The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รางาน2562PLCภาคเรียนที่1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wachara.ja, 2020-06-12 10:02:50

รางาน2562PLCภาคเรียนที่1

รางาน2562PLCภาคเรียนที่1

รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ PLC

โดยใชก้ ระบวนการ PLC (Professional Learning Community) หน้า 1/16

โรงเรยี นชลบุรี “สขุ บท”

เร่ือง ผลของการใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลงั 5 ขัน้ ตอน ร่วมกับเทคนคิ การใช้ใบกิจกรรมดว้ ย

การพฒั นาบทเรียนร่วมกนั ผ่านชมุ ชนแห่งการเรยี นร้เู ชงิ วิชาชพี ท่ีมตี ่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
คณิตศาสตร์ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นชลบรุ ี “สุขบท”

โดย

กล่มุ ดอกเบย้ี ม.5

1. นางวชั รา จรูญผล Model Teacher

2. นายศรายุทธ ประโหมด Buddy Teacher

3. นายศุภวัฒน์ อังคะสี Buddy Teacher

4. นางปราณี มิตรยง Buddy Teacher

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
โรงเรยี นชลบุรี “สขุ บท”

PLC

บนั ทึกข้อความ หน้า 2/16

ทสี่ ว่..น...ร..สา..ช.า.ก...นา..รักวันโงรทงา่ีเรน1ีย0นเขชเลดตบอื พรุนี “ื้นตสุลขุทาบคก่ีทม”ารพศ.ศ.ึก2ษ56า2มธั ยมศึกษา เขต 18

เรอ่ื ง รายงานผลการพฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ PLC (Professional Learning

Community) ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562

เรียน ผ้อู านวยการโรงเรียนชลบุรี “สุขบท”

ด้วยขา้ พเจ้านางวชั รา จรูญผล Model Teacher กลุ่มดอกเบยี้ ม.5 และกลุ่มสมาชิก PLC จานวน

3 คน ไดป้ ฏิบัติการพฒั นาบทเรียนรว่ มกันผา่ นชมุ ชนการเรยี นร้เู ชิงวชิ าชพี ในรายวิชาคณิตศาสตร์ 3 ค32101

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรือ่ งดอกเบยี้ ดงั นี้

1. ปฏิบตั ิการ 8 วงรอบ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้

เริม่ ตั้งแตว่ นั ที่ 16 พฤษภาคม ถึงวนั ท่ี 2 ตุลาคม 2562

การ จานวนเวลา Model จานวนเวลา Buddy Teacher ผลท่ีได้

ดาเนินงาน Teacher

วงรอบที่1 275 นาที 275 นาที แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1

ชุดกจิ กรรมที่ 1

วงรอบท่ี 2 165 นาที 220 นาที แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2

ชุดกจิ กรรมที่ 2

วงรอบที่ 3 165 นาที 220 นาที แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3

ชุดกจิ กรรมที่ 3

วงรอบท่ี 4 165 นาที 220 นาที แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4

ชุดกิจกรรมท่ี 4

วงรอบที่ 5 165 นาที 220 นาที แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5

ชดุ กจิ กรรมที่ 5

วงรอบท่ี 6 165 นาที 220 นาที แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6

ชุดกิจกรรมท่ี 6

วงรอบที่7 165 นาที 220 นาที แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7

ชุดกจิ กรรมที่ 7

วงรอบท่ี 8 165 นาที 220 นาที แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8

ชุดกิจกรรมท่ี 8

รวม 1,430 นาท่ี 1,810 นาที

(23 ช่วั โมง 50 นาที) (30 ชั่วโมง 10 นาที)

นวัตกรรมที่สร้าง : แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าคณิตศาสตร์ 3 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เรือ่ งดอกเบยี้ ออกแบบการ
จดั การเรียนรู้ โดยใชร้ ปู การจัดการเรียนรแู้ บบรวมพลัง 5 ข้ันตอน รว่ มกบั ใบกิจกรรมเรอื่ งดอกเบยี้ ส่งเสริมการคิด
พร้อมบ่มเพาะคณุ ธรรม ความรบั ผิดชอบ ความซื่อสัตย์ และตรงเวลา โดยใชเ้ ทคนิคเพื่อนคู่คดิ
เครอ่ื งมอื วดั และประเมินผล : แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นคณิตศาสตร์คณติ ศาสตร์ 3 หนว่ ยการ
เรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื งดอกเบี้ย สาหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 จานวน 25 ขอ้

PLC
หนา้ 3/16

ตอนท่ี 1 แบบเลือกตอบ 5 ตัวเลอื ก จานวน 20 ข้อ

ตอนที่ 2 แบบเชงิ ซ้อน จานวน 3 ข้อ

ตอนท่ี 3 แสดงแนวคดิ จานวน 2 ขอ้

ผลการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ดังน้ี

1. การหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื ทัง้ ฉบบั

คา่ ความเที่ยงตรงเชงิ เนื้อหา (Content Validity) 1.00

ความเช่อื มนั่ (Reliability; Kuder-Richardson KR-20) 0.81

คะแนนเฉลี่ย 8.71

ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน 4.45

ระดบั ความยากเฉล่ยี ของข้อสอบ (p) 0.20

ค่าอานาจจาแนกเฉลยี่ ของข้อสอบ (r) 0.22

ค่าความคลาดเคล่ือนมาตรฐานในการวัด SEM20 1.964

2. การหาคณุ ภาพของเคร่ืองมือรายข้อ จานวน 20 ขอ้

คา่ อานาจจาแนกอยู่ในระดับ ดี จานวน 18 ข้อ

ค่าอานาจจาแนกอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุง จานวน 2 ขอ้

คา่ ความยากอยู่ในระดับ ค่อนข้างยาก จานวน 6 ข้อ

คา่ ความยากอยู่ในระดับ ปานกลาง จานวน 8 ข้อ

คา่ ความยากอยู่ในระดบั คอ่ นข้างง่าย จานวน 4 ข้อ

2. ปฏิบตั กิ ารรว่ มวพิ ากษ์ สงั เกตการณจ์ ดั กจิ กรรมการเรียนรู้ และร่วมสะท้อนคิด Buddy Teacher ดังน้ี
2.1 Buddy Teacher นายศรายทุ ธ ประโหมด วันองั คาร คาบท่ี 7 (6 ส.ค. – 3 ก.ย.) 5 ครั้ง
2.2 Buddy Teacher นายศุภวัฒน์ องั คะสี วันพฤหัสบดี คาบท่ี 6 (1 ส.ค. – 22 ส.ค.) 4 ครั้ง
รวม 495 นาที จานวน 8 ชว่ั โมง 25 นาที

รวมจานวนชวั่ โมง 23 ชว่ั โมง 50 นาที + 8 ชั่วโมง 25 นาที เท่ากบั 32 ช่ัวโมง 15 นที
บดั นไ้ี ดด้ าเนนิ การดังกลา่ วเสรจ็ สิ้นแลว้ จงึ ขอรายงานผลตามเอกสารทีแ่ นบมาดว้ ยนี้

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณารบั รองช่ัวโมงการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้
กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562

ลงชอื่ ผู้รายงาน
(นางวัชรา จรูญผล)

ลงช่ือ
(นางวชั รา จรญู ผล

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

PLC
หน้า 4/16

เรยี น ผอู้ านวยการโรงเรยี นชลบุรี “สุขบท” ข้อเสนอแนะ/ความคดิ เห็น

กลมุ่ สมาชิก PLC กลมุ่ ดอกเบ้ีย ม.5 กลุม่ สาระการ ................................................................................
เรียนรู้คณติ ศาสตร์ นางวชั รา จรญู ผล Model Teacher

และสมาชกิ จานวน 3 คน ปฏิบตั ิการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั ................................................................................

จานวน 8 วงรอบ สรปุ รบั รองจานวนชวั่ โมง PLC ดงั นี้ ................................................................................
Model Teacher จานวน 32 ช่ัวโมง 15 นาที

Buddy Teacher จานวน 30 ชว่ั โมง 10 นาที ................................................................................

ลงชอ่ื ................................................................................
(นางสาววิชยา มวี งค์)
(นางสาวรุ่งทพิ ย์ พรหมศิริ)
ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ ผู้อานวยการโรงเรียนชลบุรี “สขุ บท”

PLC
หนา้ 5/16

1. ช่ือผลงาน
ผลของการใช้กระบวนการเรยี นร้แู บบรวมพลัง 5 ขนั้ ตอน รว่ มกบั เทคนคิ การใช้ใบกิจกรรมดว้ ย

การพัฒนาบทเรียนร่วมกันผ่านชมุ ชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชิงวิชาชพี ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นคณติ ศาสตร์ของ
นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรยี นชลบรุ ี “สขุ บท”

2. ทม่ี าและความสาคัญของปัญหา
คณติ ศาสตร์เป็นวิชาทว่ี า่ ด้วยเหตผุ ล กระบวนการคดิ และการแกป้ ัญหา จึงกล่าวได้วา่ คณิตศาสตร์

สามารถพัฒนาความคิด ความมีเหตุ มีผลพัฒนาการคดิ อย่างมีวิจารณาญาณ พฒั นาทักษะการให้เหตผุ ล และการ
แกป้ ัญหา พฒั นาความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ ทาให้สามารถแก้ปัญหาตา่ ง ๆ รวมทั้งการคาดการณ์ วางแผน
ตัดสนิ ใจและแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม จึงมีความสาคัญย่งิ ในชวี ติ ประจาวนั นอกจากน้ีวชิ าคณิตศาสตร์ยงั ใช้
เปน็ เครือ่ งมอื ในการศึกษาและพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตร์อ่นื ๆ อย่างต่อเน่อื ง( สถาบัน
ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2550). ทกั ษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว)

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มงุ่ เน้นการปรบั ปรุงเน้ือหาให้มคี วามทันสมัย ทนั ตอ่
การ เปลี่ยนแปลงและความเจริญกา้ วหน้าทางวทิ ยาการตา่ ง ๆ คานงึ ถงึ การสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียน มีทกั ษะท่ีจาเปน็
สาหรับการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 เป็นสาคัญ เตรยี มผเู้ รยี นใหม้ คี วามพรอ้ มที่จะเรียนรสู้ งิ่ ต่าง ๆ พร้อมที่จะ
ประกอบอาชีพ เม่ือจบการศึกษา หรือสามารถศกึ ษาต่อในระดับท่ีสงู ขน้ึ สามารถแขง่ ขันและอยูร่ ่วมกับ ประชาคม
โลกได้ เนื้อหาท่ีกาหนดให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรู้ในระดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 คือเร่อื งดอกเบีย้ ทงั้ นี้เรือ่ งของดอกเบี้ยมี
ความสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจคอ่ นขา้ งมาก และถกู จดั เปน็ เคร่ืองมอื ท่ีใชบ้ ริหารในทุกๆเร่ืองทม่ี ีสว่ นคาบเกี่ยวกบั
ธรุ กรรมทางการเงนิ สาระความรใู้ นเรอื่ งของดอกเบีย้ จึงเป็นสงิ่ ทที่ กุ ๆคนควรรู้

ผลการรายงานการพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตรข์ องนักเรียนโรงเรียน
ชลบุรี “สขุ บท” ในปีการศกึ ษา 2561 มีคะแนนเฉลย่ี 2.64 ซง่ึ ตา่ กวา่ เกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากาหนดคือ 2.66 (กลุ่ม
สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนชลบุรี “สุขบท”, 2561) ชุมชนแห่งการเรยี นรู้เชิงวชิ าชพี กลุ่มดอกเบี้ย ม.5
ซง่ึ ประกอบดว้ ยครูผสู้ อนคณิตศาสตร์ในระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้คณติ ศาสตร์ไดข้ ้อสรปุ คือการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ครูยงั ไมเ่ นน้ การลงมือปฏิบตั ิ ผ้เู รยี นยงั ขาดทักษะการคิด
แก้ปญั หา ในการเพ่ิมผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรู้ขา้ งต้นนั้น มวี ธิ กี ารทาไดโ้ ดยการใหผ้ เู้ รียนใช้กระบวนการเรยี นรู้
แล้วสร้างความรู้ด้วยตนเอง พร้อมบ่มเพาะคุณธรรม ซงึ่ เป็นการจัดการเรียนรูแ้ บบการเรยี นรู้เชิงรุก (Active
Learning) กระบวนการเรียนรู้ทจี่ ะใชแ้ ก้ปัญหาดงั กล่าวข้างต้น คือการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลัง 5
ข้นั ตอน รว่ มกับการใช้ใบกิจกรรม และในการใช้กระบวนการเรียนร้ดู งั กล่าวได้รบั การสอนงานแบบพเี่ ลยี้ ง
(Coaching-Mentoring) ด้วยการพฒั นาบทเรียนรว่ มกันผ่านชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้เชิงวชิ าชีพ

2. วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้กิจกรรมการ

เรียนรหู้ นว่ ยท่ี 2 เร่ืองดอกเบี้ย
2. เพื่อสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องดอกเบี้ย ที่เน้นการคิดและสอดแทรกคุณธรรมความซื่อสัตย์

ความรับผิดชอบ

PLC
หนา้ 6/16

3. ประโยชน์ท่ีจะได้รับ
1. ผู้เรยี นไดร้ บั การพฒั นาทักษะการคดิ การบ่มเพาะคุณธรรม ผา่ นกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ รื่องดอกเบ้ยี
2. แผนการจัดการเรียนรวู้ ิชาคณติ ศาสตร์ ค32101 เรอ่ื งดอกเบย้ี ไดร้ บั การพัฒนา และมีประสิทธิภาพในการ

นามาใชก้ บั ผู้เรียนมากย่งิ ข้ึน
3. ได้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้เรื่องดอกเบีย้ ท่ีเน้นการคดิ และสอดแทรกคณุ ธรรมความซื่อสัตย์

ความรบั ผิดชอบ

4. เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง
การจดั การเรียนรู้แบบการเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) กระบวนการเรยี นรู้ท่ีจะใช้แกป้ ัญหา

ดงั กลา่ วข้างต้น คือการใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบรวมพลัง 5 ข้นั ตอน รว่ มกับการใช้ใบงานและผงั กราฟิก และใน
การใชก้ ระบวนการเรียนร้ดู งั กลา่ วไดร้ ับการสอนงานแบบพี่เล้ยี ง (Coaching-Mentoring) ดว้ ยการพัฒนาบทเรียน
รว่ มกันผ่านชุมชนแห่งการเรยี นรู้เชงิ วิชาชีพ การจัดการเรยี นร้ขู องครใู นปจั จบุ ันนนั้ ได้มีความพยายามหากลวิธเี พ่ือ
ปรบั เปลี่ยนวฒั นธรรมการสอน จากการจดั การเรียนเน้นครูเปน็ ศูนยก์ ลาง หรือสอนโดยการบอก การเลา่ การ
บรรยาย ด้วยการอธิบายรว่ มกับการใช้ส่ือการเรียนรู้ ให้ครูมีวฒั นธรรมการสอนเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ และเนน้
ผ้เู รียนเปน็ ศูนยก์ ลางกลวิธี หรอื แนวทาง หรือเครอ่ื งมือสาคัญในปัจจุบันคือการใช้กระบวนการพเี่ ลี้ยง
(mentoring) กระบวนการสอนงาน (coaching) หรอื อาจเรียกวา่ กระบวนการสอนงานแบบพเ่ี ลี้ยง (coaching-
mentoring) ทางานร่วมกนั เป็นทมี ซึง่ เรียกว่า ชมุ ชนแหง่ การเรียนรเู้ ชิงวิชาชีพ (Professional Learning
Community: PLC) ประกอบด้วย 1) ผ้วู างแผนออกแบบและเขียนแผนฯ 2) เพื่อนร่วมคดิ 3) หัวหน้ากลุม่ สาระ
การเรียนรู้ 4) ผ้บู ริหารฝา่ ยวชิ าการ 5) ผู้อานวยการ 6) ศึกษานิเทศก์ หรอื 7) ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะ ชุมชนแหง่ การ
เรียนรเู้ ชงิ วชิ าชีพ (Professional Learning Community) มฐี านความเป็นมาจากชุมชนนักปฏิบัติ (Community
of Practice) และชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Learning Community) มีความหมายโดยสรุป คอื การรวมกลมุ่ ของ
บุคลากรการศึกษา คือ ผบู้ ริหาร คณะผูบ้ ริหาร ชมุ ชน รว่ มกับครูผสู้ อนเปน็ การชมุ นมุ เชิงวิชาการ เพ่ือการพัฒนา
การศกึ ษาของโรงเรยี นเพือ่ การปฏริ ูปโรงเรียน โดยใช้การเรยี นรู้ หรือประสบการณ์เรยี นรู้จากการปฏิบัติ มีการ
ทอดบทเรียนและแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ สะทอ้ นการคดิ อย่างเป็นระยะๆ และทาอย่างต่อเนื่อง

ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวชิ าชพี ดาเนนิ การพัฒนาครูโดยใชแ้ นวคดิ การพัฒนาบทเรยี นรว่ มกัน เรยี กว่า
Lesson Study Approach ดาเนนิ การการสอนงานแบบพเ่ี ลี้ยง ในการเตรียมการดาเนินการจดั การเรยี นการสอน
โดยมีชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้เู ชิงวชิ าชีพรว่ มปฏิบัตกิ ารในการชแี้ นะ และเน้นพ่ีเลยี้ งนั้น ดาเนนิ การเป็นข้นั ตอนง่ายๆ
ดงั นี้

1. ขนั้ วิเคราะห์ (Analyze) เปน็ การวิเคราะหห์ ลักสตู ร หรือรายวชิ าทีจ่ ะจัดการเรยี นรเู้ ป็นขั้นตอนการ
สรา้ งตารางวเิ คราะห์เน้ือหาตามตัวช้วี ัดของมาตรฐานหลกั สตู ร จากนนั้ นาตารางวิเคราะห์ขา้ งต้นมาสรา้ งแผนการ
จดั การเรยี นรู้ ได้องคป์ ระกอบ 4 ประการของแผนฯ ดังน้ี

1) วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรตู้ ามตัวชว้ี ดั
2) สาระการเรียนรู้
3) ยทุ ธวิธกี ารสอนท่ใี ช้
4) ประเมนิ การเรียนรู้
2. ขัน้ วางแผนการจัดการเรียนรู้ (Plan) เป็นข้ันท่ชี ุมชนการเรยี นรู้เชงิ วชิ าชพี ประกอบดว้ ย ครูผู้
วางแผน ผ้รู ว่ มคดิ ครูผชู้ แ้ี นะหรือครูพีเ่ ลยี้ ง รวมท้งั ครผู ้บู ริหารโรงเรยี นรว่ มกันวางแผน และใหก้ ารชีแ้ นะและ
คาปรกึ ษาในการออกแบบการสอนและเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ วางแผนเร่ืองการจัดการเรยี น เชน่ การจดั โต๊ะ

PLC
หน้า 7/16

เรียนแบบเรียนเปน็ กลมุ่ เรยี นแบบร่วมมอื รว่ มพลงั ป้ายนิเทศให้มีเนื้อหาเร่ืองราวสอดคล้องกบั เรื่องทจ่ี ะเรียนรกู้ นั
การเตรยี มสื่อการเรยี นรู้

3. ข้ันปฏิบตั แิ ละสังเกตการณ์ (Do & See) นาแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่สร้างไปปฏบิ ัติการจัดการเรียน
การสอนโดยมชี ุมชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชิงวชิ าชพี รว่ มสงั เกตการณ์ ผูส้ อนเขียนบันทึกหลังสอน

4. ขั้นสะท้อนความคดิ (Reflect) เป็นข้นั ทีช่ มุ ชนการเรยี นรู้เชงิ วิชาชีพสะทอ้ นความคิดโดยผวู้ างแผน
หรือผู้สอนเป็นผู้สะท้อนความคดิ เก่ียวกับความสาเรจ็ จดุ เด่น จดุ ทีต่ ้องแกไ้ ขในการจัดการเรียนการสอน และ
ชุมชนการเรียนรเู้ ชงิ วชิ าชพี ร่วมกนั สะทอ้ นความคดิ ท้ังจดุ เด่น จุดด้อย ปัญหา-อปุ สรรค รวมทง้ั แนะนาวิธีแก้ปัญหา

5. ข้ันปรบั ปรุงใหม่ (Redesign) ขนั้ นม้ี กี ารแนะนาใหป้ รบั แก้แผนฯ และกระบวนการจัดการเรียนการ
สอนของครู ซึง่ ถ้านาไปทดลองประมาณ 3-4 ครั้ง ครผู ู้วางแผนจะได้นวัตกรรมการเรียนรู้จากการทดลอง หรือ
เรยี กว่า ทาวจิ ยั เนอ่ื งจากทาในชน้ั เรยี นเพอื่ พัฒนาการเรยี นการสอน ดงั น้นั จึงเรยี กวิจัยประเภทน้ีวา่ การวิจัย
ปฏบิ ตั กิ ารในชน้ั เรยี น (Classroom Action Research) เป็นงานวิจยั ท่มี ีลกั ษณะเดน่ คือ 1) งา่ ย (simple) 2)
สาคญั (significance) 3) ใช้เวลาสน้ั (short time) 4) มีการรว่ มมือร่วมพลัง (collaboration)

กระบวนการเรยี นรูแ้ บบรวมพลัง 5 ขัน้ ตอน เรียกสน้ั ๆคอื Collaborative 5 STEPs เป็นแนวการสอน
หนงึ่ ของการเรยี นร้เู ชิงรุก ( Active Learning ) เน้นใหร้ ูเ้ รียนสร้างความรดู้ ้วยตัวเองรวมทงั้ ประยุกตค์ วามรู้ไดบ้ น
ฐานวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ นกั เรียนมกี ารปฏิบัติกจิ กรรมแบบทางานกลมุ่ รวมพลัง โดยทุกคนรว่ มด้วยชว่ ยกันเด็ก
เกง่ ช่วยเด็กเรียนชา้ กว่า เด็กถนัดกวา่ ช่วยเด็กถนดั น้อยเพ่ือให้มคี วามสขุ ในการเรยี นแนวทางการจดั การเรยี นรูแ้ บบ
รวมพลังกลุ่มที่มารว่ มตวั กนั อาจ 2 คน หรือ 4 คนต่อ 1 กลุ่ม ที่มีการคละเพศ คละความสามารถ ความสนใจและ
คละความสามารถ (เก่ง กลาง ออ่ น) ทางานรว่ มมือกนั แบบคนเกง่ ช่วยสอนคนที่อ่อน หรือเรยี นรูช้ า้ คนทีม่ ี
ความสามารถปานกลางก็ร่วมด้วยชว่ ยกันจนงานสาเร็จและทกุ คนบรรลุเปา้ หมายเดียวกัน ถา้ เปน็ การเรยี นร้กู ็
พบวา่ เด็กอ่อนมผี ลการเรยี นรู้สงู ขึ้น เดก็ ปานกลางก็มกี ารพัฒนาสูงข้นึ เช่นกนั อนั เปน็ การแสดงความรว่ มใจร่วม
พลงั ในการเรยี นรู้รว่ มดนั เพ่ือให้เดก็ ๆมีความเท่าเทียมกนั บรรลุตามมาตรฐานที่กาหนดจงใชห้ ลักใหเ้ ดก็ ชว่ ยเหลอื
กันและกัน “คนเก่งอาสาเรยี นชา้ ขอร้อง” ในการจดั การเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการเรียนรูแ้ บบรวมพลัง 5
ข้นั ตอนมรี ายละเอียดดงั นี้

1. ขั้นเสนอสิ่งเร้าและระบุคาถาม เป็นข้ันตอนที่ทาให้ผู้เรียนสงสัย (ask) จากสิ่งเร้า สมองเกิดภาวะ
สมดุล (disequilibrium) มีการทบทวนประสบการณเ์ ดิมของผู้เรียน (elicit prior knowledge) คอื การคาดคะเน
คาตอบ หรือตั้งสมมติฐาน หรือจินตนาการคาตอบ คาตอบอาจไม่ถูกต้องหรือผิดหรือเป็นมโนทัศน์คลาดเคลื่อนก็
เป็นได้ซึ่งครูไม่มีการเฉลยคาตอบ โดยมีเทคนิคการคาดคะเนคาตอบ คือ 1) ให้ตอบคาถามเป็นรายบุคคล 2)ให้
ตอบเป็นทมี

2. ขั้นแสวงหาสารสนเทศและวเิ คราะห์อย่างรวมพลัง เป็นข้ันสาคัญเพ่ือพิสูจน์สมมติฐานเพื่อหาคาตอบ
ของคาถามสาคัญโดยครูอาจออกแบบให้ หรือครูกับผู้เรียนร่วมกันวางแผน หรือผู้เรียนวางแผนเอง ครูออกแบบ
การเก็บข้อมูลสารสนเทศให้เอง ด้วยการสร้างส่ือการเรียนรู้ เช่น ใบกิจกรรมใบงาน ใบทดลอง รวมท้ังใบความรู้
และอาจใช้ใบสรปุ ความรแู้ จกให้ผ้เู รียน

3. ขั้นอภิปรายและสร้างความรู้ เป็นข้ันส่ือความหมายข้อมูลหลังจากการวิเคราะห์ข้อมูล โดยผู้เรียนมี
โอกาสเสนอหน้าช้ันเรียน ผู้เรียนมีแปลความหมายข้อมูล เพื่อการสรุปผล/สร้างความรู้ด้วยตัวนักเรียนเอง มีการ
สะท้อนความคิดกัน และแต่ละกลมุ่ ปรบั แก้ไขความรู้ท่ีสร้างขึ้นเอง ครูเชื่อมโยงความรู้ที่ผ้เู รียนสรา้ งไปยงั ความรู้ที่
ถูกต้อง และเปน็ ข้ันท่คี รอู าจให้ทาแบบฝึกหดั เพ่ือเสริมสร้างความเข้าใจและทักษะตา่ งๆ

4. ข้ันสื่อสารและสะท้อนคิดอย่างรวมพลัง เป็นช้ันผู้เรียนนาเสนอความรู้และการเรียนรู้ท่ีได้จากการ
สร้างความรูด้ ้วยความเข้าใจหนา้ ชั้น รวมทั้งผลงาน ตลอดจนกระบวนการสร้างความรู้ติดทีผ่ นัง หรอื กระดานหน้า
ช้ันเรียนด้วยหลัก 3p วางแผนการพูด( Planning) ซ้อม/เตรียม (Preparation) นาเสนอหน้าช้ันเรียน (

PLC
หนา้ 8/16

Presentation) พร้อมฝึกการสร้างบุคลิกภาพภายในและบุคลิกภาพนอกขณะนาเสนออย่างม่ันใจและมีคุณภาพ
จากน้ันให้มีการสะท้อนคดิ ข้อดี ขอ้ เดน่ และส่ิงอยากรู้

5. ขนั้ ประยุกตแ์ ละตอบแทนสงั คม เป็นขั้นทผ่ี ู้เรยี นรว่ มดว้ ยชว่ ยกนั แบบรวม พลงั ประยุกตค์ วามรู้ หรอื
นาความรไู้ ปใช้ในสถานการณ์ใหม่ เช่น ในชวี ิตการเรยี นในสาระอ่ืนๆ ในครอบครวั ในชมุ ชนทาใหไ้ ด้ช้นิ งานใหม/่
ภาระงานใหม่ การสรา้ งชนิ้ งานเรยี งตามลาดับง่ายไปหายาก ดงั น้ี 1) รายงาน การบอกเล่า การถา่ ยทอดความรู้
(Extension) 2) ผลงานระดบั คดิ ริเริ่ม หรอื ผลงานนาความรปู้ ระยกุ ต์ในสถานการณ์ใหม่ (Invention) และ 3)
รายงานโครงงานประเภทตา่ งๆ (Innovation)

ในการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก เป็นการจัดกิจกรรมให้เด็กปฏิบัติร่วมกัน (Learning by doing) โดยครู
สร้างส่ือการเรยี นรูป้ ระเภทใบงาน ใบกจิ กรรม หรือใบทดลอง

ใบกิจกรรม คือ เอกสารท่ีครูเป็นส่ือการเรียนรู้ที่ครูจัดทาเพ่ือให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอน การปฏิบัติ
ตามของนกั เรียนจะเป็นการทาให้นักเรยี นสร้างความรู้ใหม่ไดด้ ้วยตนเอง

วตั ถปุ ระสงค์ของการใช้ใบกจิ กรรม คอื การให้นักเรยี นสร้างความรู้เองโดยผา่ นการทากิจกรรมตามใบ
กจิ กรรม เป็นขั้นตอนใหน้ ักเรียนมภี าระงาน (task) ซ่งึ เปน็ งานทต่ี อ้ งทางานอย่างหนัก คือตอ้ งคดิ เป็น ทาเป็น
แก้ปญั หาเปน็ ในห้องเรียนปกตนิ ัน้ ครูใหใ้ บงานนักเรยี น และเตรียมใบความรเู้ ปน็ เสมือนแหลง่ เรียนรู้ ดงั นั้นใบ
ความร้คู รูอาจจะจดั เป็นชดุ ๆ ตามความสามารถของเด็กแต่ละคน และใบความรู้ต้องประกอบด้วย ความรนู้ ้ีเด็ก
ต้องผกู พันกับการอา่ น ใชก้ ารคิดจดั กลมุ่ จัดระบบ วิเคราะห์ และสรปุ ผลจงึ จะเน้นใบงาน และใบความรู้ที่นักเรียน
ไดง้ านหนกั ตามความหมายของ TASK อย่างแทจ้ ริง
หลกั การเขียนใบกิจกรรมอย่างง่าย

หลักการเขียนใบกิจกรรมอยา่ งง่ายด้วยมีเป้าหมายให้นักเรียนได้ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome) 1)
ความรูต้ ามสาระการเรยี นรู้ของหลักสูตร 2) ความสามารถ 5 ประการและ 3)คุณลักษณะอนั พึงประสงคอ์ ยา่ งน้อย
8 ประการตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ผลตามวัตถุประสงค์ และกรอบ
มาตรฐานของหลกั สตู รตา่ งๆ ในการเขียนใหค้ านงึ ถึงหลักการตอ่ ไปน้ี

ภาพที่ 2 หลกั การเขียนใบกิจกรรม

PLC
หนา้ 9/16

ภาพท่ี 3 หลักการเขยี นใบกิจกรรม

จากนั้นเขยี นขน้ั ตอนของการทากิจกรรมเรียงลาดับเปน็ ข้อ ดงั ภาพท่ี 4 หลักการเขยี นใบกิจกรรม
ตัวอย่าง
1. ให้...อ่าน/ด/ู ฟงั /สังเกต/ศึกษา
2.ใหค้ ดิ (คิดแบบต่างๆ) หรอื คิด+เน้นให้วิเคราะห์จนไดผ้ ลการวิเคราะห์และผลการศกึ ษา
3. ให้เขียน หรือบันทึกผลการศึกษาผลการวิเคราะห์ด้วยแบบการนาเสนอท่ีมีหลากหลาย แต่

เลือกแบบใหเ้ หมาะสมกับผลของการศึกษา หรอื ผลการวิเคราะห์
4. ใหเ้ พ่ิมคาสงั่ เพ่อื บ่มนสิ ยั ให้นักเรียนมคี ุณธรรมจริยธรรม

ตวั อย่างการเขียนขั้นตอนทากิจกรรมในใบกิจกรรม

1. ให้กลุ่ม อ่าน เอกสารหนา้ 1-2 อยา่ งละเอยี ด

2. จากน้ันให้ และจัดกลุ่ม วิเคราะห์

3. ใหก้ ลมุ่ เขยี น ผลการเปรยี บเทียบ โดยใช้ผังกราฟิกที่เหมาะสม (ใชเ้ วลา 15 นาท)ี

** จงทางานด้วยความรับผิดชอบและตรงเวลา

ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม การกาหนดเกณฑ์ประสทิ ธิภาพทาไดโ้ ดยการประเมนิ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ)
และพฤติกรรมขั้นสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกาหนดค่าประสิทธิภาพ E1 เป็นประสิทธิภาพของกระบวนการและ
E2 เปน็ ประสทิ ธภิ าพของผลลพั ธ์ กาหนดเป็นเกณฑ์ท่ีผสู้ อนคาดหมายวา่ ผู้เรยี นจะเปลย่ี นพฤติกรรมที่พึงพอใจ โดย
กาหนดให้เป็นเปอร์เซ็นต์ของผลการทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนท้งั หมด น่นั คือใช้เกณฑใ์ นเนื้อหาเป็นทักษะไว้
80/80 ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2556) เสนอวิธีคานวณหาประสิทธภิ าพ โดยใช้วิธี การคานวณดงั น้ี

E1 ได้จากการนาคะแนนงานทกุ ช้ินของนักเรยี นแต่ละคนรวมกันแล้วหาคา่ เฉลีย่ เทียบเปน็ ร้อยละ

PLC
หน้า 10/16

E2 ได้จากการนาคะแนนผลการสอบหลงั การทดลองของนักเรยี นท้ังหมดรวมกนั แลว้ หาค่าเฉลีย่
เทยี บเปน็ ร้อยละ

การกาหนดเกณฑป์ ระสทิ ธิภาพของชดุ กิจกรรม และการยอมรับประสิทธภิ าพของชุดกิจกรรม มีผใู้ ห้
เกณฑ์ดังน้ี

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2556) กล่าววา่ การกาหนดเกณฑ์ E1/E2 ให้มีค่าเทา่ ใดนนั้ ควรพิจารณาตาม
ความเหมาะสม โดยปกตเิ นื้อหาทเ่ี ป็นความร้คู วามจา มักจะตัง้ ไว้ 80/80, 85/85 หรือ 90/90 สว่ นเนื้อหาทเี่ ปน็
ทกั ษะอาจตง้ั ไว้ ตา่ กว่าน้ี เช่น 75/75 เป็นตน้ เม่อื กาหนดเกณฑ์แลว้ นาไปทดลองจริง อาจไดผ้ ลไมต่ รงตามเกณฑ์
แต่ไม่ควรต่ากว่าเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ ร้อยละ 5 เชน่ ถ้ากาหนดไว้ 90/90 กค็ วรได้ไมต่ ่ากวา่ 85.5/85.5

หาประสทิ ธิภาพของชุดกิจกรรมเร่ืองดอกเบ้ียตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 (E1/E2 = 80/80) ดังน้ี

E1 = ผดิ พลาด! วัตถุไมส่ ามารถถูกสร้างจากการแก้ไขโค้ดเขตขอ้ มูล

เมือ่ E1 แทน ประสิทธภิ าพของกระบวนการที่จัดไวใ้ นชดุ กิจกรรมเร่อื งดอกเบีย้
หาได้จากคะแนนการทากจิ กรรมระหว่างเรยี นได้ถกู ต้องโดยเฉลีย่ รอ้ ยละ 80

ผิดพลาด! วตั ถุไม่สามารถถูกสร้างจากการแก้ไขโคด้ เขตขอ้ มูล แทน คะแนนรวมของ
นักเรียนทุกคนที่ได้จากการทากิจกรรมในบทเรียน

ผดิ พลาด! วัตถไุ ม่สามารถถูกสรา้ งจากการแก้ไขโคด้ เขตขอ้ มูล แทน คะแนนเต็มของ
กจิ กรรมทุกกจิ กรรมรวมกัน

E2 = ผิดพลาด! วัตถไุ ม่สามารถถูกสรา้ งจากการแก้ไขโค้ดเขต

ขอ้ มูล

เมอ่ื E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลัพธท์ ี่ได้จากคะแนนเฉลีย่
จากการทาแบบทดสอบหลงั เรยี นบทเรยี นได้ถูกตอ้ งโดยเฉล่ียรอ้ ยละ 80

ผดิ พลาด! วตั ถุไม่สามารถถกู สร้างจากการแกไ้ ขโคด้ เขตขอ้ มลู F แทน คะแนนรวม
ของนักเรยี นทกุ คนท่ีไดจ้ ากการทาแบบทดสอบหลังเรียนบทเรยี น

ผดิ พลาด! วตั ถุไม่สามารถถูกสร้างจากการแก้ไขโคด้ เขตขอ้ มูล แทน คะแนนเต็ม
ของแบบทดสอบ

ผิดพลาด! วตั ถุไมส่ ามารถถกู สรา้ งจากการแกไ้ ขโคด้ เขตข้อมูล แทน จานวน
นักเรยี นในกลุม่ ตัวอยา่ งทั้งหมด

5. วธิ ดี าเนินการ
กลมุ่ PLC ดอกเบ้ยี ม.5 ไดร้ ว่ มกันวพิ ากษ์ วเิ คราะห์ โดยปรับแผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2

เรื่องดอกเบี้ย ได้ข้อสรปุ ดงั นี้
1. ปรับเปลยี่ นสอื่ โดยออกแบบเปน็ ใบกิจกรรม ทีส่ ามารถใหผ้ ู้เรยี นลงมือปฏิบัติ โดยครูสามารถนาไปใช้

ได้ ภายในเวลาทเ่ี หมาะสมสอดคล้องกับศักยภาพผ้เู รยี นในแตล่ ะห้อง กิจกรรมในแต่ละชดุ ใหส้ อดแทรกคุณธรรม
สอดแทรกการตา้ นทจุ รติ ผเู้ รยี นไดป้ ระเมินตนเอง เพ่ือกระตนุ้ เตอื นตนเองให้ไม่ประมาทในการเรยี น การลาดับ

PLC
หนา้ 11/16

ขน้ั ของกิจกรรมใน 1 ชุด ควรเริ่มกจิ กรรมทก่ี ารทบทวนบทเรียนเพือ่ เช่ือมโยงสู่เรื่องใหม่ กจิ กรรมท่ผี ู้เรยี นได้คิดคู่
กบั เพ่ือนเป็นเพอ่ื นคคู่ ดิ เพอื่ ให้ผ้เู รยี นไดม้ นี ้าใจช่วยเหลอื ต่อกันและสรา้ งความมัน่ ใจให้กับผเู้ รียนกลมุ่ ปานกลาง
กลุ่มอ่อน การใช้ชุดกิจกรรมในชนั้ เรยี นครูผสู้ อนเลอื กกลยทุ ธก์ ารสอนตามความเหมาะสมกบั ผู้เรียนในแต่ละ
หอ้ งเรียน

2. ปรบั แผนการจัดการเรียนรู้ ในสว่ นของการวัดและประเมินผล โดยใช้ใบกิจกรรมท่ี 1 ตรวจสอบ
ประเมนิ ให้ครอบคลุมการวัด ทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคุณลกั ษณะ

ออแบบรปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามองค์ประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ีโรงเรยี นกาหนด ดงั น้ี
กิจกรรมการเรยี นรู้

ขนั้ ท่ี 1 เสนอสง่ิ เรา้ และระบุคาถามสาคญั
1. ครแู จ้งผลการทาใบกิจกรรมท่ี ....ให้นักเรยี นทราบและให้คาชมเชยการตงั้ ใจทางาน แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง
ท่ีพบเช่น การคานวณผดิ พลาด นักเรียนรว่ มอภปิ รายผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ หากขาดความรอบคอบ
2. ครูระบุคาถาม ..................................................อยา่ งไร นกั เรยี นแต่ละกลุ่มคาดคะเนคาตอบ
3. ครแู จง้ เป้าหมายการเรียนรู้
ขนั้ ที่ 2 แสวงหาสารสนเทศและวเิ คราะห์
1. ครูช้แี จงกจิ กรรมการเรียนรู้ เป้าหมายการเรียนรู้ รปู แบบของกจิ กรรม บทบาทของนักเรยี น บทบาท
ของครู ตลอดทัง้ การวัดและประเมนิ ผล
2. นักเรยี นปฏิบัติงานตามใบกจิ กรรมที่ ... เร่อื ง .............................. แบบรวมพลงั ดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ
ใหน้ ักเรียนกับเพื่อนคคู่ ิดปฏิบตั ดิ งั นี้

1. รว่ มกนั ศึกษา...........................................
2. วิเคราะห์คาตอบในสถานการณ์ทก่ี าหนด
3. กาหนดสถานการณ์เพื่อคดิ คานวณดอกเบย้ี
ครดู ูแล ใหค้ าชี้แนะ กระตนุ้ ให้คดิ และใช้การถาม ตอบ เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจ
ข้ันท่ี 3 อภปิ รายและสรา้ งความรู้
1. นักเรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการวิเคราะห์ จากนั้นครอู ภปิ รายสกู่ ารสรปุ ..............................
2. นกั เรยี นตรวจสอบการสรปุ ความรู้และการนาไปใช้ ครูดแู ล สงั เกตพฤตกิ รรม และเนน้ ย้าในเรอ่ื งความ
รับผิดชอบ ความพยายาม ความซอ่ื สัตย์
3. นักเรียนแลกเปลี่ยนเรยี นรู้โดยนักเรียนอาสาสมัคร หรือจาการสุ่มตัวแทนนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น ครูและ
นกั เรียนร่วมชมเชยนกั เรยี นผู้นาเสนอ และรว่ มแกไ้ ขหากพบว่ามขี ้อบกพร่อง
4. นกั เรียนแต่ละคนฝึกคดิ ด้วยตนเอง จากกจิ กรรมท่ี 3 ฝึกคดิ ด้วยตนเอง
ขน้ั ที่ 4 ส่ือสารและสะท้อนคิด
1. นักเรียนแลกเปลีย่ นเรียนรู้โดยนกั เรียนอาสาสมัครหรือครูสุ่ม อธบิ ายการสถานการณ์ทก่ี าหนดและ
คุณธรรมที่นามาใช้
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั สะทอ้ นคิดถึงข้อสรปุ ท่ีไดโ้ ดยทากจิ กรรมท่ี 4 ชว่ ยกันสรปุ บันทึกสรปุ ความรู้
ด้วยตนเองพร้อมข้อสังเกตทีเ่ ป็นจุดเดน่ จดุ บกพร่อง
ขน้ั ที่ 5 ประยุกตแ์ ละตอบแทนสังคม
1. นกั เรยี นนาความรูไ้ ปพัฒนาตนเองโดยให้เชีย่ วชาญจากการฝึกกาหนดสถานการณ์
จากแบบฝกึ หดั ท่ี ..........
2. รว่ มกันเฉลยแบบฝกึ หดั และสรุปจุดเดน่ หรือข้อสงั เกตท่ีได้ เพื่อเผยแพร่ความรตู้ ่อไป

PLC
หนา้ 12/16

รปู แบบใบกจิ กรรม

PLC....

ใบกิจกรรมท่ี .... เร่อื ง.........................
ชอ่ื ..................................................... เลขท่ี ...........
เพื่อนร่วมคิด ......... คน
1. ช่ือ.......................................... เลขที่ .............2. ชือ่ .......................................... เลขท.่ี ............

คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นกับเพื่อนค่คู ิดปฏบิ ตั ิดงั นี้

1. รว่ มกันศกึ ษาเรื่อง..............................................
2. วิเคราะห์หาคาตอบในแต่ละสถานการณ์
3. ร่วมกันสรุปสูตรเกยี่ วกบั ..............................................................

จงทำงำนดว้ ยควำมรบั ผดิ ชอบ ซอ่ื สัตย์ และตรงเวลำ
กจิ กรรมที่ 1 ร่วมศึกษา รว่ มคดิ วเิ คราะห์

สถานการณ์ที่ 1
สถานการณท์ ี่ 2
กิจกรรมที่ 2 ร่วมคดิ ร่วมกันหาคาตอบ

สถานการณ์ท่ี 3
กจิ กรรมท่ี 3 ฝึกคดิ ดว้ ยตนเอง

กิจกรรมท่ี 4 ช่วยกันสรุป

…………………………………………………………………………………………………

สถานการณ์ 4

ฝึกฝนให้เชย่ี วชาญ แบบฝึกหัดที่ …….

ผลการประเมิน ไดค้ ะแนน....................... คิดเป็นร้อยละ ......................

ดเี ยย่ี ม ดี พอใช้ ปรับปรุง (ต้ังใจ/ตรงเวลา/รอบคอบ/ซือ่ สัตย์)

กิจกรรมในเรื่องนี้ นักเรยี น พึงพอใจ ...........มาก ............ ปานกลาง ........... นอ้ ย

PLC
หนา้ 13/16

ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(Professional Learning Community
Action Plan: PLC-AP) กลุ่ม ดอกเบี้ย ม.5 จานวน 8 วงรอบ

กลมุ่ เป้าหมาย
นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1 จานวน 34 คน และนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5/3 จานวน 42 คน

นวัตกรรม
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้เร่ืองดอกเบย้ี ทเี่ น้นการคิดและสอดแทรกคุณธรรมความซื่อสัตย์ ความรับผดิ ชอบ
การเก็บรวบรวมข้อมลู
1.ครจู ะเตรยี มพร้อมนกั เรียนในการมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นและการจัดกลุม่ คละเพศและคละความสามารถ
2.จะดาเนินการจัดการเรียนการสอนตามแผนท่ีสร้าง และมีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ขณะมีการเรียน
การสอนเพอ่ื นาไปใช้ในการวิพากษ์ สะท้อนคิด
3.เม่ือจดั การเรยี นรู้จบหนว่ ยแลว้ จะทาการทดสอบหลังเรยี นด้วยแบบสอบ
4.จากนั้น กลุ่มPLC จะนาข้อมูลไปวิเคราะห์ด้วยสถิติค่าเฉล่ียร้อยละ ( X ร้อยละ ) เพื่อสรุปผล
การศกึ ษา
วธิ ีวเิ คราะห์ข้อมูล

ใช้ความถ่ี ค่าเฉล่ยี คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ ( X ร้อยละ ) และการวิเคราะห์เน้อื หา
ตรวจสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรม โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
จานวน 34 คน กาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพทาได้โดยการประเมินพฤติกรรมต่อเน่ือง (กระบวนการ) และพฤติกรรมขั้น
สุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกาหนดค่าประสิทธิภาพ E1 เป็นประสิทธิภาพของกระบวนการและ E2 เป็น
ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ กาหนดเป็นเกณฑ์ท่ีผู้สอนคาดหมายว่าผู้เรียนจะเปล่ียนพฤติกรรมท่ีพึงพอใจ โดย
กาหนดให้เป็นเปอร์เซ็นต์ของผลการทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนท้ังหมด นั่นคือใช้เกณฑ์ในเนื้อหาเป็นทักษะไว้
80/80 ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2556)
6. สรุปผล
6.1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบหลงั เรยี นเร่อื งดอกเบยี้ จานวนนักเรียนทีค่ ะแนนสูงกว่าเกณฑ์
ร้อยละ 70

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี จานวน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ จานวนนักเรยี นทค่ี ะแนนสูง

ม.5/1 กวา่ เกณฑร์ ้อยละ 70
ม.5/3
34 44.06 80.01 34

42 39.38 71.60 26

6.2 ผลการสร้างนวตั กรรม
1. แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่อื งดอกเบี้ย จานวน 10 แผน การจัดกจิ กรรม

การเรยี นรูเ้ นน้ เชงิ รุก โดยใชร้ ปู แบบการเรยี นรแู้ บบรวมพลัง 5 ขั้นตอน ซึง่ ผา่ นวิพากษ์ จากสมาชิกกลุ่ม PLC
และผู้เชยี่ วชาญ

PLC
หนา้ 14/16

2. ใบกจิ กรรม ประกอบ แผนการจดั การเรียนรู้ จานวน 10 ชดุ สอดแทรกคุณธรรม ความ
รบั ผดิ ชอบ ซือ่ สตั ย์ ตรงเวลา ใหผ้ ้เู รยี นเรียนรู้ ทากจิ กรรม รว่ มกับเพ่ือนคู่คิด 1 – 2 คน รูปแบบการทากิจกรรม
4 ขน้ั ตอน ดังน้ี

กิจกรรมท่ี 1 ร่วมศึกษา ร่วมคดิ วเิ คราะห์ เป็นขน้ั ตอนการเรียนรโู้ ดยการเช่ือมโยงกับเรื่องท่ี
เรยี นผา่ นมา กับการศึกษาเนื้อหาใหม่ โดยผเู้ รียนกบั เพ่อื นค่คู ิด จะรว่ มกนั ศึกษาและวิเคราะหจ์ ากตวั อย่าง ครูจะ
ทาหน้าท่ชี ้แี นะ เสริมแรง กระตุ้นให้คดิ วเิ คราะห์

กิจกรรมที่ 2 รว่ มคดิ ร่วมกันหาคาตอบ เปน็ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ท่ผี เู้ รยี นและเพ่ือนคู่คดิ รว่ ม
ศกึ ษา วิเคราะห์คาตอบในแต่ละสถานการณ์ โดยครูคอยชว่ ยเหลือ ชีแ้ นะ หรือ อธบิ าย ถาม ตอบ ตามศักยภาพ
ของผเู้ รยี น และบริบทของห้องเรียน

กจิ กรรมที่ 3 ฝกึ คดิ ด้วยตนเอง เป็นขน้ั ตอนการเรยี นรู้ทีผ่ เู้ รยี นคดิ ด้วยตนเองเพื่อตรวจสอบ
ความเขา้ ใจ โดยครูคอยชว่ ยเหลือ ชี้แนะ หรอื อธิบาย ถาม ตอบ ตามศกั ยภาพของผู้เรยี น และบรบิ ทของ
หอ้ งเรยี น

กจิ กรรมท่ี 4 ช่วยกนั สรปุ เป็นขน้ั ตอนการเรียนรทู้ ่ผี ูเ้ รียนร่วมสร้างองค์ความรู้ไปพร้อมกันกับ
เพื่อนท้ังหอ้ งเรียน โดยครคู อยชว่ ยเหลือ ชี้แนะ หรอื อธบิ าย ถาม ตอบ ตามศักยภาพของผเู้ รยี น และบรบิ ท
ของห้องเรียน

เมอ่ื ครบทัง้ 4 กิจกรรม แล้วผูเ้ รยี นไดพ้ ัฒนาศักยภาพตนเองโดยฝึกฝนใหเ้ ชีย่ วชาญกับแบบฝึก
ท้ายกิจกรรม ผเู้ รียนรว่ มประเมินตนเองในดา้ นความรู้ คุณลักษณะและ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง สรปุ คะแนน
พร้อมทง้ั ประเมนิ ใบกจิ กรรม

จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5/1 เพอ่ื ตรวจสอบประสิทธิภาพของ
นวัตกรรม ปรากฏดงั ตาราง
ตารางที่ 2 ประสทิ ธภิ าพส่ือชุดกิจกรรมเรอ่ื งดอกเบ้ีย

ผลการประเมิน จานวนผเู้ รยี น คะแนนเตม็ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ
ระหว่างเรียน 34 80 82.68
ทดสอบหลังเรียน 34 55 80.11

ผลการทดลองเพื่อหาประสทิ ธิภาพสอ่ื ชุดกจิ กรรมเร่ืองดอกเบย้ี จากคา่ E1 / E2 ของกลุ่มตัวอยา่ ง
จานวน 34 คน มีค่า = 82.68 / 80.11 สงู กว่าเกณฑ์ 80/80

7. การสะทอ้ นผล
ในการดาเนนิ การออกแบบการเรียนรู้ สอื่ แผนการจดั การเรียนรู้ มีเพือ่ ครูและผเู้ ช่ียวชาญไดร้ ว่ มให้

แนวคดิ ตรวจสอบ ช้ีแนะในการออกแบบการจดั การเรียนรู้ การสรา้ งเคร่อื งมือวัดและประเมินผล ซ่ึงเป็นความ
ชว่ ยเหลือจากชุมชนแหง่ การเรยี นรูเ้ ชิงวชิ าชีพของโรงเรียน ซงึ่ ประกอบด้วย ผู้สอน (Model Teacher) เพ่ือนรว่ ม
คิด (Buddy Teacher) ผูเ้ ชยี่ วชาญ ท่ีได้ชว่ ยสอนงานแบบพี่เลีย้ งตามแนวคิดการพัฒนาบทเรยี นรว่ มกนั
ตามลาดบั ต้ังแต่วิเคราะห์แผนฯ เขยี นแผนฯ ไปปฏิบตั ิการสอนจริง มกี ารสะท้อนคิดจากการไปสังเกตเป็นระยะๆ
แล้วมกี ารปรับแผนดว้ ย ซึ่งเป็นการพัฒนาตัวผู้สอน และเพ่ือนครรู ว่ มคิดเปน็ ระยะๆอยา่ งตอ่ เน่ือง เกิดความมน่ั ใจ
ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ ACTIVE LEARNING ส่งผลตอ่ การเรยี นเรยี นรรู้ ว่ มกันของนักเรยี น แกไ้ ขร่วมกัน
เปลี่ยนแปลงความรูท้ เ่ี ขา้ ใจคลาดเคลอ่ื น จนเกดิ เป็นความเข้าใจด้วยตนเอง การวพิ ากษ์ การรว่ มสงั เกตชั้นเรยี น

PLC
หน้า 15/16

ของกลุ่ม PLC ทาใหค้ รูปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการสอน สูงการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เชงิ รกุ อย่างม่ันใจมากข้นึ
นอกจากนี้ยงั ได้นวตั กรรมคือชุดกจิ กรรมเรื่องดอกเบีย้ ทสี่ ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นร่วมคดิ รว่ มเรยี นรู้ไปกบั เพอ่ื นคู่คดิ
เป็นการสรา้ งความมั่นใจให้กับผู้เรียน คลายความกังวลในการทากิจกรรม ไม่เกดิ ความเครียดในระหวา่ งเรยี น

เอกสารอ้างอิง

ฉตั รศริ ิ ปยิ ะพิมลสิทธ์. 2552. การวัดผลการศึกษา. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก http://www.watpon.com/.
สืบค้น 16 กรกฎาคม 2552.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2532. การวางแผนการสอนและการเขียนแผนการสอน. กรุงเทพฯ:
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.
. 2556. การทดสอบประสทิ ธิภาพส่ือหรือชุดการสอน .วารสารศิลปากรศึกษาศาสตรว์ ิจัย ปที ี่ 5
ฉบับที่ 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2556). [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
http://www.educ.su.ac.th/2013/images/stories/081957-02.pdf. สืบค้น 16 กรกฎาคม 2552.

ทศิ นา แขมมณ.ี 2545. ศาสตร์การสอน :องค์ความูร้เพอื่ การจัดกระบวนการเรยี นูร้ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ.
กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. .
. 2548. รปู แบบการเรียนการสอน : ทางเลือกทหี่ ลากหลาย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั . .
. 2560. ศาสตร์การสอน : องค์ความูร้เพ่ือเพื่อการจัดกระบวนการเรยี นูร้ท่ีมีประสิทธิภาพ.. พมิ พ์
ครง้ั ท่ี 21.กรงุ เทพมหานคร: ด่านสุทธาการพิมพ์.

พิชติ ฤทธจ์ รูญ. 2545. หลกั การวัดและประเมนิ ผลศึกษา. พมิ พ์คร้ังที 2. กรุงเทพฯ: เฮา้ ส์ ออฟ เคอร์มีสท.์
พิมพนั ธ์ เดชะคุปต.์ 2544. การเรยี นการสอนที5เนน้ ผ้เรยี นเป็นสาคัญ : แนวคดิ วิธกี าร เทคนคิ การ ู สอน 2 .

กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเมน้ ท์ จากัด.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยนิ ดีสขุ . 2548. วธิ ีวิทยาการสอนวทิ ยาศาสตรท์ ่ัวไป. กรงุ เทพฯ: พฒั นาคุณภาพ

วิชาการ.

PLC
หน้า 16/16

การเผยแพร่
ผา่ น E mail [email protected] ต้ังแต่วนั ท่ี 24 มี.ค. 2020 00:29

รายงานการพัฒนาบทเรียนร่วมกันผ่านชมุ ชนการเรยี นรเู้ ชิงวิชาชีพ
นวตั กรรม ชดุ กิจกรรมการเรยี นรเู้ ร่อื งคา่ กลาง เน้นการรวมพลงั ดว้ ยความรบั ผิดชอบ


Click to View FlipBook Version