื่อให้โรงเรียน กรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง ชุมชน องค์กรและหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง มกี ารทำงาน
ร่วมกัน โดยผา่ นกระบวนการทำงานที่ชดั เจน มีร่องรอยหลกั ฐานการปฏบิ ตั งิ าน สามารถตรวจสอบและ
ประเมินผลได้

กลยทุ ธ์

1. กลยุทธท์ ี่ ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
2. กลยุทธ์ท่ี ๒ ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนและมุ่งความเปน็ เลิศทางวชิ าการ
3. กลยทุ ธท์ ี่ ๓ สร้างโอกาสและลดความเหลอ่ื มล้ำทางการศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพ
4. กลยทุ ธ์ท่ี ๔ พฒั นาคุณภาพครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
5. กลยทุ ธ์ท่ี ๕ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการเพ่อื ความตอ่ เนอื่ ง

โรงเรียนวงั โป่งพทิ ยาคม

หน้า |5

จุดเน้น โรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม

1. ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) เพิ่มขึน้
2. นักเรียนมีความคิดริเรมิ สร้างสรรค์นวตั กรรม
3. นักเรยี นมีจิตอาสา สำนึกในความเปน็ ไทย และอยอู่ ยา่ งพอเพียง
4. นกั เรียนสามารถคน้ พบตนเอง มที กั ษะพื้นฐานอาชีพ และการมงี านทำ
5. ครมู กี ารจัดการเรยี นรูด้ ว้ ย Active Learning
6. 1 ครู 1 นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้
7. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการพฒั นางาน
8. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีความเชยี่ วชาญตามสมรรถนะ มาตรฐาน และจรรยาบรรณในวชิ าชีพ
9. ขับเคลื่อนคณุ ภาพการศึกษาด้วยเครือข่ายความร่วมมือการบริหารจดั การศกึ ษา
10. มรี ะบบประกนั คณภาพท่เี ขม้ แข็ง
11. บรหิ ารจัดการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตวั ชว้ี ัด

1. ร้อยละ 100 ของนกั เรยี นท่มี พี ฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถึงคา่ นิยม 12 ประการในระดับ ดี
2. รอ้ ยละ 100 ของนกั เรียนทีม่ คี วามต้องการจำเป็นพิเศษ กลุ่มชาตพิ ันธ์ุ กลมุ่ ผู้ดว้ ยโอกาสและกลุ่มที่

อยพู่ ืน้ ทห่ี า่ งไกลทรุ กนั ดารได้รับการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ อย่างท่ัวถึง เท่าเทียม
3. รอ้ ยละ 100 ของนกั เรียนท่ีมสี ขุ ภาวะทดี่ ีทกุ ชว่ งวยั
4. ร้อยละ 100 ของนกั เรยี นท่ีมีนสิ ยั รักการอ่าน
5. ร้อยละ 80 ของนกั เรียนมที กั ษะการคิดวเิ คราะห์ คิดริเร่มิ สร้างสรรคน์ วตั กรรม
6. ร้อยละ 80 ของนกั เรยี นท่ผี ่านการประเมินสมรรถนะทีจ่ ำเป็นดา้ นการรเู้ รอ่ื งการอา่ น (Reading

Literacy) การรเู้ ร่อื งคณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy) การร้เู ร่ืองวทิ ยาศาสตร์ (Scientific
Literacy) ในระดบั 2
7. รอ้ ยละ 80 ของนกั เรยี นทีม่ ที กั ษะสอ่ื สารอังกฤษ ระดับดขี ึน้ ไป
8. รอ้ ยละ 80 ของนกั เรียนท่มี ที กั ษะดา้ น Digital Literacy ในการเรียนรไู้ ดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
9. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) เพ่ิมขน้ึ จากปีการศกึ ษาท่ีผา่ นมา
10. รอ้ ยละ 100 ของนักเรยี นมี Portfolio เพ่ือการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชพี
11. รอ้ ยละ 100 ของนกั เรียนมคี วามรู้ เขา้ ใจ และมีความพรอ้ มสามารถรับมือกับภยั คุกคามทกุ รูปแบบ
ท่มี ผี ลกระทบตอ่ ความมนั่ คง

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

หน้า |6
12. รอ้ ยละ 100 ครูมพี ัฒนาความรู้ ความสามารถตามสมรรถนะและมาตรฐานวชิ าชีพ
13. รอ้ ยละ 100 ครูมีจรรยาบรรณในวชิ าชีพครูและจิตวญิ ญาณความเป็นครู
14. รอ้ ยละ 100 ครจู ัดการเรยี นด้วย Active Learning
15. รอ้ ยละ 100 ครูจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยี และนวตั กรรม
16. ร้อยละ 100 บคุ ลากรทางการศึกษามีสมรรถนะในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหนง่ อยา่ งมี

ประสิทธิภาพ
17. โรงเรยี นมกี ารพฒั นา ปรับปรุง และบรหิ ารหลกั สูตรสอดคล้องตามความตอ้ งการของผเู้ รียน และ

บรบิ ทอย่างมีประสทิ ธิภาพ
18. โรงเรียนบริหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
19. โรงเรยี นผา่ นการประเมินโรงเรียนดไี ม่มอี บายมุข
20. โรงเรยี นผา่ นการประเมินโรงเรยี นปลอดเหลา้ -บุหรอ่ี ยา่ งยงั่ ยนื
21. โรงเรยี นผ่านการประเมินโรงเรยี นปลอดบหุ รต่ี ้นแบบ
22. โรงเรยี นมนี วตั กรรมการบริหารจัดการ
23. โรงเรียนมีเครือขา่ ยความรว่ มมอื ในการบรหิ ารจัดการ
24. รอ้ ยละ 100 ของผู้รบั บริการมีความพึงพอใจตอ่ โรงเรยี นวงั โป่งพิทยาคม

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

หน้า |7

รูปแบบการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
โรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม ดว้ ยรูปแบบ PLC Model

หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

จากแผนยทุ ธศาสตร์ชาติการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน “ประเทศมีความมั่นคง ม่งั คงั่ ยั่งยนื เปน็ ประเทศ
พฒั นาแลว้ ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศักราช 2560 หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรฐั มาตรา 65 รัฐพงึ จัดใหม้ ียทุ ธศาสตร์ชาตเิ ป็นเปา้ หมายการ
พฒั นาประเทศอยา่ งยง่ั ยืน ตามหลักธรรมมาธบิ าลเพ่อื ใช้เปน็ กรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคลอ้ ง
และบูรณาการกันเพอ่ื ให้เกดิ เปน็ พลังผลักดนั รว่ มกันไปส่เู ปา้ หมายดงั กล่าว การจดั ทำการกำหนดเป้าหมาย
ระยะเวลาทจี่ ะบรรลุเปา้ หมาย และสาระท่ีพึงมีในยุทธศาสตรช์ าติใหเ้ ป็นไป ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่ี
กฎหมายบญั ญตั ทิ ้ังนี้กฎหมายดงั กลา่ วตอ้ งมบี ทบัญญัติเกี่ยวกับการมสี ่วนร่วม และการรบั ฟงั ความคิดเห็น
ของประชาชนทุกภาคสว่ นอย่างท่วั ถงึ ดว้ ยยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ทั้ง 6 ดา้ น ประกอบดว้ ย
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นความมัน่ คง เพื่อสร้างประเทศ ให้เปน็ ไปตามวสิ ยั ทัศน์ของประเทศ ด้วยการสร้างคน
ไทยในอนาคต มคี วามพรอ้ มทงั้ รา่ งกาย สติปัญญา มที กั ษะในการวิเคราะหอ์ ยา่ งมีเหตุผล มกี ารเรียนรตู้ ลอด
ชวี ติ มภี ูมคิ ุ้มกันตอ่ การเปล่ยี นแปลงมจี ิตสำนกึ วฒั นธรรมทด่ี งี ามรคู้ ุณค่าความเป็นไทยและมคี วาม
รับผดิ ชอบ เปน็ รากฐานทม่ี ั่นคงของชมุ ชนสงั คมรักชาติและสถาบันพระมหากษตั ริยอ์ ันกอ่ ใหเ้ กดิ สังคมไทยท่ี
เปน็ ธรรม มีความเหล่ยี มล้ำน้อย อัตราความยากจนต่ำ มกี ารกระจายโอกาสการเขา้ ถึงทรพั ยากร การสร้าง
อาชีพ บริการทางสังคมที่มีคุณภาพ และกระบวนการยตุ ิธรรมอยา่ งท่วั ถงึ ไม่คอรัปชั่น โดยที่ประชาชนทุก
ชว่ งวยั มีคุณภาพชีวิตทีด่ ี ครอบครวั อยูด่ มี สี ุข ประชาชนคนไทยและเกษตรกรสามารถพงึ่ พาตนเองทางดา้ น
อาหาร มหี ลักประกนั ความมน่ั คงดา้ นอาชพี และมคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี

โรงเรียนวงั โป่งพทิ ยาคม

หน้า |8

ท่ีมา : https://f.ptcdn.info/001/054/000/oxcer32aasq0dnadosC-o.jpg
จากแนวคิดข้างต้น จงึ นำรูปแบบตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเปน็ พืน้ ฐานในการ
ขบั เคลอ่ื นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนวงั โปง่ พิทยาคม ดว้ ยรูปแบบ PLC Model

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

หน้า |9

ชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community)

ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการสรา้ ง
การเปลย่ี นแปลงโดยเรยี นรู้จากการปฏิบัตงิ านของกลมุ่ บคุ คลท่ีมารวมตัวกันเพอื่ ทำงานร่วมกนั และ
สนับสนุนซ่ึงกันและกนั โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือพัฒนาการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น ร่วมกนั วางเปา้ หมายการเรียนรู้
ของผู้เรยี น และตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏบิ ตั ิงานท้งั ในส่วนบุคคลและผลท่ีเกิดขนึ้ โดยรวมผ่าน
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวพิ ากษ์วจิ ารณ์ การทำงานร่วมกนั การร่วมมอื รวมพลงั โดยม่งุ เน้นและ
สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรู้อยา่ งเปน็ องคร์ วม โดยมกี ารดำเนนิ การอยา่ งน้อย 5 ประการ ดงั น้ี

1. มีเป้าหมายร่วมกันในการจดั การเรียนรู้/การพฒั นาผู้เรียนให้พัฒนาอยา่ งเต็มศกั ยภาพ
2. มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นร้จู ากหน้างาน/สถานการณ์จรงิ ของชน้ั เรยี น
3. ฝ่ายเก่ยี วข้องร่วมเรยี นรู้และรวมพลัง/หนนุ เสริมใหเ้ กิดการสรา้ งความเปลยี่ นแปลงตามเป้าหมาย
4. การวิพากย์ สะทอ้ นผลการทำงานพัฒนาผ้เู รยี น
5. มีการสรา้ ง HOPE อันประกอบ ด้วย

“HOPE”
H : Honesty : มีคุณธรรม
O : Ownership : รับผิดชอบร่วมกนั
P : Prompt to change : พร้อมรบั การเปล่ียนแปลง
E :Establish : สรา้ งสรรค์

ที่มา : http://www.ben.ac.th/main/content/download/1/PLC.pdf

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 10
จากแนวคดิ ขา้ งตน้ ได้นำกระบวนการของชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning
Community) มาเป็นกระบวนการในการขับเคลอื่ น บุคลากร และภาคีเครือขา่ ย ในการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาโรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม ด้วยรูปแบบ PLC Model

การเรียนรู้ตลอดชีวติ (Life Long Learning)

การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต เปน็ การเรยี นรู้ท่ตี อบสนองสภาพการเปลยี่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ท่ี
เปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ ทำให้รูปแบบการดำรงชวี ติ ของมวลมนุษยชาติ ต้องแปรเปลี่ยนไปจากเดมิ คอื ต้องทำ
ความเขา้ ใจกบั เร่ืองราวทีเ่ กีย่ วข้องกับผูอ้ ื่น ท่มี ีความคิด ความเชอ่ื ค่านิยมทางจิตใจ พฤตกิ รรม วฒั นธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณีทีแ่ ตกตา่ งกัน ตอ้ งเรียนการอยรู่ ว่ มกันท่ามกลางความแตกต่างอย่างสันตวิ ธิ ี มีความ
รักใครปองดอง รูจ้ ักการแบง่ ปันรวมทง้ั การวิเคราะหค์ วามเสยี่ งในอนาคตของสังคมโลกร่วมกัน การเรียนรู้
ตลอดชวี ติ (Life Long Learning) เปน็ การเรียนรู้ที่เชอ่ื มตอ่ กบั การศกึ ษาขนึ้ พืน้ ฐาน (Basic education)
(ธีรเดช ช่นื ประภานุสรณ์, 2555)

โรงเรียนวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 11

การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เปน็ การเรียนทางเลือกทมี่ ุง่ เน้นคุณภาพตอ่ จากการเรยี นรพู้ ืน้ ฐาน เป็นรากฐาน
ของการเรียนรู้สู่ศตวรรษท่ี 21 ซงึ่ ถอื เปน็ กระบวนการท่ีต่อเน่อื งจากการสร้างมนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์ทัง้ ด้านความรู้
ความถนัด และความสามารถในการคดิ และการปฏบิ ตั ิ ดว้ ยการพัฒนาให้เกดิ “สงั คมแห่งการเรียนร”ู้
(ฌาคส์ เดอ ลอรส์ และ คณะ,2539:9) เพ่อื ถา่ ยทอดความร้แู ละววิ ัฒนาการต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ ตลอดเวลา
รวมทงั้ ให้เกิดการปรบั วิธีการดำเนนิ งานใหเ้ กดิ ความสอดคลอ้ งกับยคุ สมัยของการใฝร่ ู้ ดงั น้ี

1. การเรียนเพื่อรู้ (Learning to Know)
เปน็ การเรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้ ที่ทำให้ผ้เู รียนรเู้ กดิ ความพึงพอใจทีไ่ ดเ้ ข้าใจ ไดร้ ู้ และได้
คน้ พบสิ่งตา่ ง ๆ ทงั้ ในสว่ นท่เี ป็นวธิ กี ารเรียนรู้ และการบรรลุเปา้ หมายในการเรยี นรู้ ชว่ ยทำให้
เกิดความเข้าใจในส่ิงแวดล้อมรอบตัวที่เพียงพอตอ่ การดำรงชวี ติ อยา่ งมีศกั ด์ิศรี สามารถ
ประกอบอาชีพได้

2. การเรียนเพอ่ื การปฏบิ ัติ (Learning to Do)
เปน็ การเรียนท่เี น้นการปฏิบตั ิ เนน้ การพฒั นาทักษะ พัฒนาสมรรถนะ และศกั ยภาพตนเอง
การใชค้ วามสามารถในการเผชญิ สถานการณเ์ รยี นรู้ผ่านการปฏิบัติการในบรบิ ทต่าง ๆ การฝึก
ประสบการณ์ และการสร้างทางเลือกในการเรียนร้ทู ัง้ ในและนอกระบบ

3. การเรียนเพ่ือทีจ่ ะอย่รู ่วมกัน (Learning to Be)
เปน็ การพฒั นาทกั ษะชีวติ อย่างเปน็ องคร์ วม และการปรับตวั อยูใ่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข การ
เรียนรูท้ ีจ่ ะอยรู่ ว่ มกนั และพฒั นาความเข้าใจในผู้อนื่ และมีวิธใี นการแก้ปัญหาอย่างสนั ติ

4. การเรยี นรเู้ พอ่ื ชีวิต (Learning to Live Together)
เป็นการเรียนรู้ที่มงุ่ สรา้ งใหน้ ักเรยี นมีความอิสระทางด้านความคดิ รู้จกั การตัดสนิ ใจ มีความ
รับผดิ ชอบ และมีความมุ่งม่นั อย่างแรงกลา้ ต่อการทจ่ี ะบรรลุเปา้ หมาย

5. การเรียนรู้ท่จี ะเปล่ียนแปลง (Learning to Change)
พฒั นาศักยภาพทางความคดิ การตัดสินใจ และการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง

6. การเรยี นรเู้ พื่อความย่ังยนื (Learning for Sustainable)
สามารถประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อตนเองและผ้อู น่ื ได้
อยา่ งสอดคลอ้ งและเหมาะสม

ในการพฒั นานักเรียนให้การเรียนรู้ตลอดชวี ิตเพ่ือตอบสนองสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลกใน
ศตวรรษท่ี 21 น้ัน จะมกี ระบวนการพฒั นานักเรยี นให้มีทกั ษะทสี่ ำคญั ในการใชช้ ีวติ และทำงานในศตวรรษที่
21 ไดแ้ ก่ ทกั ษะการเรยี นร้แู ละนวตั กรรม ทกั ษะสารสนเทศ สอ่ื เทคโนโลยี ทักษะชวี ิตและอาชีพ ดังรปู

โรงเรียนวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 12
ทม่ี า : http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/262

ท่มี า : http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/262

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 13

ทมี่ า : http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/262
จากแนวคิดการเรียนรูต้ ลอดชีวิต (Life Long Learning) เป็นการเรยี นทีม่ งุ่ เนน้ คณุ ภาพต่อจากการ
เรียนรูพ้ ้ืนฐาน ซึง่ เป็นรากฐานของการเรียนรู้สูศ่ ตวรรษท่ี 21 ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวงั
โปง่ พิทยาคม ดว้ ยรูปแบบ PLC Model

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 14

ระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน (Care and support system for students)

เพื่อใหก้ ารขบั เคล่ือนการพัฒนาคุณภาพนกั เรยี นให้มีทกั ษะ 3R8C เป็นทกั ษะสำคัญในศตวรรษที่
21 สง่ิ ที่ต้องเตรยี มพรอ้ ม คอื การดำเนนิ งานตามระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น ตามข้นั ตอนของระบบดูแล
ชว่ ยเหลือนักเรียน 5 ขน้ั ไดแ้ ก่

ขั้นท่ี 1 การรจู้ ักนกั เรียนรายบคุ คล
o สรุปการออกเย่ยี มบ้านนักเรียน และจากระเบยี บสะสม

ขน้ั ท่ี 2 การคัดกรองนกั เรยี น
o สรุปแบบคัดกรองนักเรียนทั้งชน้ั เรยี น

ขั้นที่ 3 การส่งเสริมพัฒนา
o สรุปผลการส่งเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพนกั เรียน ตามความสนใจ ความถนัดและ
ความสามารถ
o ผลการสง่ เสริมและพัฒนาศกั ยภาพนกั เรียนตามความสนใจ ความถนัดและ
ความสามารถ
o ตารางการวางแผนการจัดกิจกรรมโฮมรมู ประจำวิชา

ขัน้ ท่ี 4 การป้องกนั และแก้ไขปญั หา
o สรุปผลการป้องกนั และการแกไ้ ขปัญหา

ขั้นที่ 5 การส่งต่อภายในและภายนอก
o สรปุ การสง่ ตอ่ ภายในและภายนอก

จากแนวคิดขา้ งต้น โรงเรียนวังโป่งพิทยาคมจึงไดน้ ำกระบวนการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นมาช่วยใน
การพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม ดว้ ยรปู แบบ PLC Model

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 15

เปา้ หมายการขับเคลือ่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
ของโรงเรียนวงั โป่งพทิ ยาคม ดว้ ยรูปแบบ PLC Model

นักเรยี นคณุ ภาพ

เปา้ หมายการขับเคลอ่ื นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม ด้วยรูปแบบ PLC
Model เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ใหม้ ีทกั ษะ 3R8C ซง่ึ เปน็ ทกั ษะสำคญั ในศตวรรษท่ี 21 ทีจ่ ะต้องเตรยี ม
ความพรอ้ มให้นกั เรียนรบั นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ได้แก่

o Reading : สามารถอา่ นออก
o (W)Riting : สามารถเขียนได้
o (A)Rithmatic : มีทักษะในการคำนวณ
o Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดอย่างมี

วจิ ารณญาณ และแกไ้ ขปญั หาได้
o Creativity and Innovation : คิดอย่างสรา้ งสรรค์ คดิ เชงิ นวัตกรรม
o Collaboration Teamwork and Leadership : ความรว่ มมอื การทำงานเป็นทีม และภาวะ

ผ้นู ำ
o Communication Information and Media Literacy : ทักษะในการสอื่ สาร และการร้เู ท่า

ทันสอ่ื
o Cross-cultural Understanding : ความเขา้ ใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม กระบวนการคิด

ขา้ มวฒั นธรรม
o Computing and ICT Literacy : ทักษะการใช้คอมพวิ เตอร์ และการรูเ้ ท่าทนั เทคโนโลยี
o Career and Learning Skills : ทกั ษะทางอาชพี และการเรียนรู้
o Compassion : มคี ุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบยี บวนิ ยั

โรงเรียนวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 16

ครูคุณภาพ

เป้าหมายการขับเคลอื่ นการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม ดว้ ยรูปแบบ PLC
Model เพือ่ พฒั นาคุณภาพครูในศตวรรษท่ี 21 ดังนี้

1. สรา้ งและบรู ณาการความร้ไู ด้ ครูจะตอ้ งสามารถบูรณาการความรตู้ ่าง ๆ ท่มี ี มาใชใ้ นการ
สร้างสรรค์และพฒั นาองคค์ วามรู้ใหม่ๆ

2. มคี วามคิดวเิ คราะห์และสร้างสรรค์ ครจู ะต้องสอนใหเ้ ด็กมที ักษะกระบวนการคิด โดยสามารถ
คดิ วิเคราะห์ในเรื่องต่าง ๆ และมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ท่ีเป็นประโยชน์

3. มีวสิ ยั ทศั นแ์ ละตกผลึกทางความคดิ เพอ่ื แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้เรยี น ครูจะตอ้ งเป็นคนมี
วิสัยทัศน์ เนน้ ให้เด็กเกดิ การเรยี นรู้ โดยการสง่ เสรมิ การเรียนรู้แบบผเู้ รียนเป็นสำคัญ เพ่อื ใหเ้ ดก็ ตกผลกึ ทาง
ความคดิ ได้ดว้ ยตวั เอง และมโี อกาสแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ระหวา่ งกัน

4. ครตู ้องรู้และเขา้ ใจเทคโนโลยใี หม่ มีทกั ษะใหม่ๆ พรอ้ มท้งั ช้แี นะข้อดขี อ้ เสยี ให้ผเู้ รยี นได้ ครู
จะตอ้ งสามารถใช้เทคโนโลยีสง่ เสรมิ การศกึ ษาไดห้ ลากหลาย และสามารถชใ้ี หเ้ ด็กเหน็ ถงึ ขอ้ ดขี ้อเสีย และ
การใช้เทคโนโลยตี า่ ง ๆ อย่างเหมาะสม

5. มีทกั ษะการสอนเด็กใหเ้ ติบโตเต็มศกั ยภาพและสรา้ งผลงานใหมๆ่ ครจู ะต้องสง่ เสริมการเรียนรู้
ใหเ้ ด็กตามวยั และใหเ้ ด็กพฒั นาอย่างเต็มท่ีตามศกั ยภาพของเด็กและเนน้ ให้เดก็ เปลีย่ นจากเป็นผู้รับ
กลายเปน็ ผู้พฒั นาและสรา้ งสรรค์ส่งิ ใหม่

6. ตอ้ งเขม้ แข็งในจรรยาบรรณ คุณธรรม จรยิ ธรรม และชกั ชวนให้คนอนื่ ๆ ทำเพือ่ สังคม ครู
จะตอ้ งยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพ รักษาคุณธรรมจรยิ ธรรมและเปน็ บคุ คลหนึง่ ในสังคมที่ชว่ ยให้สมาชกิ ใน
สังคมนน้ั ๆ มีแนวทางในการปฏิบตั ิตนต่อตนเองแปละสงั คมทเี่ หมาะสม

7. มีบทบาทนำด้านการสอนและวชิ าชพี พฒั นาคุณภาพของโรงเรยี นและในวชิ าชพี รว่ มกบั ผูบ้ ริหาร
มากข้นึ ครูจะต้องมีบทบาทต่อการส่งเสรมิ พฒั นา และประเมินผลการเรยี นร้แู ละวิชาชพี ในโรงเรียนรว่ มกับ
บคุ ลากร ผ้บู ริหารและชมุ ชน

โรงเรียนคุณภาพ

เปา้ หมายการขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม ดว้ ยรูปแบบ
PLC Model เพื่อพฒั นาคณุ ภาพโรงเรียนให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขึน้ พนื้ ฐาน
พ.ศ. 2561 มาตรฐานการปฏิบัติงานในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) มาตราฐาน
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาระดับข้ันพื้นฐานและมีความเปน็ เลศิ สู่สากลโดยมีรปู แบบการบรหิ าร
สถานศกึ ษาท่ีดี ในการขบั เคลอื่ นคณุ ภาพด้านการบรหิ ารและการจัดการ มกี ระบวนการจดั การเรียนรู้ที่เน้น
ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญเปน็ แบบอย่างท่ีดี สง่ ผลไปสเู่ ปา้ หมายคณุ ภาพนกั เรียนทั้งดา้ นวชิ าการคณุ ลกั ษณะสำคญั ใน
ศตวรรษที่ 21 (3R8C) ตลอดจนคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 17

รูปแบบ PLC Model

จากการศึกษาและคน้ คว้าเกย่ี วกับการพัฒนาคณุ ภาพของนักเรียน ครู ผู้บรหิ าร และโรงเรียนวงั
พทิ ยาคม การสงั เคราะห์รปู แบบการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม ดว้ ยรูปแบบ PLC
Model มดี ังน้ี

PLC : ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community) เป็นการรว่ มมือ รว่ มใจกนั ของ
ครู ผ้บู รหิ ารโรงเรยี น และหนว่ ยงานการศึกษาทเี่ กย่ี วข้อง เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพของโรงเรียนใหเ้ ปน็ ชุมชนแห่ง
การเรียนรู้
P : Professional Learning Community คือ ผู้บริหารโรงเรยี น ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา และ
หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง รว่ มมอื รว่ มใจกันเรียนรู้ทางวชิ าชีพการศกึ ษา เพอื่ มงุ่ พฒั นาคณุ ภาพนกั เรียน ผ่าน
กระบวนการทำงานอย่างมืออาชีพ ตอ่ เนอ่ื งจนเกดิ เป็นวัฒนธรรมหรอื ชมุ ชนของการแลกเปล่ยี นเรยี นรซู้ งึ่ กนั
และกนั นำไปสู่ ผบู้ ริหารคุณภาพ ครูคณุ ภาพ และหนว่ ยงานคุณภาพ
L : Life Long Learning (6L) การสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชวี ติ เป็นการเรยี นท่มี ุ่งเน้น
คุณภาพตอ่ จากการเรยี นร้พู น้ื ฐาน ซึ่งเปน็ รากฐานของการเรยี นรสู้ ู่ศตวรรษท่ี 21 เพอื่ พฒั นาคุณภาพนักเรยี น
ให้มีคณุ ภาพ ใหม้ ีทกั ษะ 3R8C
C : Care and support system for students การส่งเสริม พัฒนา ปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหา เพ่อื ให้
นกั เรียนไดพ้ ฒั นาเตม็ ศักยภาพ มคี ุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ มภี ูมคิ ุ้มกันทางจติ ใจที่เข้มแข็ง คณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี
มีทกั ษะการดำรงชวี ติ และรอดพ้นจากวกิ ฤติทงั้ ปวง

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 18

กระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
ของโรงเรยี นวังโปง่ พทิ ยาคม ด้วยรูปแบบ PLC Model

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

ห น ้ า | 19

การปฏบิ ัติการขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
ของโรงเรียนวังโป่งพทิ ยาคม ด้วยรูปแบบ PLC Model

เพือ่ ใหก้ ารพฒั นาคุณภาพการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ทีก่ ำหนดของทิศทางในการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาข้นั พื้นฐาน ในช่วงเวลาของปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งทางโรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม จดั ทำ
แผนปฏบิ ตั กิ าร และการปฏิบัติงานตามนโยบายท่ีระบรุ ะยะเวลาในแตล่ ะกจิ กรรมและโครงการสำคัญ
โดยกำหนดการปฏบิ ัติงานในการดำเนนิ การให้บรรลเุ ป้าหมาย ดังนี้

1. กำหนดเป้าหมายในแผนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
2. จัดทำโครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏบิ ตั กิ าร
3. แตง่ ต้งั คณะกรรมการการขบั เคลือ่ นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม

ดว้ ยรูปแบบ PLC Model
4. จดั สรรงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนวงั โปง่ พทิ ยาคม ดว้ ย

รูปแบบ PLC Model
5. ดำเนินโครงการ/กิจกรรมทีส่ ำคญั ตามจุดเนน้ ของสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา

เขต 40 และทเ่ี กี่ยวขอ้ กบั โรงเรยี นวังโป่งพิทยาคม
5.1 โครงการขบั เคลือ่ นการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นวังโปง่ พิทยาคม ด้วยรูปแบบ

PLC Model
5.2 โครงการน้อมนำพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 ส่กู ารปฏบิ ตั ิ
5.3 โครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรกั การอา่ นและพฒั นาหอ้ งสมดุ
5.4 โครงการพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศของโรงเรียน
5.5 โครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล
5.6 โครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ
5.7 โครงการพฒั นาระบบประกบั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
5.8 โครงการนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พน้ื ที่เป็นฐานเพอ่ื การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
6. นเิ ทศ ติดตาม และรายงานผล เพอื่ สง่ เสรมิ และกระตนุ้ ผลการการดำเนินพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษา
7. การจัดสัมมนา เสวนา ถอดประสบการณ์การปฏบิ ัติงาน
8. การจัดนิทรรศการ/ประกวด/นำเสนอผลงานทเ่ี ป็นเลศิ
9. สรุปรายงาน และเผยแพร่

โรงเรยี นวงั โป่งพทิ ยาคม

1

vv

คำสง่ั โรงเรียนวังโปง่ พทิ ยาคม

ท่ี 319 / ๒๕62
เรอื่ ง แต่งต้งั คณะกรรมการจดั ทำแนวทางการขบั เคลือ่ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

โรงเรียนวังโป่งพทิ ยาคม ดว้ ยรูปแบบ PLC Model

ด้วยสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 เป็นหน่วยงานภายใต้การขับเคล่ือนคุณภาพ
การศึกษาสังกัดคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน รับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ กำกับ ติดตามและ

ประเมินผลคุณภาพการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัด
เพชรบูรณ์ประกอบด้วยโรงเรียนในสังกัด จำนวน 39 โรงเรียน น้ัน ซึ่งได้กำหนดแนวทางการขับเคลื่อนการ

เคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยรูปแบบ SPM 4.0 เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 40

ในการนี้ โรงเรียนวังโป่งพิทยาคมได้กำหนดแนวทางในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาด้วยรูปแบบ

PLC Model สำหรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวังโป่ง
พิทยาคม ให้มีทิศทางที่ชัดเจน มีการเช่ือมโยง กับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยรูปแบบ SPM 4.๐ ของ

ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40
เพื่อให้การดำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและอาศัยอำนาจตามมาตราที่ ๒๗ แห่ง

พระราชบัญญัติระเบียบขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาพุทธศกั ราช ๒๕๔๗ จึงแต่งตั้งคณะครูปฏบิ ัติ

หนา้ ท่ีดงั ต่อไปน้ี

๑. คณะกรรมการทป่ี รึกษา

๑.๑ นางอารวี รรณ ขุนภกั ดี ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๑.๒ นางสายทอง ปัญญาพวก หวั หน้ากลุ่มงานบรหิ ารทั่วไป รองประธานกรรมการ

๑.๓ นายมานพ ชาตเิ ชยแดง หัวหน้ากล่มุ บริหารงานกิจการนักเรียน กรรมการ

๑.4 นายพิทักษช์ ยั คาสนิท หัวหนา้ กลุม่ บริหารงบประมาณและแผนงาน กรรมการ

๑.5 นายววิ ฒั น์ การมงคล หัวหนา้ กลุ่มบริหารงานอำนวยการ กรรมการ

๑.6 นางดวงตะวนั นามา หัวหนา้ กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล กรรมการ

๑.7 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๘ กลุม่ สาระ ฯ กรรมการ

๑.8 นางสาวฉตั รนภา เมืองแป้น ผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กรรมการ

๑.9 นางสกุ ัญญา การมงคล หัวหน้ากล่มุ บริหารงานวชิ าการ กรรมการ/เลขานุการ

มีหนา้ ที่ ใหค้ ำปรึกษา แนะนำ ดูแล วางแผนการจดั ทำค่มู ือการขับเคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพ

การศกึ ษาด้วยรูปแบบ PLC Model และสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย

๒. คณะกรรมการดำเนนิ การ ประกอบด้วย

๒.๑ นางอารวี รรณ ขุนภักดี ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
/2.2 นางสายทอง....

2

2.2 นางสายทอง ปัญญาพวก ครูชำนาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ

2.3 นางพนิดา บญุ ยะวตั ร ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

๒.4 นายมานพ ชาติเชยแดง ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ

2.5 นางดวงตะวัน นามา ครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการ

2.6 นายสัญญา ชูกล่ิน ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ

2.7 นายววิ ัฒน์ การมงคล ครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการ

2.8 นายพิทักษ์ชยั คำสนิท ครู กรรมการ

2.9 นางสาวศิริรตั น์ สำโรงทอง ครู กรรมการ

2.10 นางสาวเจนจริ า รอดนิล ครู กรรมการ

2.11 นายธรรศ อุตม์อ่าง ครู กรรมการ

2.12 นางสาวจตุพร จแี จ่ม ครู กรรมการ

2.13 นายวิทยา เพียซา้ ย ครู กรรมการ

2.14 นางสาววนั วิสา ศริ คิ งสวุ รรณ ครูผชู้ ่วย กรรมการ

2.15 นางสาวฐติ ยิ า พมิ นาค ครูผชู้ ่วย กรรมการ

2.16 นางสาวพรยมล บุญจนั ทร์ ครูผูช้ ว่ ย กรรมการ

2.17 นางสาวศริ ริ ัตน์ นาคมี ครูผู้ช่วย กรรมการ

2.18 นายโยธิน ขัตยิ ะ พนกั งานราชการ กรรมการ

2.19 นางธนั ยธร คำมา พนักงานราชการ กรรมการ

2.20 นายศุภณฐั นิยมธรรม ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ

2.21 นางสกุ ญั ญา การมงคล ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ

๒.11 นางสาวภชั ภิชา พึ่งกลอ่ ม เจ้าหนา้ ทธ่ี รุ การ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

มหี นา้ ท่ี ร่างแนวทางการขับเคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นวงั โปง่ พทิ ยาคม ดว้ ย
รูปแบบ PLC Model รว่ มประชมุ วางแผน ดำเนินการจัดทำค่มู ือการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนวังโป่ง
พิทยาคม ดว้ ยรูปแบบ PLC Model ใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน

ทงั้ นขี้ อให้คณะกรรมการท่ีได้รบั มอบหมายปฏบิ ัติตามหน้าท่ีทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย เพอ่ื ประโยชนแ์ กท่ าง
โรงเรียนและราชการสืบไป

สง่ั ณ วันท่ี 16 เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕62

(นางอารีวรรณ ขนุ ภกั ดี)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวงั โปง่ พิทยาคม


Click to View FlipBook Version