The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wiiveelife, 2022-12-07 22:31:24

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ

แผนปฏิบัติการวิทยาลยั เทคนคิ ศรสี ะเกษ

ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566

วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ SISAKET TECHNICAL COLLEGE
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

ตามพระราชบัญญัติของพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี
พ.ศ. 2546 และท่ีแกไขเพ่ิมเตมิ (มาตรา 9 และมาตรา 16) กำหนดใหสว นราชการและหนวยงานของรัฐจดั ทำ
แผนปฏบิ ัติราชการประจำป เพอ่ื ใหก ารดำเนินงานขององคกรบรรลุตามเปาหมาย และการบรหิ ารงบประมาณ
เปนไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ รวมท้ังมีการติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการปฏบิ ตั ิราชการไดอยา งถกู ตอง
รวดเรว็

วทิ ยาลัยเทคนิคศรสี ะเกษ จึงจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปขน้ึ เพื่อใหก ารปฏิบัติราชการและการ
ใชจายงบประมาณของวิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธ์ิ สอดคลอง
กับยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561–2580) แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนปฏิรูปประเทศ 11 ดาน
แผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา แผนพัฒนาเศรฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560–2579
เปาหมายการพัฒนาท่ียงั่ ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) นโยบายรัฐบาล และจุดเนนของ
กระทรวงศึกษาธิการ และแผนพฒั นาการอาชีวศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

แผนปฏิบัติการประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ ฉบับนี้จัดทำขึ้น เมื่อ
พระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจายประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 มผี ลใชบงั คบั เปนกฎหมาย

วิทยาลัยเทคนิคศรสี ะเกษ สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา มีความคาดหวังวาแผนปฏบิ ัตกิ าร
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ฉบับนี้ จะเปนเคร่ืองมือสำคัญประการหนึ่งสำหรับการนำนโยบาย
ยุทธศาสตร และบทบาทภารกิจ ของวิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ ไปสูการปฏิบัติและขับเคล่ือนการดำเนินงาน
ใหม คี วามตอเนอ่ื งบรรลเุ ปาหมายและมผี ลสมั ฤทธิอ์ ยา งเปนรูปธรรม

วาท่ี ร.ต.
วิทยาลยั เทคนิคศรสี ะเกษ

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
พฤศจิกายน 2565

สารบญั

สวนท่ี 1 บทนำ หนา

1.1 ความเปนมาและความสำคญั 1
1.2 กรอบการกำหนดแผนปฏิบตั ริ าชการ 2
1.2.1 บทบัญญัติตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 2
1.2.2 บรบิ ทเชิงยุทธศาสตร 2
1.2.3 บรบิ ทเชงิ นโยบาย 5
1.2.4 นโยบายและจดุ เนน การปฏิบตั ริ าชการ ของสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 11
1.2.5 มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561 และคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
อาชวี ศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 14
สวนท่ี 2 ขอมูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา
2.1 ขอ มลู พ้นื ฐานวทิ ยาลยั เทคนคิ ศรีสะเกษ 21
2.2 วสิ ัยทัศน พนั ธกิจ วิทยาลยั เทคนิคศรีสะเกษ 23
2.3 ขอมลู บคุ ลากร 25
2.4 หลกั สูตรการจัดการเรยี นการสอน 27
2.5 ขอ มลู นกั เรียน นกั ศกึ ษา ประจำปก ารศึกษา 2565 29
2.6 แผนรับนกั เรียนนกั ศกึ ษา ประจำปการศึกษา 2566 32

สวนท่ี 3 ประมาณการรายรับ-รายจา ย ปงบประมาณ 2566 36
ประมาณการรายรับ-รายจาย

สวนท่ี 4 สรุปงบหนา ปง บประมาณ 2566 40
สรปุ งบหนารายจาย ประจำปงบประมาณ 2566

สว นที่ 5 ปฏทิ นิ การปฏิบตั งิ านโครงการ ประจำปง บประมาณ 2566 65
ปฏทิ นิ การปฏิบัตงิ านโครงการ ประจำปงบประมาณ 2566

ภาคผนวก

1

สวนท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเปน มาและความสำคญั
พระราชกฤษฎกี าวาดวยหลักเกณฑแ ละวิธกี ารบริหารกิจการบานเมืองท่ดี ี พ.ศ. 2546 และพระราชกฤษฎกี า

วา ดว ยหลกั เกณฑและวธิ กี ารบรหิ ารกิจการบานเมอื งท่ดี ี (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2562
มาตรา 9 กำหนดใหการบริหารราชการเพ่ือใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐใหสวนราชการปฏิบัติ

ตอไปนี้
(1) กอ นจะดำเนนิ การตามภารกจิ ใด สว นราชการตอ งจัดทำแผนปฏบิ ัตริ าชการไวเปน การลวงหนา
(2) การกำหนดแผนปฏิบตั ิราชการของสว นราชการตาม (1) ตองมีรายละเอยี ดของข้ันตอนระยะเวลา

และงบประมาณท่ีจะตอ งใชในการดำเนนิ การของแตล ะขนั้ ตอน เปา หมายของภารกจิ ผลสัมฤทธ์ิของภารกิจและ
ตัวชี้วัดความสำเร็จของภารกจิ

(3) สวนราชการตองจัดใหมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตาม
หลกั เกณฑแ ละวิธกี ารท่ีสว นราชการกำหนดขึน้ ซง่ึ ตอ งสอดคลอ งกับมาตรฐานที่ ก.พ.ร. กำหนด

(4) ในกรณีท่ีการปฏิบัติภารกิจหรือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบตอประชาชน
ใหเปน หนาทข่ี องสว นราชการทจ่ี ะตอ งดำเนนิ การแกไ ขหรอื บรรเทาผลกระทบนั้น หรอื เปลี่ยนแผนปฏิบตั ริ าชการ
ใหเ หมาะสม

มาตรา 16 ใหสว นราชการจดั ทำแผนปฏิบัตริ าชการของสวนราชการน้ันโดยจัดทำเปน แผนหา ปซ งึ่ ตอง
สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
นโยบายของคณะรัฐมนตรที ี่แถลงตอ รฐั สภา และแผนอื่นท่เี กีย่ วขอ ง ในแตล ะปงบประมาณ ใหส วนราชการจดั ทำ
แผนปฏิบัติราชการประจำป โดยใหร ะบสุ าระสำคญั เกยี่ วกับนโยบายการปฏิบตั ริ าชการของสว นราชการเปาหมาย
และผลสัมฤทธิ์ของงาน รวมทั้งประมาณการรายไดและรายจายและทรัพยากรอ่ืนท่ีจะตองใชเสนอตอรัฐมนตรี
เพ่ือใหค วามเหน็ ชอบ ฯลฯ

เพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติของ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ
บานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงจัดทำแผนปฏิบัติ
ราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น เพื่อใหการปฏิบัติราชการและการใชจายงบประมาณ
ของวิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษมีประสิทธิผลมีประสิทธิภาพ และเกิดผลสัมฤทธิ์ สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ
แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ 11 ดาน แผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการศึกษาแหงชาติ เปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable
Development Goals : SDGs) นโยบายรัฐบาล นโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายการ
ปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตลอดจนยุทธศาสตร กระทรวงศึกษาธิการและ
แผนพฒั นาการอาชีวศึกษาของสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

2

1.2 กรอบการกำหนดแผนปฏบิ ัติราชการ
1.2.1. บทบัญญตั ติ ามรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560
ตามรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 ซง่ึ เปน กฎหมายหลักในการปกครอง

ประเทศ มีประเดน็ สำคัญท่ีเกี่ยวกับการจัดการศึกษา การสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเขา
รับบริการการศกึ ษาของประชาชน ไดแก

หมวดหนาท่ีของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 (4) บุคคลมหี นาท่ีเขารับการศึกษาอบรมในการศึกษา
ภาคบงั คับ

หมวดหนาที่ของรัฐ มาตรา 54 รัฐตองดำเนินการใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปนเวลาสิบสองป
ตงั้ แตกอ นวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมคี ุณภาพโดยไมเก็บคาใชจายรัฐตองดำเนินการใหเด็กเล็ก
ไดรบั การดูแลและพัฒนากอนเขารับการศกึ ษาตามวรรคหน่ึง เพื่อพัฒนารางกาย จติ ใจ วินัย อารมณ สังคม
และสติปญญา ใหสมกับวัย โดยสงเสริมและสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินและภาคเอกชนเขามามี
สว นรว มในการดำเนินการดวย รฐั ตอ งดำเนินการใหป ระชาชนไดรับการศึกษาตามความตองการในระบบตาง ๆ
รวมทั้งสงเสริมใหมีการเรียนรูตลอดชีวิตและจัดใหมีการรวมมือระหวางรัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ินและ
ภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหนาที่ดำเนินการกำกับ สงเสริมและสนับสนุนใหการจัด
การศึกษาดังกลาวมีคณุ ภาพและไดมาตรฐานสากล ท้ังนี้ตามกฎหมายวาดว ยการศึกษาแหงชาตซิ ่ึงอยางนอย
ตอ งมีบทบัญญัติเก่ยี วกบั การจัดทำแผนการศึกษาแหง ชาติและการดำเนินการและตรวจสอบการดำเนินการให
เปนไปตามแผนการศึกษาแหงชาติดวยการศึกษาทั้งปวงตองมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีวินัยภูมิใจในชาติ
สามารถเชี่ยวชาญไดตามความถนัดของตน และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ
ในการดำเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือใหประชาชนไดรับการศึกษาตาม
วรรคสาม รฐั ตอ งดำเนินการใหผูขาดแคลนทนุ ทรพั ยไ ดรบั การสนบั สนุนคา ใชจายในการจัดการศกึ ษาตามความ
ถนัดของตนใหจัดต้ังกองทุนเพ่ือใชในการชวยเหลือผูขาดแคลนทุนทรัพยเพ่ือลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา
และเพ่ือสงเสริมและพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพครู โดยใหรัฐจัดสรรงบประมาณใหแกกองทุนหรือใช
มาตรการหรือกลไกทางภาษี รวมท้ังการใหผูบริจาคทรัพยสินเขากองทุนไดรบั ประโยชนในการลดหยอนภาษี
ดวย ท้ังน้ีตามที่กฎหมายบัญญัติ ซ่ึงกฎหมายดังกลาวอยางนอยตองกำหนดใหการบริหารจัดการกองทุนเปน
อสิ ระและกำหนดใหม กี ารใชจายเงินกองทุนเพอื่ บรรลวุ ัตถปุ ระสงคด งั กลา ว

1.2.2 บริบทเชงิ ยทุ ธศาสตร
1.2.2.1 ยุทธศาสตรช าติ (พ.ศ. 2561 - 2580)
1) ยทุ ธศาสตรชาตดิ า นความม่ันคง
2) ยทุ ธศาสตรชาตดิ านการสรา งความสามารถในการแขงขนั
3) ยทุ ธศาสตรช าติดานการพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย
4) ยุทธศาสตรชาตดิ านการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
5) ยุทธศาสตรชาติดา นการสรา งการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปนมิตรตอ สิง่ แวดลอ ม
6) ยทุ ธศาสตรช าตดิ า นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั

3
1.2.2.2 แผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรช าติ

1) ประเด็นความมั่นคง
2) ประเดน็ การตางประเทศ
3) ประเด็นการเกษตร
4) ประเดน็ อุตสาหกรรมและบริการแหง อนาคต
5) ประเด็นการทองเที่ยว
6) ประเดน็ พื้นทีแ่ ละเมืองนาอยูอจั ฉรยิ ะ
7) ประเด็นโครงสรา งพน้ื ฐาน ระบบโลจิสตกิ ส และดิจิทัล
8) ประเดน็ ผูประกอบการและวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอมยคุ ใหม
9) ประเดน็ เขตเศรษฐกจิ พิเศษ
10) ประเด็นการปรบั เปลี่ยนคานยิ มและวัฒนธรรม
11) ประเดน็ การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว งชวี ิต
12) ประเดน็ การพฒั นาการเรยี นรู
13) ประเด็นการเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี
14) ประเด็นศกั ยภาพการกีฬา
15) ประเด็นพลงั ทางสังคม
16) ประเด็นเศรษฐกจิ ฐานราก
17) ประเดน็ ความเสมอภาคและหลักประกันทางสงั คม
18) ประเดน็ การเตบิ โตอยา งยั่งยนื
19) ประเด็นการบรหิ ารจัดการน้ำท้ังระบบ
20) ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั
21) ประเดน็ การตอตานการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ
22) ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
23) ประเดน็ การวิจยั และพฒั นานวตั กรรม
1.2.2.3 แผนการปฏิรปู ประเทศ 11 ดา น
1) ดา นการเมอื ง
2) ดา นการบริหารราชการแผน ดิน
3) ดานกฎหมาย
4) ดา นกระบวนการยุติธรรม
5) ดานเศรษฐกิจ
6) ดา นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม
7) ดา นสาธารณสุข
8) ดา นสือ่ สารมวลชนเทคโนโลยีสารสนเทศ
9) ดานสงั คม
10) ดา นพลังงาน
11) ดา นการปองกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ

4
1.2.2.4 แผนการปฏริ ปู ประเทศดานการศกึ ษา

1) การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรูโ ดยรวมของประเทศโดยพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหง ชาติฉบบั ใหมแ ละกฎหมายลำดบั รอง

2) การปฏริ ปู การพัฒนาเดก็ เล็กและเด็กกอ นวยั เรียน
3) การปฏิรปู เพอื่ ลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศกึ ษา
4) การปฏริ ปู กลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพฒั นาผปู ระกอบวชิ าชพี ครแู ละ
อาจารย
5) การปฏริ ปู การจัดการเรียนการสอนเพอ่ื ตอบสนองการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21
6) การปรบั โครงสรางของหนวยงานในระบบการศึกษา เพ่ือบรรลุเปาหมายในการ
ปรับปรุงการจดั การเรยี นการสอน และยกระดบั คณุ ภาพของการจดั การศกึ ษา
7) การปฏิรูปการศกึ ษาและการเรียนรโู ดยการพลกิ โฉมดวยระบบดิจทิ ัล (Digitalization
for Educational and Learning Reform)
1.2.2.5 กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 13
กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 พลิกโฉมประเทศไทย
สูเ ศรษฐกิจสรางคุณคาสังคมเดินหนาอยางย่ังยืน (Hi-Value and Sustainable Thailand) มุงพัฒนา 4 ดาน
ดังนี้
ดา นที่ 1 เศรษฐกิจมูลคาสงู ทีเ่ ปน มิตรตอสิง่ แวดลอม High Value-added Economy

1. เกษตรและเกษตรแปรรูปมูลคาสูงเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและสราง
มูลคาเพ่ิมใหสนิ คาเกษตรดว ยเทคโนโลยี

2. การทองเที่ยวเนนคุณคาและความยั่งยืนกิจกรรมหลากหลายกระจาย
รายไดใ สใ จส่งิ แวดลอ ม

3. ฐานการผลิตยานยนตไฟฟาสรางศักยภาพการผลิตและสงเสริมการใช
ยานยนตไฟฟา

4. การแพทยและสุขภาพครบวงจรยกระดับการแพทยใหทนั สมัยท่วั ถึงเปน
ศนู ยก ลางบริการสุขภาพมูลคาสูง

5. ประตูการคาการลงทุนและโลจิสติกสยกระดับการแพทยของภูมิภาค
เครือขา ยคมนาคมและสง่ิ อำนวยความสะดวกเช่ือมโยงกับภูมภิ าคอยางไรร อยตอ

6. อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะและบริการดิจิทัลสงเสริมการผลิตสินคาอิเล็ก
ทรอนิกสท่ที นั สมัยบรกิ ารดจิ ทิ ลั และดจิ ิทัลคอนเทนตเติบโตรวดเร็ว

ดา นที่ 2 สงั คมแหง โอกาสและความเสมอภาค High Opportunity Society
7. SMEs วิสาหกิจชุมชนและวิสาหกิจเพอื่ สังคมเติบโตอยางตอ เนอ่ื งเสริม

สรา งศกั ยภาพสามารถเขา ถึงเทคโนโลยแี ละตลาดสมยั ใหม
8. พน้ื ท่แี ละเมืองมีความเจรญิ ทันสมยั และนา อยลู ดความเหลอื่ มล้ำ

ระหวา งพนื้ ที่กระจายโอกาสทางเศรษฐกิจและสงั คม
9. ความยากจนขามรุนลดลงและไดรับความคุมครองทางสังคมเพียงพอ

ประชาชนสามารถขยับสถานะและไดร ับการคุมครองทางสังคมอยา งเหมาะสม

5
ดานท่ี 3 วิถชี วี ิตท่ยี ่งั ยืน Eco-friendly Living

10. เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคารบอนต่ำของเสียถูกนำกลับมาใช
ประโยชนและพัฒนาพลังงานหมนุ เวียนเปน แหลงพลังงานหลัก

11. ลดความเส่ียงจากภัยธรรมชาติใชมาตรการเชิงพ้ืนท่ีและเทคโนโลยี
ในการรบั มือภัยธรรมชาติ

ดานที่ 4 ปจจัยสนับสนุนการพลิกโฉมประเทศ Key Enablers for Thailand's
Transformation

12. กำลังคนมีสมรรถนะสูงตอบโจทยการพัฒนาแหงอนาคตระบบ
การศึกษาและพฒั นาฝม อื แรงงานมคี ณุ ภาพคนทกุ ชว งวยั มีการเรียนรูตลอดชวี ติ

13. ภาครัฐท่ีมีสมรรถนะสงู ภาครฐั ทันสมยั มปี ระสทิ ธภิ าพ
1.2.2.6 แผนการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ 2560 - 2579

1) ยทุ ธศาสตรก ารจดั การศกึ ษาเพอื่ ความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ
2) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสรางขีด
ความสามารถในการแขง ขันของประเทศ
3) ยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชวงวยั และการสรางสงั คมแหงการเรียนรู
4) ยทุ ธศาสตรการสรา งโอกาสความเสมอภาคและความเทา เทยี มทางการศึกษา
5) ยุทธศาสตรก ารจัดการศึกษาเพอ่ื สรางเสริมคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน มติ รกบั สงิ่ แวดลอม
6) ยุทธศาสตรก ารพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา
1.2.2.7 เปาหมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
เปา หมายท่ี 4 สรางหลักประกนั วา ทกุ คนมกี ารศึกษาท่มี คี ุณภาพอยา งเทาเทยี มและ
สนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชวี ิต
1.2.3 บรบิ ทเชงิ นโยบาย
1) นโยบายรัฐบาล
ตามคำแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรี พลเอกประยุทธ จนั ทรโ อชา นายกรัฐมนตรี
แถลงตอ รฐั สภา
นโยบายหลกั 12 ดาน
1) การปกปอ งและเชดิ ชูสถาบันพระมหากษตั รยิ 
2) การสรางความมน่ั คงและความปลอดภัยของประเทศและความสงบสขุ ของประเทศ
3) การทํานุบํารุงศาสนาศิลปะและวฒั นธรรม
4) การสรา งบทบาทของไทยในเวทีโลก
5) การพฒั นาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแขง ขนั ของไทย
6) การพัฒนาพนื้ ท่ีเศรษฐกิจและการกระจายความเจรญิ สภู ูมภิ าค
7) การพัฒนาสรา งความเขม แขง็ จากฐานราก
8) การปฏิรปู กระบวนการเรยี นรูและการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทุกชว งวัย
9) การพัฒนาระบบสาธารณสขุ และหลกั ประกนั ทางสงั คมการฟน ฟทู รัพยากรธรรมชาติ
และการรกั ษาส่ิงแวดลอ มเพ่อื สรา งการเติบโตอยางยั่งยนื

6
10) การปฏริ ปู การบริหารจัดการภาครัฐ
11) การปองกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ และกระบวนการยุตธิ รรม
นโยบายเรงดวน 12 เร่ือง
1) การแกไขปญหาในการดาํ รงชวี ติ ของประชาชน
2) การปรับปรงุ ระบบสวสั ดกิ ารและพฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชน
มาตรการเศรษฐกิจเพอ่ื รองรบั ความผนั ผวนของเศรษฐกจิ โลก
3) การใหความชวยเหลอื เกษตรกรและพัฒนานวตั กรรม
4) การยกระดับศักยภาพของแรงงาน
5) การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสอู นาคต
6) การเตรียมคนไทยสศู ตวรรษท่ี 21
7) การแกไขปญหาทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการทง้ั ฝายการเมืองและ
ฝา ยราชการประจาํ
8) การแกไ ขปญหายาเสพตดิ และสรางความสงบสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต
9) การพัฒนาระบบการใหบ ริการประชาชน
10) การจดั เตรยี มมาตรการรองรับภยั แลง และอุทกภยั
11) การสนับสนนุ ใหม ีการศึกษา
12) การรับฟงความเห็นของประชาชนและการดำเนินการเพ่ือแกไขเพมิ่ เตมิ รัฐธรรมนูญ
2) นโยบายและจุดเนน ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการ ไดอ อกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง นโยบายการจัด
การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 เม่ือวันท่ี 25 มิถุนายน พ.ศ. 2564 และ
ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เมื่อวันท่ี 29 ตุลาคม 2564 ไปแลว นั้น
เน่ืองจากในหว งสถานการณการแพรระบาดโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ซง่ึ ทำใหทกุ คนตอ งปรับเปลย่ี นชีวิตใหเขากบั วิถีชีวิตใหม หรอื New Normal จงึ มีความจำเปน ตองปรับเปลี่ยน
รปู แบบการดำเนินการใหม คี วามปลอดภยั ทั้งตอ ผูเรียน ขา ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษาใหเปนไปดว ย
ความเรียบรอย ดังนั้น จึงอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 รฐั มนตรีวา การกระทรวงศึกษาธิการ จงึ ประกาศนโยบายและ
จุดเนนของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังน้ี
หลักการตามนโยบาย ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566
กระทรวงศกึ ษาธิการมงุ ม่นั ดำเนินการภารกจิ หลักตามแผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ
20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) ในฐานะหนวยงานเจาภาพขับเคล่ือนทุกแผนยอยในประเด็น 12 การพัฒนาการ
เรียนรู และแผนยอ ยที่ 3 ในประเดน็ 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชวี ิต รวมทง้ั แผนการปฏริ ูปประเทศ
ดา นการศึกษา (ฉบับปรับปรงุ ) และนโยบายรัฐบาลท้ังในสวนนโยบายหลักดานการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู
และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกชวงวัย และนโยบายเรงดวน เร่ือง การเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21
และพหปุ ญญาของมนุษยท ห่ี ลากหลาย

7
นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาตปิ ระเด็น อ่ืน ๆ
ที่เกี่ยวของ ราง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) โดยเฉพาะหมุด
หมายที่ 12 ไทยมกี ำลังคนสมรรถนะสูง มุงเรียนรอู ยา งตอ เนอ่ื งตอบโจทยการพัฒนาแหงอนาคตแผนการศกึ ษา
แหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมทั้งนโยบายและแผนตาง ๆ ที่เก่ียวของ โดยมุงหวังใหผูเรียนทุกชวงวัยจะ
ไดรับการพัฒนาในทุกมติ ิ ทั้งในดานโอกาส ความเทา เทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมสี มรรถนะท่ี
สำคัญจำเปนในศตวรรษท่ี 21 และมีความพรอมรวมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูความมั่นคง มั่งคั่งและ
ยั่งยืน
ดังน้ัน ในการเรงรัดการทำงานภาพรวมกระทรวงใหเกิดผลสัมฤทธ์ิ เพื่อสรางความ
เช่ือมั่นความไววางใจใหกับสังคมและผลักดันใหการจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงไดก ำหนดหลักการสำคัญในการประกาศนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2566 ไวด ังนี้
สรางความเช่ือมั่น ไววางใจใหกับสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งผูเรยี นและประชาชนโดยให
ทุกหนวยงานนำรูปแบบการทำงานโดยบูรณาการการทำงานรวมกนั และปฏิบัติหนาที่ดว ยความโปรงใส ความ
รบั ผดิ ชอบ ความเปน อนั หนงึ่ อันเดียวกัน
สนับสนุนใหผูปฏิบัติงานทุกคนดำเนินการตามภารกิจดวยความรับผิดชอบตอตนเอง
องคกร ประชาชนและประเทศชาติ โดยใหค วามสำคญั กบั การประสานความรว มมอื จากทุกภาคสวน ผานกลไก
การรับฟงความคดิ เหน็ มาประกอบการดำเนนิ งานทเี่ ปนประโยชนต อ การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา
ดำเนินการตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ไดประกาศและแถลงนโยบายไวแลว
เมื่อวันท่ี 25 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เพื่อมุงเนนผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของภาคการศึกษาท่ีจะกอใหเกิด
ประโยชนตอผูเรียนและประชาชนอยางมีนัยสำคัญ
นโยบายและจดุ เนนประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566
1. การจดั การศกึ ษาเพ่อื ความปลอดภยั
1.1 เรงสรางความปลอดภัยในสถานศึกษาเพื่อเพ่ิมความเชื่อมั่นของสังคม และปองกัน
จากภัยคกุ คามในชีวติ รูปแบบใหม และภัยอื่นๆ โดยมกี ารดำเนนิ การตามแผนและมาตรการดานความปลอดภัย
ใหแกผูเรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบตางๆ อยางเขมขน รวมทั้งดำเนินการศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตาม
ประเมินผลการดำเนินการ และแสวงหาสถานศึกษาท่ีดำเนินการไดดีเย่ียม (Best Practice) เพ่ือปรับปรุง
พัฒนาและขยายผลตอไป
1.2 เรงปลูกฝงทัศนคติ พฤติกรรม และองคความรูที่เก่ียวของ โดยบูรณาการอยูใน
กระบวนการจัดการเรียนรู เพอื่ สรางโอกาสในการเรียนรูและสรางภูมิคุมกนั ควบคูกบั การใชสื่อสังคมออนไลน
ในเชิงบวกและสรางสรรค พรอมท้ังหาแนวทางวิธีการปกปองคุมครองตอสถานการณท่ีเกิดข้ึนกับผูเรียน ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา
1.3 เสริมสรางการรับรู ความเขาใจ ความตระหนัก และสงเสริมคุณลักษณะและ
พฤตกิ รรมท่พี ึงประสงคดา นสิง่ แวดลอม รวมทงั้ การปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคต
1.4 เรงพัฒนาบทบาทและภารกิจของหนวยงานดานความปลอดภัยท่ีมีอยูในทุก
หนวยงาน ในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการใหด ำเนินการอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ
2. การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา

8
2.1 สงเสรมิ สนบั สนุนใหสถานศึกษานำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสกู ารปฏิบัติอยา งเต็ม
รูปแบบ เพอ่ื สรางสมรรถนะท่ีสำคัญจำเปน สำหรับศตวรรษท่ี 21 ใหกบั ผเู รยี น
2.2 จัดการเรียนรูใหผูเรียนไดคนพบพรสวรรค ความสนใจ ความถนัดในอาชีพของ
ตนเอง ดว ยการเรยี นรจู ากการลงมอื ปฏิบัตจิ ริง (Active Learning) ทั้งในหอ งเรียน สถานประกอบการ รวมท้ัง
การเรียนรู ผานแพลตฟอรมและหองดิจทิ ัลใหคำปรึกษาแนะนำ
2.3 พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรูและการวัดประเมินผลฐาน
สมรรถนะสกู ารปฏิบัติในช้ันเรียน เพ่ือสรา งความฉลาดรดู านการอาน วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สรางตรรกะ
ความคดิ แบบเปนเหตุเปนผลใหนกั เรยี นไทยสามารถแขง ขนั ไดกับนานาชาติ
2.4 พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร (Coding) สำหรบั ผูเรียนทุกชวงวัย เพื่อ
รองรบั การเปล่ียนแปลงสูสังคมดจิ ิทลั ในโลกยคุ ใหม
2.5 พัฒนารปู แบบการจดั การเรียนการสอนประวัติศาสตร หนาท่ีพลเมืองและศีลธรรม
ใหมีความทันสมัย นาสนใจ เหมาะสมกบั วัยของผูเรยี น ควบคูไปกบั การเรียนรูประวัติศาสตรของทองถ่ิน และ
การเสริมสรางวิถีชวี ิตของความเปนพลเมอื งที่เขม แข็ง
2.6 จัดการเรียนรูตามความสนใจรายบุคคลของผูเรียนผานดิจิทัลแพลตฟอรมที่
หลากหลายและแพลตฟอรมการเรียนรูอัจฉริยะท่ีรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู สื่อการ
สอนคุณภาพสูงรวมทัง้ มกี ารประเมนิ และพฒั นาผูเ รียน
2.7 สงเสริมการใหความรูและทักษะดานการเงินและการออม (Financial Literacy)
ใหกับผูเรียน โดยบูรณาการการทำงานรวมกับหนวยงานที่เก่ียวของ เชน กระทรวงการคลัง กองทุนการออม
แหงชาติ (กอช.) ธนาคารกรงุ ศรีอยธุ ยา ธนาคารออมสิน สหกรณ ฯลฯ ผานกระบวนการเรยี นรู โครงการ และ
กิจกรรมตาง ๆ และการเผยแพรสื่อแอนิเมชันรอบรูเร่ืองเงิน รวมท้ังสงเสริมใหเกิดการลงทุนเชิงพาณิชย
เพอื่ ใหเกิดผลตอบแทนที่สงู ขึน้
2.8 ปรับโฉมศูนยวทิ ยาศาสตรและศูนยการเรยี นรู ใหมีรูปลักษณท ี่ทันสมัย สวยงาม รม
ร่ืน จูงใจ ใหเขาไปใชบริการ โดยมีมุมคนหาความรูดวยเทคโนโลยีทันสมัย มุมจัดกิจกรรมเชิงสรางสรรค คิด
วิเคราะหของผูเรียน หรือกลุมผูเรียน และการรว มกิจกรรมกับครอบครวั หรือจัดเปนฐานการเรยี นรูดานตางๆ
ท่ีผูเรียนและประชาชนสามารถมาลงทะเบียนเขารวมกิจกรรม และไดรับเอกสารรับรองการเขารวมกิจกรรม
เพื่อนำไปใชประโยชนใ นสว นทีเ่ กยี่ วขอ งหรอื สะสมหนว ยการเรียนรู (Credit Bank) ได รวมท้ังมบี ริเวณพักผอน
ทมี่ ีบริการลักษณะบานสวนกาแฟเพือ่ การเรยี นรู เปน ตน
2.9 สง เสรมิ สนับสนุนสถานศึกษาใหม ีการนำผลการทดสอบทางการศึกษาแหงชาตไิ ปใช
ในการวางแผนการพัฒนาการจดั การเรียนการสอน
2.10 พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เนนสมรรถนะและผลลัพธท่ีตัว
ผเู รียน
3. การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทียมทางการศกึ ษาทุกชวงวัย
3.1 พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศของนักเรียนเปนรายบุคคล เพ่ือใชเปนฐานขอมูลใน
การสงตอไปยังสถานศึกษาในระดับทสี่ ูงขนึ้ โดยเฉพาะระดับการศึกษาภาคบังคบั เพ่ือปองกันเด็กตกหลนและ
เด็กออกกลางคัน

9

3.2 สงเสริมสนับสนนุ ใหเดก็ ปฐมวยั ทีม่ ีอายตุ ้ังแต 3 ปข ้ึนไปทุกคน เขาสรู ะบบการศึกษา
เพ่ือรับการพัฒนาอยา งรอบดา น มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและตอเน่ืองอยางเปนระบบ โดยบูรณาการ
รวมงานกบั ทุกหนว ยงานทเี่ กยี่ วของ

3.3 พัฒนาขอมูลและทางเลือกที่หลากหลายใหก ับผูเรียนกลุม เปาหมายพิเศษ และกลุม
เปราะบาง รวมทงั้ กลุม NEETs ในการเขาถงึ การศึกษา การเรยี นรู และการฝกอาชพี อยางเทา เทยี ม

3.4 พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานโดยครอบครวั (Home School)
และการเรียนรูทีบ่ า นเปน หลกั (Home–based Learning)

4. การศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะอาชีพและเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขงขัน
4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา และหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน แบบโมดูล (Modular
System) มีการบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาชีพเดียวกัน เชื่อมโยงการจัดการอาชีวศึกษาท้ังใน
ระบบ นอกระบบและระบบทวิภาคี รวมทั้งการจัดการเรียนรูแบบตอเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสมหนวย
การเรียนรู (Credit Bank) รว มมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชวี ศึกษาอยา งเขม ขน เพื่อการมีงานทำ
4.2 ขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนากำลังคนตามกรอบคุณวุฒิแหงชาติ และยกระดับ
สมรรถนะกำลังคนตามกรอบคุณวุฒิอางอิงอาเซียน และมาตรฐานสากล รวมทั้งขับเคล่ือนความเปนเลิศ
ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) โดยความรวมมือกับภาคเอกชนและสถานประกอบการในการผลิต
กำลังคนท่ีตอบโจทยก ารพัฒนาประเทศ
4.3 พัฒนาสมรรถนะอาชพี ที่สอดคลองกับความถนดั ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-
skill และ New skill เพ่ือใหทุกกลุมเปาหมายมีการศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้น พรอมทั้งสรางชองทางอาชีพใน
รูปแบบหลากหลายใหครอบคลุมผูเรียนทุกกลุมเปาหมาย รวมทั้งผูสูงอายุ โดยมีการบูรณาการความรวมมือ
ระหวางหนวยงานท่ีเกี่ยวของ
4.4 สงเสริมการพัฒนาแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา (V-NET)
ตามสมรรถนะท่ีจำเปนในการเขาสอู าชีพ และการนำผลการทดสอบไปใชคัดเลือกเขาทำงาน ศึกษาตอ ขอรับ
ประกาศนียบตั รมาตรฐานสมรรถนะการใชด จิ ทิ ัล (Digital Literacy) การขอรับวฒุ ิบตั รสมรรถนะภาษาอังกฤษ
(English Competency)
4.5 จัดต้ังศูนยใหคำปรึกษาการจัดต้ังธุรกิจ (ศูนย Start up) ภายใตศูนยพัฒนาอาชีพ
และการเปนผูประกอบการ และพัฒนาศูนยบมเพาะผูประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการสงเสริม และพัฒนา
ผูประกอบการดานอาชีพท้ังผูเรียนอาชีวศึกษาและประชาชนท่ัวไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถาน
ประกอบการ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่สอดคลองกบั การประกอบอาชพี ในวถิ ีชวี ิตรูปแบบใหม
4.6 เพ่ิมบทบาทการอาชีวศึกษาในการสรางและพฒั นาผูประกอบการและกำลังแรงงาน
ในภาคเกษตร โดยเฉพาะกลุมเกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) และกลุมยุวเกษตรกรอัจฉริยะ (Young
Smart Farmer) ที่สามารถรองรบั การประยุกตใชเทคโนโลยีสมยั ใหมได
4.7 สงเสริม และสนับสนุนการผลิตและพัฒนากำลังคนทกุ ชวงวัยเพ่ือการมีงานทำ โดย
บรู ณาการความรวมมือในการจัดการศึกษารวมกับหนวยงาน องคกรท้ังภาครัฐ เอกชน ชุมชน องคกรปกครอง
สว นทอ งถน่ิ และสถาบันสงั คมอืน่
4.8 พัฒนาหลกั สตู รอาชีพสำหรบั กลุมเปาหมายผอู ยูนอกระบบโรงเรยี นและประชาชนท่ี
สอดคลองมาตรฐานอาชีพ เพ่ือการเขาสูการรับรองสมรรถนะและไดรับคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิ

10

แหงชาติ รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนรูและมวลประสบการณเทียบโอนเขาสูการสะสมหนวยการเรียนรู
(Credit Bank) ได

5. การสงเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ

5.1 สงเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑการประเมินวิทยฐานะแนวใหม
Performance Appraisal (PA) โดยใชระบบการประเมินตำแหนงและวิทยฐานะของขาราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA)

5.2 สงเสริมสนับสนุนการดำเนินการ พัฒนาสมรรถนะทางดานเทคโนโลยีดิจิทัลตาม
กรอบระดับสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน และระดบั อาชีวศึกษา

5.3 พัฒนาครูใหมีความพรอมดานวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู การใช
เทคโนโลยีและนวัตกรรมผานแพลตฟอรมออนไลนตาง ๆ รวมท้ังใหเปนผูวางแผนเสนทางการเรียนรู การ
ประกอบอาชีพ และการดำเนินชีวติ ของผูเรียนไดตามความสนใจและความถนัดของแตละบุคคล

5.4 พัฒนาขีดความสามารถของขาราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ใหมี
สมรรถนะที่สอดคลอ งและเหมาะสมกับการเปลยี่ นแปลงของสังคมและการเปลย่ี นแปลงของโลกอนาคต

5.5 เรงรัดการดำเนินการแกไขปญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาท้ังระบบ
ควบคกู บั การใหความรูด านการวางแผนและการสรางวนิ ัยดานการเงินและการออม

6. การพฒั นาระบบราชการ และการบริการภาครัฐยคุ ดิจทิ ัล
6.1 ขบั เคลือ่ นการพฒั นาระบบราชการ 4.0 ดวยนวตั กรรม และการนำเทคโนโลยดี ิจทิ ัล
มาเปนกลไกหลัก ในการดำเนินงาน (Digitalize Process) การเช่ือมโยงและแบงปนขอมูล (Sharing Data)
การสง เสริมความรว มมอื บรู ณาการกบั ภาคสวนตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
6.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศใหสามารถใชงาน
เครือขายส่ือสารขอมูลเชื่อมโยงหนวยงานภาครัฐไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับระบบราชการ 4.0
สามารถตอบสนองความตอ งการของประชาชนไดใ นทกุ เวลา ทกุ สถานท่ี ทกุ อุปกรณแ ละทกุ ชอ งทาง
6.3 ปรับปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา โดยยึดหลัก
ความจำเปนและใชพื้นท่เี ปนฐาน ท่มี งุ เนนการพฒั นาคุณภาพผูเรียนเปนสำคญั
6.4 นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในระบบการคัดเลือกขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาในตำแหนงและสายงานตาง ๆ
6.5 สงเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสวนราชการใหเปนไปตามกลไกการประเมิน
คุณธรรมและความโปรง ใสในการดำเนนิ งานของหนว ยงานภาครฐั
7. การขบั เคลือ่ นกฎหมายการศกึ ษาและแผนการศกึ ษาแหงชาติ
เรงรัดการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองและแผนการศึกษาแหงชาติเพ่ือรองรับ
พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหงชาติควบคกู บั การสรา งการรบั รูใหก ับประชาชนไดรบั ทราบอยา งทัว่ ถึง
แนวทางการขับเคลอื่ นนโยบายสกู ารปฏบิ ตั ิ

11
ใหสวนราชการ หนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นำนโยบายและจุดเนนของ
กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขางตน เปนกรอบแนวทางในการจัดการศึกษา โดย
ดำเนนิ การจดั ทำแผนและงบประมาณรายจา ยประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566
ใหมีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคล่ือนนโยบายการจัด
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ สูการปฏิบัติระดับพ้ืนที่ ทำหนาที่ตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลใน
ระดับนโยบาย และจัดทำรายงานเสนอตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทราบตามลำดับ
กรณีมีปญหาในเชิงพ้ืนท่ีหรือขอขัดขอ งในการปฏิบัติงาน ใหศึกษา วิเคราะหขอมูลและ
ดำเนินการแกไขปญหาในระดับพื้นที่กอน โดยใชภาคีเครือขายในการแกไขขอขัดของ พรอมทั้งรายงานตอ
คณะกรรมการติดตามฯ ตามขอ 2 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
ตามลำดบั
สำหรับภารกิจของสวนราชการหลักและหนวยงานที่ปฏิบัติในลักษณะงานในเชิงหนาท่ี
(Function) งานในเชิงยุทธศาสตร (Agenda) และงานในเชิงพ้ืนท่ี (Area) ซึ่งไดด ำเนินการอยูกอนแลว หากมี
ความสอดคลองกับหลักการนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566
ขางตน ใหถ ือเปนหนา ท่ขี องสว นราชการหลกั และหนวยงานท่ีเก่ยี วขอ งตองเรง รัด กำกบั ติดตาม ตรวจสอบให
การดำเนินการเกดิ ผลสำเร็จ และมีประสิทธิภาพอยา งเปนรูปธรรม
ท้ังนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2564 นางสาวตรีนุช
เทียนทอง รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิ าร
1.2.4 นโยบายและจุดเนนการปฏิบัติราชการ ของสำนักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศกึ ษา ปงบประมาณ พ.ศ. 2566
ขับเคล่ือนพัฒนาคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาเพื่อใหการผลิตและพัฒนากำลังคน
อาชีวศึกษาสมรรถนะสูงเปนหลักในการพัฒนาและเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ (อาชีวะ
พรอ ม การศึกษาพรอ ม ประเทศไทยเดินหนา)
7 นโยบายเรงดวน สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

1. ยกระดบั อาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี
2. ยกระดับโครงการอาชีวะอยูประจำ เรยี นฟรี มีอาชพี
3. ขบั เคลือ่ นโครงการทวิ ศกึ ษาแนวใหม
4. ขบั เคลือ่ นศนู ยอาชีวะชวยประชาชน
5. ขับเคลอ่ื นศนู ยความปลอดภยั สอศ.
6. ปฏิรปู กลุม วิทยาลยั เกษตรและประมง
7. สรางภาพลักษณอ าชวี ศกึ ษา
5 นโยบายหลกั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
1. ยกระดับคณุ ภาพอาชวี ศึกษารฐั และเอกชน (Quality)

ประกอบดว ย
1.1 นำพระบรมราโชบายดานการศกึ ษาและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใน
การจดั การศกึ ษา

12
1.2 เสริมสรางอัตลักษณและความเขมแข็งที่โดดเดนของสถานศึกษารัฐและ
เอกชนแตละประเภทและรวมถงึ สถาบันการอาชีวศกึ ษา (1 สถานศึกษา 1 จุดเดน)
1.3 ขับเคลอ่ื นและขยายผลศนู ยความเปนเลศิ ทางการอาชีวศึกษา ( Excellent
Center) และศูนยบริหารเครือขายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา ( Center of Vocational
Manpower Networking Management : CVM)
1.4 ยกระดับคุณภาพหลักสูตรอาชีวศึกษาที่ยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพ
มาตรฐานการปฏบิ ัติงานทงั้ ในระดับชาติและระดับสากล
1.5 ปรับรูปแบบการเรียนรูโดยใชชุดการเรียนรูอาชีพ ( Module) และการ
เรียนรูคูการปฏิบัติ ( Work Based Learning) ภายใตหลักคิด “ ลดเวลาเรียนทฤษฎี เพ่ิมเวลาฝก
ประสบการณ”
1.6 พัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษารัฐและเอกชนใหมีสมรรรถนะในการ
จดั การอาชีวศกึ ษาอยางมคี ุณภาพและทนั ตอ การเปล่ยี นแปลง
1.7 ขยายและยกระดับคุณภาพการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี (มุงเปาทวิ
ภาคี 50%)
1.8 การจัดการเรียนรูท่ีเนนการพัฒนาผูเรียนท้ัง Soft Skill และ Hard Skill
โดยยึดหลัก “คณุ ธรรมนำทักษะอาชพี ”
1.9 พัฒนาทักษะทางภาษาและดิจิทัลใหกับครู บุคลากรทางการศึกษาและ
ผูเรียน
1.10 เพิ่มสมรรถนะผูเรียนสูกำลังคนสมรรถนะสูง ดวยการสรางผลงาน
สรา งสรรค งานวจิ ัย และนวตั กรรมอาชีวศึกษา
1.11 สง เสริ มและสนบั สนุนใหผูเรยี น “มอี าชีพ มรี ายได มงี านทำ มเี งนิ ฝาก”
1.12 สง เสิรมและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาขนาดเลก็
1.13 พัฒนาสื่อและครุภัณฑการศึกษาที่ทันสมัย ตอบโจทยการศึกษาปจจุบัน
และอนาคต
2. ยกระดับความรวมมอื ( Cooperation) และสรางภาพลักษณอาชีวศึกษารัฐ
และเอกชน (Re-branding) ประกอบดวย
2.1 พัฒนาและสรางแรงจูงใจในการทำงานรวมกับภาครัฐและเอกชน เพื่อเพ่ิม
ความรว มมือในการจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคคี ุณภาพสูงและการผลติ และพฒั นากำลังคนสมรรถนะสูง
ใหตอบโจทยประเทศ
2.2 สรา งความเขมแขง็ ภาคีเครอื ขายความรว มมอื คณุ ภาพสูง ทง้ั ภายในประเทศ
และตา งประเทศ เพอื่ การระดมทรพั ยากรและยกระดับคุณภาพการอาชีวศกึ ษา
2.3 สรางความเขมแข็งใหก ับ อ.กรอ.อศ. เพ่ือเปนกำลไกสำคัญในการขับเคลื่อน
และยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาอาชีวศึกษา
2.4 เสริมสรางภาพลักษณ คุณคาอาชีวศกึ ษาและจิตอาสา ดวยแนวคิด “อาชีวะ
ชว ยประชาชน”และประชาสัมพนั ธเชงิ รกุ อยางเปน ระบบ ตอเน่อื งและหลากหลายชองทาง
2.5 นำหลักการ Soft Power มาเปนกลไกในการสือ่ สารอาชวี ศึกษาสูสงั คม

13
2.6 พลิกโฉมภาพลักษณอาชีวศึกษาดวยการบูรณาการนวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ
และองคความรอู าชวี ศึกษาสูชมุ ชน สงั คม ประเทศชาตแิ ละนานาชาติ ( OVEC Show Share)
2.7 เผยแพรผลการดำเนนิ งานและขบั เคลอื่ นการอาชวี ศกึ ษาในมติ ิตาง ๆ
สูสาธารณผา นรายการ R-Channel
2.8 ยกระดับและใหความสำคัญกับการใหบริการประชาชนในทุกกระบวนการ
ปฏบิ ัตงิ าน
3. ขยายโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา ( Equity)
3.1 สรา งโอกาสและลดความเหล่ือมล้ำในการเขาถงึ การอาชวี ศกึ ษาดวยโครงการ
ทวิศึกษาแนวใหม
3.2 เสริมสรางความเขมแข็งและตอเน่ืองใหกับโครงการอาชีวะอยูประจำ เรียน
ฟรี มอี าชพี และโครงการอาชวี ะสรางชา งฝม อื ตามแนวทางโรงเรยี นพระดาบส
3.3 สงเสริมและสนับสนุนใหเยาวชนทุกคนไดรับโอกาสในการศึกษาระดับ
อาชีวศึกษาอยางทั่วถึงและเทาเทียมกันและจัดการอาชีวศึกษาท่ีมุง ตอบสนองความตองการเชิงพืน้ ที่ในทุก
รูปแบบ
3.4 ขบั เคลือ่ นระบบการอาชีวศึกษาใหเอือ้ ตอผูเรียนทุกลุมเปาหมายและชวง
วยั การจัดอาชีวศกึ ษาใหเปนระบบเปด (Open Entry Open Exit ) โดยใหความสำคัญกบั ระบบสะสมเทยี บ
โอนและธนาคารหนวยกติ (Credit Bank)
3.5 ขับเคลือ่ นตอยอดสมรรถนะวิชาชีพกำลงั คน ( Up-skilling Re-Skilling
New Skill)
3.6 ขยายและยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาสำหรับผูมีความตองการ
และจำเปนพเิ ศษและผูสูงวยั
4. เสริมสรางอาสชวี ศึกษาปลอดภัย (Safety)
4.1 จัดตั้งและขับเคลื่อนดำเนินงานศูนยความปลอดภัย (OVEC Safety
Center) ท้ังในระดับ อศจ. และสถานศึกษา
4.2 พัฒนาระบบดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน/นักศกึ ษา ทเี่ ขม ขนและมปี ระสิทธภิ าพ
4.3 สรางวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาใหเ ปน “สถานศกึ ษาแหง ความสุข”
4.4 สรางความรว มมือกบั สาธารณสุข (สธ.) ในพื้นที่ เพ่อื สราง “1 วทิ ยาลัย 1 ครู
อนามยั ”
4.5 สงเสริมและสนับสนุนกิจกรรม อวท. / อกท. เพื่อเปนกลไกหลักในการ
พัฒนาคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข องผูเ รยี น
4.6 สงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมกีฬา นันทนาการ และพหุปญญาที่
หลากหลาย รวมถึงการปลกู ฝง คุณธรรมและจริยธรรมใหกับผเู รียน
4.7 สงเสริมการนำองคความรู งานวิจัย และการใชนวัตกรรมอาชีวศึกษาเพื่อ
ความปลอดภัยในสถานศึกษา ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
5. เพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การ (Efficiency)
5.1 สรางพลังรวมภายใน สอศ. ที่เขมแข็ง ท้ังในระดับสวนกลางและระดับพ้ืนที่
“ OVEC One Team”

14

5.2 สรา งคา นิยมองคกร “OVEC”
5.3 ขับเคลื่อนและบริหารงานโดยยืดหลักธรรมาภิบาล (Good governance)
5.4 ยกระดับการขบั เคลือ่ นดำเนินงานตามแนวทางการพัฒนาระบบราชการ 4.0
(PMQA 4.0) และ ITA รวมถึงการเพ่มิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการในทกุ กระบวนการปฏิบตั งิ าน
5.5 สง เสรมิ และพัฒนาระบบการประเมนิ คุณภาพการอาชวี ศึกษา
5.6 สง เสรมิ และสนบั สนนุ การพฒั นาคุณภาพชวี ิตและความกา วหนา ในวิชาชพี
ใหก บั บคุ ลากรอาชวี ศึกษารฐั และเอกชน
5.7 นำระบบดิจิทัลเทคโนโลยีเขามาใชในการพฒั นาการจัดการอาชีวศกึ ษาและ
การบรหิ ารจัดการ
5.8 พฒั นาระบบฐานขอ มลู ใหเ ปน ระบบเดียวกัน (Single Data) และสามารถ
เชอื่ มโยงกัน (Link Data)
นโยบายการรับนักเรยี น/นกั ศึกษา ประจำปก ารศึกษา 2566
• เปาหมายการเพ่ิมปริมาณผูเรยี น 5%
• มุงการรบั นักเรยี นนักศึกษาในระบบทวภิ าคี (เปาหมาย สอศ. 30% ในป 2566
• สถานศกึ ษารัฐ เปดรับนักเรยี นนกั ศึกษาในสาขาท่ีทนั สมัย ตอบโจทยก ารศึกษาใน
ปจ จุบัน และอนาคต ตอบโจทยของประเทศและพ้นื ที่
• สถานศึกษาเอกชน เปดรบั นกั เรียนน/นักศกึ ษาตามศกั ยภาพและความพรอ ม
1.2.5 มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2561 และคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษา
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
1) มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561
จากสาระสำคัญของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม
มาตรา 34 วรรคสองและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 17
กำหนดใหคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พิจารณามาตรฐานการอาชีวศึกษาท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ ประกอบกับกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561 ขอ 3 กำหนดใหสถานศึกษาจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาให
เปนไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด คณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาจึงไดพิจารณามาตรฐาน การอาชีวศึกษา เพ่ือใชในการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพ
การศึกษาดานอาชีวศึกษา ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสูง และการฝกอบรม
วชิ าชพี ประกอบดวย 3 มาตรฐาน 9 ประเดน็ การประเมนิ ดงั น้ี
มาตรฐานท่ี 1 คุณลกั ษณะของผสู ำเร็จการศึกษาอาชวี ศกึ ษาทพ่ี ึงประสงค
การจัดการอาชีวศึกษา เปนการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผูสำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา
ใหมีความรู มีทักษะและการประยุกตใช เปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษาและ
มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะท่พี ึงประสงค ประกอบดวยประเด็นการประเมนิ ดงั น้ี

15
1.1 ดา นความรู
ผูสำเรจ็ การศึกษาอาชีวศึกษามีความรเู กี่ยวกบั ขอเทจ็ จริง ตามหลักการ ทฤษฏี และแนว
ปฏิบัติตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับสาขาวิชาทเี่ รยี น หรือทำงาน โดยเนนความรูเชิงทฤษฏีและหรือขอ เท็จจริงเปนไป
ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศกึ ษา
1.2 ดานทักษะและการประยุกตใช
ผูสำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะท่ีจำเปนในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และ
ทกั ษะชีวิตเปนไปตามมาตรฐานคุณวฒุ อิ าชวี ศึกษาแตละระดบั การศึกษา สามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงาน
และการดำรงชวี ติ อยรู ว มกับผูอ่นื ไดอ ยางมคี วามสขุ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและมีสขุ ภาวะทดี่ ี
1.3 ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค
ผูสำเร็จการศึกษาอาชวี ศึกษามีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจ
นิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผูอ่ืน มีความรับผิดชอบ
ตามบทบาทหนาที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีจิตสาธารณะ
และมจี ติ สำนึกรักษส ่ิงแวดลอม
มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชีวศกึ ษา
สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑที่กำหนดใชหลักสูตรฐาน
สมรรถนะใน การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษา
อยา งมีประสิทธิภาพ มีความสำเรจ็ ในการดำเนินการตามนโยบายสำคญั ของหนวยงานตนสังกดั หรือหนวยงาน
ท่กี ำกับดูแลสถานศึกษา ประกอบดว ยประเดน็ การประเมิน ดงั น้ี
2.1 ดา นหลักสตู รอาชีวศึกษา
สถานศึกษาใชหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีสอดคลองกับความตองการของผูเรียน ชุมชน
สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรงุ รายวิชาเดิม หรอื กำหนดรายวิชาใหม หรือกลุมวิชาเพ่ิมเติมให
ทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความตองการของตลาดแรงงาน โดยความรวมมือกับสถาน
ประกอบการหรอื หนวยงานที่เกย่ี วของ
2.2 ดานการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษา
สถานศึกษามีครทู ่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและมจี ำนวนตามเกณฑที่กำหนด ไดรับการพฒั นา
อยางเปนระบบตอเนื่อง เพื่อเปนผูพรอมทงั้ ดา นคุณธรรม จริยธรรมและความเขมแขง็ ทางวิชาการและวิชาชีพ
จัดการเรียนการสอน ที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ตอบสนองความตองการของผูเรียนท้ังวัยเรียนและวัยทำงาน
ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา แตละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือขอบังคับเก่ียวกับการจัด
การศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแตละหลักสูตร สงเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแลใหครูจัดการเรียน
การสอนรายวิชาใหถกู ตอ งครบถวนสมบรู ณ
2.3 ดา นการบริหารจัดการ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานท่ี หองเรียน
หอ งปฏบิ ัตกิ าร โรงฝกงาน ศูนยวิทยบริการ สื่อ แหลงเรยี นรู เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ และงบประมาณ
ของสถานศึกษาท่ีมีอยูอ ยา งเต็มศกั ยภาพและมีประสทิ ธภิ าพ
2.4 ดานการนำนโยบายสูการปฏิบัติ
สถานศึกษามีความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบาย
สำคัญท่ีหนวยงาน ตนสังกัดหรอื หนวยงานท่ีกำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความรวมมือของผูบริหาร

16
ครู บุคลากรทางการศึกษาและผูเรียน รวมทั้งการชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนจากผูปกครอง ชุมชน สถาน
ประกอบการ และหนวยงานทเ่ี กย่ี วขอ งทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชน

มาตรฐานที่ 3 การสรา งสงั คมแหงการเรียนรู
สถานศึกษารวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ เพื่อสรางสังคมแหงการเรียนรู มีการ
จัดทำนวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ งานสรา งสรรค งานวิจัย ประกอบดวยประเด็นการประเมนิ ดงั น้ี
3.1 ดานความรวมมอื ในการสรา งสงั คมแหงการเรียนรู
สถานศึกษามีการสรางความรวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ ท้ังในประเทศและ
ตางประเทศในการจัดการศกึ ษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู การบริการทางวิชาการ
และวชิ าชีพโดยใชเ ทคโนโลยที ี่เหมาะสมเพื่อพฒั นาผเู รียนและคนในชมุ ชนสูสงั คมแหงการเรียนรู
3.2 ดา นนวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ งานสรา งสรรค งานวจิ ัย
สถานศึกษาสง เสริมสนับสนุนใหมีการจดั ทำนวตั กรรมสิ่งประดษิ ฐงานสรา งสรรคงานวจิ ัย
โดยผูบริหารครูบุคลากรทางการศึกษาผูเรียนหรือรวมกับบุคคลชุมชนองคกรตาง ๆ ท่ีสามารถนำไปใช
ประโยชนไดต ามวตั ถุประสงคและเผยแพรส สู าธารณชน
2) คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561
กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 สำหรับ
สถานศึกษา ท่ีจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ใชเปนแนวทางในการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพ
การศึกษา ดานอาชีวศึกษาใหเปนไปตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาจึงไดกำหนดเกณฑก ารประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐาน
การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 จำนวน 5 ดาน ดงั นี้
ดา นท่ี 1 ดา นผูเรยี นและผสู ำเรจ็ การศึกษา

1.1 การดแู ลและแนะแนวผูเ รยี น
1.2 ผูเ รยี นมีคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค
1.3 ผเู รียนมีสมรรถนะในการเปนผูป ระกอบการหรือการประกอบอาชพี อสิ ระ
1.4 ผลงานของผเู รียนดานนวตั กรรมสงิ่ ประดิษฐง านสรา งสรรคหรืองานวิจยั
1.5 ผลการแขง ขนั ทักษะวชิ าชพี
1.6 ผลการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ
1.7 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า นอาชีวศึกษา (V-NET)
1.8 การมงี านทำและศกึ ษาตอของผูสำเร็จการศึกษา
ดานท่ี 2 ดานหลกั สตู รและการจัดการเรียนการสอน
2.1 การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ

2.1.1 การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะอยา งเปน ระบบ
2.1.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือ
ปรบั ปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาเพม่ิ เติม
2.2 การจดั การเรยี นรูสูการปฏิบตั ิที่เนนผูเรียนเปน สำคญั
2.2.1 คณุ ภาพของแผนการจดั การเรยี นรสู กู ารปฏบิ ตั ิ
2.2.2 การจัดทำแผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติท่ีเนนผูเรียนเปน
สำคญั และนำไปใชในการจดั การเรยี นการสอน

17

สถานศกึ ษา ดา นที่ 3 ดา นครผู ูสอนและผบู รหิ ารสถานศกึ ษา
3.1 ครูผสู อน
3.1.1 การจดั การเรียนการสอน
3.1.2 การบรหิ ารจัดการชั้นเรยี น
3.1.3 การพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพ
3.2 ผบู ริหารสถานศึกษา
3.2.1 การบริหารสถานศกึ ษาแบบมสี ว นรวม
3.2.2 การบริหารจัดการระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

ดา นท่ี 4 ดา นการมีสวนรว ม
4.1 การจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี
4.2 การระดมทรัพยากรเพื่อการจดั การเรยี นการสอน
4.3 การบรกิ ารชุมชนและจิตอาสา

ดา นท่ี 5 ดา นปจจยั พนื้ ฐาน
5.1 อาคารสถานทีห่ องเรยี นหองปฏบิ ตั กิ ารโรงฝกงาน หรืองานฟารม
5.2 ระบบสาธารณปู โภคพน้ื ฐาน
5.3 แหลง เรียนรแู ละศูนยว ิทยบริการ

สถานศึกษา 5.4 ระบบอินเทอรเ นต็ ความเรว็ สูงเพอื่ การใชง านดานสารสนเทศภายใน
ในชัน้ เรยี น 5.5 การเขาถึงระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพ่ือการจัดการเรียนการสอน

1.3 การประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561

ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 สำหรับสถานศึกษา
ท่ีจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ใชเปนแนวทางในการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
ดานอาชีวศึกษาใหเปนไปตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 สำนกั งานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา จึงไดกำหนดเกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการ
อาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561 จำนวน 5 ดาน โดยกำหนดคานำ้ หนกั การใหคะแนนในแตล ะดาน ดังนี้

1. ดานผเู รยี นและผูสำเร็จการศกึ ษา (คาน้ำหนัก รอ ยละ 50)
2. ดานหลกั สูตรและการจัดการเรยี นการสอน (คาน้ำหนัก รอยละ 10)
3. ดานครผู ูสอนและผบู ริหารสถานศกึ ษา (คา นำ้ หนัก รอยละ 20)
4. ดานการมสี ว นรวม (คานำ้ หนกั รอยละ 10)
5. ดานปจ จยั พืน้ ฐาน (คา นำ้ หนัก รอ ยละ 10)

18

ตาราง แสดงความสัมพันธค วามเช่ือมโยงระหวา งการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา กับประเด็น
การประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 สำหรับสถานศกึ ษาท่จี ัดการศกึ ษาใน
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี และระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสงู

การประเมินคุณภาพการศึกษา คา น้ำหนกั ประเดน็ การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตาม
ของสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา (คะแนน) มาตรฐานการอาชวี ศึกษาพ.ศ. 2561
1. ดานผูเรียนและผสู ำเรจ็ การศกึ ษา
1.1 การดูแลและแนะแนวผูเรียน (50)
1.2 ผเู รียนมคี ณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค (2) 1.3 ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะ
1.3 ผเู รียนมีสมรรถนะในการเปน
ผูประกอบการ หรือการประกอบอาชีพ ที่พงึ ประสงค
อิสระ (2) 1.3 ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะ
1.4 ผลงานของผูเ รยี นดานนวัตกรรม
ส่ิงประดษิ ฐงานสรา งสรรคห รืองานวิจยั ท่พี งึ ประสงค
(3) 1.1 ดา นความรู
1.5 ผลการแขงขนั ทักษะวิชาชพี
1.2 ดานทักษะและการประยุกตใช
1.6 ผลการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี 1.3 ดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะ

1.7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ท่ีพงึ ประสงค
ดา นอาชีวศึกษา (V-NET) (3) 1.1 ดานความรู

1.2 ดานทักษะและการประยกุ ตใ ช
1.3 ดานคุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะ

ที่พงึ ประสงค
3.2 ดา นนวตั กรรม สิง่ ประดิษฐ งานสรา ง

สรรค งานวิจยั
(2) 1.2 ดานทกั ษะและการประยกุ ตใช

1.3 ดานคุณธรรม จรยิ ธรรม และ
คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค

(20) 1.1 ดานความรู
1.2 ดา นทักษะและการประยุกตใ ช
1.3 ดานคุณธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะ
ท่พี งึ ประสงค

(3) 1.1 ดา นความรู
1.2 ดานทักษะและการประยกุ ตใ ช
1.3 ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ
คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค

19

การประเมินคุณภาพการศึกษา คา นำ้ หนกั ประเดน็ การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตาม
ของสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา (คะแนน) มาตรฐานการอาชีวศกึ ษาพ.ศ. 2561
1.8 การมีงานทำและศกึ ษาตอของผูสำเร็จ
(15) 1.3 ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะ
การศกึ ษา ท่พี งึ ประสงค

2. ดานหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอน 10

2.1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ 5

2.1.1 การพฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ (2) 2.1 ดา นหลกั สูตรอาชวี ศึกษา
อยา งเปนระบบ (3) 2.1 ดานหลกั สูตรอาชวี ศกึ ษา

2.1.2 การพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ 5 2.1 ดานหลักสูตรอาชวี ศึกษา
หรือปรับปรงุ รายวิชาหรือปรับปรงุ รายวชิ าเดมิ (2) 2.1 ดานหลกั สูตรอาชวี ศกึ ษา
หรือกำหนดรายวชิ าเพิม่ เตมิ (3) 2.1 ดา นหลกั สูตรอาชีวศึกษา
2.2 การจัดการเรียนรูสกู ารปฏิบัติทเี่ นนผูเ รียน
เปนสำคัญ (3) 2.2 ดานการจัดการเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษา
3.2 ดานนวัตกรรมสง่ิ ประดษิ ฐงานสรางสรรค
2.2.1 คุณภาพของแผนการจดั การเรยี นรู 20
สูการปฏบิ ตั ิ 10 งานวจิ ยั
(5) 2.2 ดา นการจัดการเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษา
2.2.2 การจัดทำแผนการจดั การเรียนรสู ู 2.3 ดา นการบริหารจดั การ
การปฏิบตั ทิ ่เี นนผเู รยี นเปนสำคัญและนำไปใช 3.1 ดา นความรว มมอื ในการสรางสงั คมแหง
ในการจัดการเรยี นการสอน
การเรยี นรู
2.2.2 การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู
สกู ารปฏิบตั ิทเี่ นนผเู รยี นเปน สำคญั และนำไปใช

ในการจดั การเรยี นการสอน
3. ดานครผู สู อนและผบู รหิ ารสถานศกึ ษา

3.1 ครผู ูสอน
3.1.1 การจดั การเรียนการสอน

3.1.2 การบรหิ ารจัดการชน้ั เรียน (3)
3.1.3 การพฒั นาตนเองและพฒั นา (2)

วชิ าชีพ

20

การประเมินคุณภาพการศึกษา คานำ้ หนัก ประเด็นการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตาม
ของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา (คะแนน) มาตรฐานการอาชีวศกึ ษาพ.ศ. 2561
3.2 ผบู ริหารสถานศึกษา 10
3.2.1 การบริหารสถานศึกษาแบบ (5) 2.3 ดานการบริหารจัดการ
มีสว นรวม 3.1 ดานความรวมมอื ในการสรางสงั คมแหง
การเรยี นรู
3.2.2 การบรหิ ารจัดการระบบขอ มูล (5) 2.3 ดานการบริหารจัดการ
สารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา 3.1 ดา นความรว มมอื ในการสรางสังคมแหง
การเรยี นรู
4. ดา นการมสี วนรว ม 10
4.1 การจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี (6) 2.3 ดานการบริหารจดั การ
2.4 ดานการนำนโยบายสกู ารปฏิบตั ิ
4.2 การระดมทรพั ยากรเพ่อื การจดั การ (2) 2.3 ดา นการบริหารจัดการ
เรยี นการสอน 2.4 ดานการนำนโยบายสกู ารปฏบิ ัติ
3.1 ดานความรวมมือในการสรา งสังคมแหง
การเรียนรู
4.3 การบรกิ ารชุมชนและจติ อาสา (2) 1.3 ดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะ
ท่พี ึงประสงค
2.4 ดานการนำนโยบายสกู ารปฏิบัติ
3.1 ดานความรวมมอื ในการสรา งสงั คมแหง
การเรยี นรู
5. ดานปจ จัยพืน้ ฐาน 10
5.1 อาคารสถานทห่ี อ งเรียนหอ งปฏิบัติการ (2) 2.3 ดานการบริหารจดั การ
โรงฝกงานหรอื งานฟารม
5.2 ระบบสาธารณูปโภคพนื้ ฐาน (2) 2.3 ดา นการบริหารจัดการ
5.3 แหลง เรยี นรูและศูนยว ทิ ยบรกิ าร (2) 2.3 ดานการบริหารจดั การ
5.4 ระบบอนิ เทอรเนต็ ความเร็วสูงเพ่อื การ (2) 2.3 ดา นการบริหารจดั การ
ใชงานดา นสารสนเทศภายในสถานศกึ ษา 2.4 ดา นการนำนโยบายสูการปฏบิ ัติ
5.5 การเขาถงึ ระบบอนิ เทอรเ นต็ ความเรว็ (2) 2.2 การจัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา
สงู เพือ่ การจดั การเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น 2.3 ดานการบริหารจัดการ
2.4 ดา นการนำนโยบายสูก ารปฏบิ ัติ
รวมนำ้ หนกั (คะแนน) ท้ัง 5 ดา น 100 9 ประเด็นการประเมนิ
25 ขอ การประเมนิ

21

สว นที่ 2
ขอมลู พื้นฐานของสถานศกึ ษา

2.1 ขอมลู พนื้ ฐานวิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ

ช่ือสถานศึกษา วทิ ยาลยั เทคนคิ ศรีสะเกษ
ชื่อภาษาอังกฤษ SISAKET TECHNICAL COLLEGE
ทต่ี งั้ สถานศกึ ษา เลขท่ี 319 ถนนกสิกรรม ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวดั ศรสี ะเกษ
รหัส33000
เบอรโ ทรศัพท 045-631369
เบอรโ ทรสาร 045-612698
เวบ็ ไซต www.sisat.ac.th
อีเมลล [email protected]

2.1.1 ประวตั ิความเปนมา

วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ เดิมเปนโรงเรียนประชาบาล ชื่อ “โรงเรียนประถมอาชีพการชางขุขันธ
สถาปตยกรรม” เมอื่ วนั ที่ 7 กรกฎาคม 2479 ทว่ี ัดหลวงสุมังคลาราม ตำบลเมืองเกา อำเภอเมอื งศรสี ะเกษ รับนักเรยี น
ที่จบชั้นประถมปที่ 4 เขาเรียนตามหลักสูตร 2 ป คือประถมวิสามัญปที่ 2-6 เปดเรียนปแรกมีนักเรียน 25 คน
จดั เปน นกั เรยี นกนิ อยูประจำพระมหาอิ่มสายชมพู เปน ผูรักษาการในตำแหนงครูใหญ (ตอมาไดเล่ือนสมณศักด์ิข้ึนเปน
พระครชู นิ วงศป ฏิภาณและพระชิน-วงศาจารย)

พ.ศ. 2481 กระทรวงศึกษาธิการไดจดั ตั้งโรงเรียนชางไมขึ้นที่จังหวัดนี้ ไดอนุมัตเิ งินสงเสริมอาชีพศึกษา
จำนวน 7,800 บาท มาใหจังหวดั เพื่อปลูกสรางโรงเรยี นในทีด่ ินราชพัสดุ ซึ่งมีเนื้อท่ี 17 ไรเศษสราง โรงฝกงาน 2
หลังบานพกั ครู 4 หลงั บา นภารโรง 2 หลงั สวมซมึ ท่ีนง่ั 1 หลงั ปรับพนื้ ที่และทำร้วั ลวดหนามรอบบริเวณโรงเรียน
และไดยายจากวัดหลวงสุมังคลารามมาเรียน ณที่แหงใหมเมือ่ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2482 โดยโอนมาเปนโรงเรียน
รัฐบาลชื่อ “โรงเรียนชางไมจังหวัดศรีสะเกษ”ขยายหลักสูตรจาก 2 ปพระครูชินวงศปฏิภาณ (อิ่ม สายชมพู)
ผรู ักษาการในตำแหนง ครูใหญไดล าออกทางการไดแ ตงต้งั นายประดษิ ฐ ภรู ิพัฒนรกั ษาการในตำแหนงครูใหญแ ทน

พ.ศ. 2486 ไดเปดสอนแผนกชางตัดผมขึ้นอีกแผนกหนึ่ง รับนักเรียนที่จบชั้นเรียนประถมศึกษาปท่ี 4
เขาเรยี นตามหลักสูตร 2 ป

พ.ศ. 2493 เปด สอนอาชีวชน้ั กลาง แผนกชา งไมปลูกสรางรับนักเรียนท่ีจบอาชีวศึกษาตอนตน หรือช้ันมัธยม
ปที่ 3 (ม.3) สายสามัญเขาเรยี นตามหลักสูตร 3 ป เรียนประโยคอาชวี ศึกษากลาง

22
พ.ศ. 2501 เปลี่ยนชอ่ื โรงเรยี นจากโรงเรยี นชางไมศรสี ะเกษ เปน “โรงเรยี นการชา งศรีสะเกษ”
พ.ศ. 2503 เปดสอนระดบั ประโยคอาชีวศึกษาชน้ั สูงแผนกชางไมป ลกู สรางรบั นักเรียนท่ีจบอาชีวศึกษาช้ัน
กลางหรือประโยคมัธยมตอนปลายหรือประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) สายสามัญเขาเรียนตามหลักสูตร 3 ป
สำเรจ็ แลว ไดรบั ประกาศนียบัตรประโยคอาชีวศึกษาชนั้ สูงแผนกกอสราง
พ.ศ. 2509กระทรวงศึกษาธิการไดยุบและรวมโรงเรียนการชางสตรีศรีสะเกษเขากับโรงเรียนการชาง
ศรีสะเกษโดยโอนครู ภารโรง นักเรียนและทรัพยสินตาง ๆ ทั้งหมดรวมกันเปดสอน 2 แผนกคือแผนกชางกอ สราง
แผนกคหกรรมศาสตร สวนแผนกชางตัดผมไดยุบเลิกไปเพราะไมมีคนนิยมเรียน พ.ศ. 2517 ไดรับงบประมาณจาก
กรมอาชีวศึกษาปลูกสรางอาคารเรียน โรงฝกงาน โรงอาหารบานพักครู บานพักภารโรง สวม ประปา ไฟฟา และ
ปรับปรุงถนนภายใน ซึ่งมาปลูกสรางในที่ดินแปลงใหม (สนามบินเกากองทัพอากาศยกใหก ระทรวงศึกษาธิการเพอ่ื
เปนศูนยการศึกษา) มีเนื้อทีป่ ระมาณ 209 ไร 3 งาน 24.5 ตารางวา ตั้งอยูท ีต่ ำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวดั
ศรีสะเกษ และไดยายจากสถานที่เดิม ซึ่งเปนที่ดินราชพัสดุตะวันออกโรงพยาบาลศรีสะเกษ มาอยูในที่ดินแปลงใหม
เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519 เปดสอนแผนกวิชาชางยนตและแผนกวิชาชางไฟฟา รับนักเรียนทั้งในเวลาปกติและนอกเวลา
ปกติ (รอบเชา, รอบบาย) เปดสอนระดับประโยควิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาชางกอสรางและแผนกวิชาคหกรรม
ศาสตร กรมอาชีวศึกษามีคำสั่งประกาศแตงตั้งเปลี่ยนฐานะระดับการศึกษาจากเดิม โรงเรียนการชาง เปน
วทิ ยาลยั เทคนิคศรีสะเกษ
พ.ศ. 2521 ไดท ำการเปด สอนแผนกวิชาชางเชอื่ มและโลหะแผน ระดับชน้ั ปวช. หลกั สตู ร 3 ป
พ.ศ. 2522 กรมอนมุ ัติใหท างวิทยาลัยฯ เปด ทำการสอนแผนกวิชาชีพสายอาชีพเพิม่ เติมอีก 2 แผนกวิชา
คือ แผนกวิชาชางกลโรงงาน และแผนกวิชาชางวิทยุและโทรคมนาคม ซึ่งปจจุบันเรียกวาแผนกวิชาชาง
อิเล็กทรอนิกส
พ.ศ. 2552 เปนสถานศึกษาในโครงการโรงเรยี นพระราชทาน สมเด็จพระเทพรตั นสุดาสยามบรมราชกมุ ารี
วิทยาลัยกำเปงเฌอเตยี ล
พ.ศ. 2552 สถานศึกษารางวลั พระราชทาน ประจำปการศึกษา 2552
พ.ศ. 2556 เปด สอนระดบั ปริญญาตรหี ลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส
พ.ศ. 2557 สถานศึกษารางวัลพระราชทาน ประจำปการศกึ ษา 2557
พ.ศ. 2557 เปดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจและ
สาขาวิชาเทคโนโลยไี ฟฟา
พ.ศ. 2563 เปดสอนระดับปรญิ ญาตรหี ลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าการบญั ชี
พ.ศ. 2563 เปดสอนระดับปรญิ ญาตรหี ลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยยี านยนต
พ.ศ. 2566 สาขาวชิ าเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกสปดการสอนในหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต

23

2.1.2 เน้ือท่ขี องสถานศกึ ษา

วทิ ยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ มีเน้อื ท่ขี องสถานศึกษาทัง้ หมด 209 ไร 3 งาน 24.5 ตารางวา
มอี าคาร รวมทั้งสน้ิ 36 หลงั ไดแก
1. อาคารเรียน 4 จำนวน 1 หลงั 19 หอง
2. อาคารเรยี น 5 จำนวน 1 หลัง 18 หอง
3. อาคารเรยี น 6 จำนวน 1 หลัง 19 หอ ง
4. อาคารเรียนแผนกคอมพวิ เตอรธรุ กจิ จำนวน 1 หลงั 12 หอ ง
5. อาคารเรยี นและปฏิบัติการทูบีนัมเบอรวนั จำนวน 1 หลัง 42 หอง
6. อาคารเรียนและปฏบิ ตั กิ ารแผนกชางไฟฟา จำนวน 1 หลงั 21 หอ ง
7. อาคารศนู ยวทิ ยบริการ จำนวน 1 หลงั 3 หอง
8. อาคารโรงฝกงาน จำนวน 11 หลัง 136 หอง
9. อาคารอำนวยการ จำนวน 1 หลัง 10 หอง
10. อาคารหอประชุม จำนวน 4 หลัง 9 หอง
11. อาคารโรงอาหาร 1 จำนวน 2 หลงั 2 หอง
12. อาคารแฟลต (บา นพกั ครูเดี่ยว) จำนวน 2 ชั้น 14 หอง
13. อาคารหอพกั บานแฝด จำนวน 2 ช้นั 2 หอ ง
14. อาคารหอพักเรือนแถว จำนวน 2 ช้นั 23 หอง
15. อาคารโรงฝกงาน แผนกวชิ าการโรงแรม จำนวน 4 ชนั้
16. อาคารหลงั คาคลมุ อเนกประสงค จำนวน 1 หลัง

2.2 วิสยั ทัศน พันธกจิ วทิ ยาลัยเทคนคิ ศรสี ะเกษ
วิสยั ทศั น สถาบันการอาชีวศึกษามาตรฐานสากล

ปรัชญา เกยี รตภิ ูมิ (Dignity) คุณภาพ (Quality) คุณธรรม (Morality)
เอกลักษณ ความรว มมอื
อตั ลักษณ ความรบั ผดิ ชอบ
คณุ ธรรมอัตลักษณว ทิ ยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ ซ่อื สตั ย มวี นิ ัย ใสใจความรบั ผดิ ชอบ

24

พันธกิจ
1. จัดทำและพัฒนาหลกั สูตรและแผนการเรียนการสอนใหไดม าตรฐาน
2. พัฒนาผเู รยี นใหมคี วามรูและทักษะผานเกณฑม าตรฐาน
3. บริหารจัดการศึกษาใหครอบคลุมทกุ ภารกจิ อยา งมปี ระสิทธภิ าพและประสานความรวมมือ

กบั องคก รภายนอก
4. พัฒนาศักยภาพของครูและบคุ ลากรทางการศึกษาดานความรู ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม

และวทิ ยฐานะ
5. ทำขอตกลงกบั สถาบันการศึกษาและสถานประกอบการทัง้ ในประเทศและตางประเทศ

เพอื่ พฒั นาสูค วามเปน เลิศ
ยุทธศาสตร

1. การจดั การศกึ ษาเพ่อื ความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ
2. การผลิตและพัฒนากำลงั คนอาชีวศกึ ษาเพอื่ สรางขดี ความสามารถในการแขงขนั
3. การพัฒนาศักยภาพกำลังคนใหม ีสมรรถนะสอดคลองกับความตองการในการพฒั นาประเทศ
4. การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี มในการจัดการอาชีวศกึ ษา
5. การสรา งและพัฒนาคุณภาพดว ยเทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษา
6. การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพระบบการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาสมู าตรฐานระดบั สากล
กลยุทธ
1. พฒั นาหลักสูตรการจัดการเรยี นการสอนดานความเปน พลเมืองเสริมสรางความสามคั คี
สมานฉนั ทและวิถีประชาธิปไตย
2. พัฒนาระบบ กลไก และมาตรการท่ีเขมแขง็ ในการปองกันและแกไ ขปญหายาเสพติดและภยั
คกุ คามรูปแบบใหม
3. ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาใหม ีสมรรถนะในสาขาทตี่ รงตามความตอ งการของ
ตลาดแรงงาน
4. สงเสริมสนับสนนุ ใหม ีการพัฒนากำลังคนดานอาชีวศกึ ษาใหม ีคุณลักษณะที่พึงประสงคสมรรถนะ
หลกั และสมรรถนะท่ัวไป และสมรรถนะอาชพี อยางเตม็ ศักยภาพ
5. สง เสริมและพัฒนาครบู คุ ลากรทางการศึกษาใหม ีศกั ยภาพ
6. เพิ่มโอกาสความเสมอภาคและความเทา เทยี มในการเขา ถงึ บริการทางการศกึ ษาดานอาชวี ศึกษา
ตอบสนองความตองการของผเู รียน
7. สง เสรมิ การวิจยั สิ่งประดษิ ฐ นวตั กรรม เทคโนโลยีและองคความรูดานอาชีวศึกษา
8. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาสูม าตรฐานระดบั สากล

25

2.3 ขอ มูลบคุ ลากร

วทิ ยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ มีครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาดังนี้ จำนวน
5 คน
รายการ 109 คน
1. ผูบรหิ าร 4 คน
2. ขา ราชการครู 31 คน
3. บุคลากรอื่นตามมาตรา 38 ค(2) 53 คน
4. พนักงานราชการครู
5. ครูอตั ราจาง 3 คน

6. ลกู จา งประจำ 41 คน
12 คน
7. เจา หนาทีธ่ ุรการ 12 คน
8. นกั การภารโรง 6 คน
9. แมบา น 4 คน
10. ยามรกั ษาความปลอดภยั
11. อาสาสมคั รปอ งกันภัยฝายพลเรือน 5 คน

12. พนักงานขบั รถ 292 คน
ขอ มลู ณ วนั ท่ี 20 มถิ นุ ายน 2564
รวม

26

โครงสรางการบริหารสถานศกึ ษา

27

2.4. หลกั สูตรการจดั การเรียนการสอน

ปจจบุ ันวิทยาลัยเทคนคิ ศรีสะเกษจดั การเรียนการสอน 3 หลกั สูตร คือ
2.4.1. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ( ปวช.) สาขาท่ีเปด สอนมีดงั นี้
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ประเภทวชิ าพณชิ ยกรรม ประเภทวิชาคหกรรม
สาขาวิชาชา งยนต สาขาวชิ าการบัญชี สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
- สาขางานยานยนต - สาขางานการบญั ชี - สาขางานอาหารและโภชนาการ
สาขาวชิ าชางกลโรงงาน สาขาวชิ าการตลาด สาขาวชิ าแฟชน่ั และสิ่งทอ
- สาขางานเครื่องมือกล - สาขางานการตลาด - สาขางานแฟชนั่ ดีไซน
- สาขางานแมพ ิมพโลหะ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธุรกจิ
สาขาวิชาชา งเชื่อมโลหะ - สาขางานคอมพิวเตอรธ ุรกจิ
- สาขางานโครงสราง
สาขาวิชาชางไฟฟา กำลงั ประเภทวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและ ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมการ
- สาขางานไฟฟากาํ ลงั การสื่อสาร ทองเที่ยว
สาขาวชิ าชา งอิเล็กทรอนกิ ส สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาการโรงแรม
- สาขางานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส - สาขางานการโปรแกรมคอมพิวเตอร - สาขางานการโรงแรมและการ
สาขาวชิ าชางกอ สราง เวบ็ และอปุ กรณเคลอื่ นท่ี ทองเทย่ี ว
- สาขางานกอ สราง
สาขาวชิ าโยธา
- สาขางานโยธา
สาขาวชิ าสถาปตยกรรม
- สาขางานสถาปต ยกรรม
สาขาวิชาเทคนคิ คอมพิวเตอร
- สาขางานเทคนคิ
คอมพิวเตอร

28

2.4.2. หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู ( ปวส.) สาขาที่เปด สอนมีดงั นี้
ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม ประเภทวชิ าบริหารธรุ กิจ ประเภทวชิ าคหกรรม
สาขาวิชาเทคนคิ เคร่ืองกล สาขาวชิ าการบัญชี สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ
- สาขางานเทคนิคยานยนต - สาขางานการบัญชี - สาขางานอาหารและ
สาขาวิชาเทคนิคการผลติ สาขาวชิ าการตลาด โภชนาการ
- สาขางานเคร่อื งมอื กล - สาขางานการตลาด
- สาขางานแมพ มิ พโ ลหะ สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจิทัล
สาขาวชิ าเทคนคิ โลหะ - สาขางานธรุ กจิ ดจิ ิทลั
- สาขางานเทคโนโลยงี านเชอื่ ม - สาขางานดจิ ิทลั มเี ดยี
โครงสรางโลหะ
สาขาวชิ าไฟฟา
- สาขางานเคร่อื งกลไฟฟา ประเภทวชิ าเทคโนโลยี ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรมการ
- สาขางานตดิ ตั้งไฟฟา สารสนเทศและการสือ่ สาร ทอ งเท่ยี ว

สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวิชาการโรงแรม
- สาขางานอเิ ล็กทรอนิกสอ ุตสาหกรรม -สาขางานนกั พฒั นาคอม - สาขางานบริการสวนหนา
พวิ เตอรกราฟฟก เกม และ โรงแรม
สาขาวชิ าชา งกอสราง แอนเิ มชนั
- สาขางานเทคนิคกอ สรา ง

สาขาวิชาโยธา
- สาขางานโยธา
สาขาวชิ าเทคนคิ สถาปต ยกรรม
- สาขางานเทคนิคสถาปตยกรรม
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร
- สาขางานคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย
- สาขางานคอมพวิ เตอรระบบเครือขาย
สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมยาง
- สาขางานเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมยาง

2.4.3 หลักสูตรระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการ
สาขาวิชาท่เี ปดสอนมดี ังน้ี
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประเภทวชิ าบริหารธุรกจิ
- สาขาเทคโนโลยียานยนต - สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ ุรกิจ
- สาขาวิชาเทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกส - สาขาวิชาการบัญชี
- สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟา

29

2.5 ขอมลู นักเรียนนกั ศึกษา

ขอ มูลนกั เรียนนกั ศึกษาวทิ ยาลยั เทคนิคศรีสะเกษ ประจำปก ารศกึ ษา 2565 แบงเปน 3 ระดับดังน้ี
2.5.1 ขอมูลนักเรยี น ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.)
ขอมลู นกั เรยี นระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) ประกอบไปดว ยขอ มูลนักศึกษาระดับ ปวช.
1,2,3 และนักเรยี นตกคาง แบงตามประเภทสาขาวชิ า รายละเอยี ดดงั น้ี
ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 รวม
ลำดับ สาขาวชิ า ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ นศ. ตกคา ง รวม
480
1 ชา งยนต 163 5 168 136 5 141 149 ชาย หญงิ 239
97
22 171 293
225
2 ชางกลโรงงาน 68 15 83 59 9 68 73 7 7 1 88 168
118
3 ชา งเชื่อมโลหะ 18 18 32 32 41 2 4 47 241
95
4 ชา งไฟฟา กำลงั 98 9 107 76 8 84 89 8 5 102 294
109
5 ชางอเิ ลก็ ทรอนิกส 51 10 61 47 15 62 67 23 11 1 102 279
7
6 ชา งกอสราง 38 8 46 34 13 47 64 5 6 75 46
139
7 ชางสถาปต ยกรรม 15 21 36 9 25 34 7 37 1 3 48 121
2951
8 ชางโยธา 38 44 82 38 36 74 45 37 3 85

9 เทคนคิ คอมพวิ เตอร 34 8 42 17 11 28 16 8 1 25

10 การบัญชี 5 101 106 11 78 89 4 92 3 99

11 การตลาด 4 22 26 5 31 36 3 42 2 47

12 คอมพิวเตอรธรุ กิจ 27 76 103 16 66 82 10 77 7 94

13 แฟชัน่ และสิ่งทอ 15 6 11

14 อาหารและโภชนาการ 6 6 12 1 10 11 5 18 23

15 การโรงแรม 10 22 32 7 28 35 13 53 6 72

16 เทคโนโลยีสารสนเทศ 20 23 43 16 26 42 8 28 36

รวมระดับ ปวช. 595 370 965 505 66 871 651 464 595 370 965

ขอ มูลงานทะเบียน : รายงานขอ มูล ณ วนั ท่ี 22 มิถุนายน 2565

30

2.5.2 ขอมลู นกั ศกึ ษา ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.)
ขอมูลนักศกึ ษาระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้นั สูง (ปวส.) ประกอบไปดวยขอมูลนกั ศกึ ษา

ระดับ ปวส. 1,2 และนกั ศึกษาตกคาง แบงตามประเภทสาขาวชิ า รายละเอยี ดดงั นี้

ปวส.1 ปวส.2 รวม
ลำดับ สาขาวชิ า ชาย หญิง นศ. ตกคาง ชาย หญงิ นศ. ตกคา ง รวม
ชาย หญิง รวม
ชาย หญงิ

1 เทคนิคเคร่อื งกล 101 2 103 150 11 161 264

2 เทคนิคการผลิต 133 19 152 130 7 2 1 140 292

3 เทคนคิ โลหะ 18 18 26 3 29 47

4 ไฟฟา 124 13 137 129 6 1 136 273

5 อเิ ลก็ ทรอนิกส 33 15 48 53 13 1 67 115

6 ชางกอสรา ง 30 8 38 55 11 1 67 105

7 เทคนิคสถาปตยกรรม 3 17 20 13 8 21 41

8 โยธา 62 39 101 65 46 4 115 216

9 เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมยาง 0 36 4 13 13

10 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร 21 14 35 19 17 5 41 76

11 การบญั ชี 6 117 123 12 148 3 163 286

12 การตลาด 7 65 72 8 70 3 81 153

13 เทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทัล 13 59 72 18 90 3 111 183

14 อาหารและโภชนาการ 5 10 15 4 15 19 34

15 การโรงแรม 7 17 24 7 47 54 78

16 เทคโนโลยีสารสนเทศ 26 26 52 15 12 1 28 80

รวมระดับ ปวส. 589 421 1,010 723 543 543 1,246 2,256

ขอ มูลงานทะเบียน : รายงานขอ มูล ณ วนั ที่ 22 มิถุนายน 2565

31

2.5.3 ขอ มูลนกั ศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี (เทคโนโลยีบัณฑติ )
ขอมูลนักศกึ ษาระดับปริญญาตรี (เทคโนโลยบี ณั ฑิต) ประกอบไปดวยขอ มลู นกั ศกึ ษาระดบั

ปริญญาตรี (เทคโนโลยบี ัณฑิต) แบง ตามประเภทสาขาวชิ า รายละเอียดดังน้ี

ลำดบั สาขาวิชา ปริญญาตรี

ชาย หญิง รวม

1 เทคโนโลยียานยนต 33 33

2 เทคโนโลยไี ฟฟา 29 3 32

3 การบัญชี 4 20 24

4 คอมพวิ เตอรธ ุรกจิ 9 26 35

รวม 76 71 124

ขอมูลงานทะเบยี น : รายงานขอ มูล ณ วนั ที่ 22 มิถนุ ายน 2565
สรุป
ขอมลู นกั เรยี น ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) จำนวน 2,951 คน
ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สูง (ปวส.) จำนวน 2,256 คน
ระดบั ปริญญาตรี จำนวน 124 คน
รวมนกั เรยี นนกั ศกึ ษาทั้งส้นิ จำนวน 5,331 คน

32

2.6 แผนรบั นกั เรียนนักศึกษา ปการศกึ ษา 2566

ขอมูลแผนรบั นักเรยี นนกั ศึกษาใหม ปการศึกษา 2566 วิทยาลัยเทคนิคศรสี ะเกษ ดังน้ี

แผนรับ ระดับ ปวช. ประเภทวชิ า/สาขางาน ปกติ ทวิภาคี รวม

ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม 160
40
สาขางานยานยนต 120 40 40
40
สาขางานเครือ่ งมอื กล 40 - 120
120
สาขางานแมพิมพโ ลหะ 40 - 80
80
สาขางานโครงสรา ง 40 - 80
60
สาขางานไฟฟากำลัง 120 -
160
สาขางานอิเลก็ ทรอนิกส 120 - 80
160
สาขางานกอ สรา ง 80 -
20
สาขางานโยธา 80 - 40

สาขางานสถาปต ยกรรม 80 - 80

สาขางานเทคนิคคอมพวิ เตอร 60 - 40
1,400
ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม

สาขางานการบัญชี 160 -

สาขางานการตลาด 80 -

สาขางานคอมพวิ เตอรธ รุ กจิ 160 -

ประเภทวิชาคหกรรม

สาขางานแฟช่ันดไี ซน 20 -

อาหารและโภชนาการ 40 -

ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมการทองเท่ียว

สาขางานการโรงแรม 80 -

ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร

สาขางานเทคโนโลยสี ารสนเทศ 40 -
รวมทงั้ ส้นิ 1,360 40

33

แผนรบั ระดบั ปวส. (สายตรง) ประจำปการศกึ ษา 2566 ปกติ ทวภิ าคี รวม
ประเภทวิชา/สาขางาน
- 80 80
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 40 - 40
1. สาขางานเทคนิคยานยนต - 25 25
2. สาขางานเครอื่ งมือกล 20 - 20
3. สาขางานแมพ ิมพโลหะ 20 - 20
4. สาขางานเทคนิคการเชอ่ื มอุตสาหกรรม 20 20 40
5. สาขางานไฟฟา ควบคุม 80 - 80
6. สาขางานไฟฟากำลงั 40 - 40
7. สาขางานอิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 20 - 20
8. สาขางานกอสราง 40 20 60
9. สาขางานเทคนิคสถาปตยกรรม - - -
10. สาขางานโยธา 40 - 40
11. สาขาเทคโนโลยยี างและพอลิเมอร - - -
12. สาขาคอมพวิ เตอรเครือขาย
13. สาขาคอมพวิ เตอรมลั ตมิ เี ดยี 80 - 80
ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กิจ - 40 40
14. สาขางานการบญั ชี - 80 80
15. สาขางานการตลาด - - -
16. สาขางานธุรกจิ ดิจิทลั
17. สาขาดิจิทัลมีเดยี - 20 20
ประเภทวิชาคหกรรม
18. สาขางานอาหารและโภชนาการ - 40 40
ประเภทวิชาอตุ สาหกรรมการทองเทยี่ ว
19. สาขางานบรกิ ารสว นหนา โรงแรม 20 - 20
ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร 420 325 745
20. สาขางานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
รวมทั้งส้นิ

แผนรับ ระดบั ปวส. (ม.6) ประจำปก ารศกึ ษา 2566 ปกติ ทวภิ าคี 34
ประเภทวชิ า/สาขางาน
0 80 รวม
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม 80 -
1. สาขางานเทคนิคยานยนต -- 80
2. สาขางานเครอ่ื งมอื กล 20 - 80
3. สาขางานแมพิมพโ ลหะ 40 - -
4. สาขางานเทคนิคการเช่อื มอตุ สาหกรรม 40 20 20
5. สาขางานไฟฟา ควบคมุ 80 - 40
6. สาขางานไฟฟา กำลงั 40 - 60
7. สาขางานอิเลก็ ทรอนิกสอุตสาหกรรม 40 - 80
8. สาขางานกอ สรา ง 40 - 40
9. สาขางานเทคนคิ สถาปต ยกรรม 20 - 40
10. สาขางานโยธา -- 40
11. สาขาเทคโนโลยียางและพอลเิ มอร 40 - 20
12. สาขาคอมพิวเตอรเ ครือขา ย -
13. สาขาคอมพิวเตอรมลั ตมิ ีเดีย 160 - 40
ประเภทวชิ าบริหารธรุ กิจ 40 40
14. สาขางานการบญั ชี -- 160
15. สาขางานการตลาด 80 - 80
16. สาขางานธรุ กจิ ดิจทิ ลั -
17. สาขาดจิ ิทัลมเี ดยี 20 - 80
ประเภทวิชาคหกรรม
18. สาขางานอาหารและโภชนาการ - 40 20
ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมการทอ งเท่ยี ว
19. สาขางานบรกิ ารสว นหนา โรงแรม 40 - 40
ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร 700 260
20. สาขางานเทคโนโลยสี ารสนเทศ 40
960
รวมทงั้ สิน้

แผนรับ ระดับปริญญาตรี ประจำปการศึกษา 2566 ปกติ 35
ประเภทวิชา/สาขางาน
20 รวม
1. สาขางานเทคโนโลยีไฟฟา 20 20
2. สาขางานการบัญชี 40 20
3. สาขางานคอมพิวเตอรธรุ กจิ 20 40
4. สาขางานเทคโนโลยียานยนต 100 20
รวม 100

36

สว นท่ี 3

ประมาณการรายรบั -รายจาย ปงบประมาณ 2566

1. ประมาณการรายรบั 140,564,470 บาท

ก. รายรับที่เกดิ จากหมวดเงนิ รายไดส ถานศกึ ษา (บกศ) และ ป.ตรี 4,247,400 บาท 27,147,400 บาท
- ยอดยกมาจากปงบประมาณ 2565 เงินรายไดส ถานศึกษา 4,000,000 บาท
- ยอดยกมาจากปง บประมาณ 2565 ป.ตรี 18,000,000 บาท 113,417,070 บาท
- คาดวา มรี ายรับ เงนิ รายไดส ถานศกึ ษาในปง บประมาณ 2566
- คาดวา มรี ายรบั ป.ตรี ในปง บประมาณ 2566 900,000 บาท

ข. รายรับท่ีเกิดจากหมวดเงนิ งบประมาณ ป 2566 ทีค่ าดวา จะไดรบั 66,740,430 บาท
53,286,000 บาท
งบบุคลากร 4,443,600 บาท
- เงินเดือน
- คาตอบแทน 792,720 บาท
- คา จางประจํา 7,924,660 บาท
- คา ตอบแทนพนักงานราชการ
- สมทบประกันสังคม 293,450 บาท

งบดําเนินงาน 9,234,600 บาท
- รายการงบประจํา (ปวช) 536,100 บาท
- รายการงบประจํา (ปวส) 7,067,800 บาท
- คา สาธารณูปโภค 1,630,700 บาท

งบลงทุน 1,500,000 บาท
1,500,000 บาท
- ชุดฝกปฏบิ ัติการวชิ น่ั เซ็นเซอรเพอ่ื การ
ตรวจสอบคุณภาพอยางชาญฉลาด

งบเงนิ อดุ หนนุ ทว่ั ไป 34,177,840 บาท
- คา หนังสือเรียน 5,929,000 บาท
- คา อปุ กรณการเรียน 1,363,670 บาท
- คาเคร่ืองแบบนักเรยี น 2,706,300 บาท
- คากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียน 2,816,270 บาท
- คา จัดการเรียนการสอน 20,752,600 บาท
- คาอุปกรณก ารเรยี นของนักเรียนสายอาชพี
393,000 บาท
- โครงการสรางองคค วามรทู างการอาชีวศกึ ษาเพือ่ ถายทอด 17,000 บาท
เทคโนโลยี
200,000 บาท
- อุดหนุนทนุ การศกึ ษาราชกุมารี 1,764,200 บาท
รายรบั งบรายจา ยอืน่
235,200 บาท
- โครงการจัดหาบคุ ลากรสายสนบั สนุนเพือ่ คนื ครูใหก บั นักเรยี น

37

- โครงการเรง ประสิทธิภาพการสอนครู 379,200 บาท
- โครงการบรู ณาการการพฒั นาทกั ษะทางวิชาชีพกับการ 264,000 บาท
เสรมิ สรางคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคของผเู รยี นอาชวี ศึกษา
(Fix it-จิตอาสา) 187,000 บาท
125,000 บาท
- คาใชจ ายโครงการจา งครผู ูทรงคุณคา
- โครงการพฒั นาศักยภาพผูเรยี นอาชีวศึกษาในการเปน 60,000 บาท
ผปู ระกอบการ
- คา ใชจายโครงการอนรุ กั ษพนั ธกุ รรมพืชอันเนอ่ื งมาจาก 420,000 บาท
พระราชดําริสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 93,800 บาท

- คา ใชจายโครงการอาชวี ตานยาเสพติด 140,564,470 บาท
- คาใชจ า ยโครงการเสรมิ สรา งและพฒั นาศักยภาพครูและ
บุคคลากรทางการศกึ ษา (อศจ.) 66,740,430 บาท
53,286,000 บาท
2. ประมาณการรายจาย 4,443,600 บาท
รายจายหมวดเงนิ งบบุคลากร
792,720 บาท
- เงนิ เดือน 7,924,660 บาท
- คาตอบแทน
- คา จา งประจํา 293,450 บาท
- คาตอบแทนพนักงานราชการ 9,234,600 บาท
- สมทบประกนั สงั คม
4,367,800 บาท
รายจายหมวดเงนิ งบดาํ เนินงาน 500,000 บาท

คาตอบแทน 2,736,100 บาท
- คา สอนเกนิ ภาระงาน 1,630,700 บาท
คา วสั ดุ
- วสั ดสุ าํ นกั งาน 1,500,000
- วัสดุฝก แผนกวิชา
คา สาธารณปู โภค 1,500,000 บาท
34,425,240
รายจา ยหมวดเงินงบลงทุน
5,929,000 บาท
- ชุดฝกปฏบิ ัตกิ ารวิชัน่ เซน็ เซอรเ พ่ือการ 1,363,670 บาท
ตรวจสอบคุณภาพอยา งชาญฉลาด 2,706,300 บาท

รายจา ยหมวดเงนิ งบอุดหนนุ 592,800 บาท
592,800 บาท
- คา หนังสือเรียน 592,800 บาท
- คา อุปกรณก ารเรียน
- คาเครือ่ งแบบนกั เรียน
- กจิ กรรมวชิ าการ
- กิจกรรมสงเสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรม
- กจิ กรรมศึกษาดูงาน

38

- กจิ กรรมสง เสริมเทคโนโลยีและสารสนเทศ 1,037,870 บาท
- คา อปุ กรณการเรยี นของนักเรียนสายอาชีพ 393,000 บาท
- โครงการสรา งองคค วามรูทางการอาชวี ศกึ ษาเพ่อื ถายทอด 17,000 บาท
เทคโนโลยี
- อดุ หนนุ ทนุ การศกึ ษาราชกุมารี 200,000 บาท
ตอบแทน
- คาจา งช่ัวคราว 4,142,460 บาท
- คา สอนเกนิ ภาระงาน 9,592,640 บาท
- คาปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ
ใชสอย 717,000 บาท
- คา ใชจายในการไปราชการ 100,000 บาท
วัสดุ 1,327,900 บาท
- วัสดุฝก แผนกวชิ า 120,000 บาท
- วัสดสุ าํ นกั งาน 50,000 บาท
- โครงการซอ มบํารงุ ยานยนต 250,000 บาท
- นํ้ามนั เชอ้ื เพลิง 200,000 บาท
- โครงการซอ มครภุ ณั ฑ 500,000 บาท
- โครงการปรับปรุงภูมิทศั น 3,000,000 บาท
- คาสาธารณปู โภค 1,000,000 บาท
- โครงการตามนโยบายสถานศกึ ษา
รายจายหมวดเงนิ งบรายจายอน่ื 1,764,200 บาท
- คาใชจายโครงการจัดหาบคุ ลากรสายสนับสนุนเพือ่ คืนครู 235,200 บาท
ใหก บั นกั เรียน
- คาใชจา ยโครงการเรง ประสทิ ธิภาพการสอนครอู าชีวศกึ ษา 379,200 บาท
- โครงการบูรณาการการพัฒนาทกั ษะทางวิชาชพี กับการ 264,000 บาท
เสริมสรา งคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข องผูเ รยี นอาชวี ศึกษา (Fix
it-จิตอาสา) 187,000 บาท
125,000 บาท
- คา ใชจ ายโครงการจา งครผู ทู รงคุณคา
- โครงการพัฒนาศักยภาพผเู รียนอาชีวศกึ ษาในการเปน 60,000 บาท
ผปู ระกอบการ
420,000 บาท
- คาใชจา ยโครงการอนรุ กั ษพันธุกรรมพืชอนั เน่ืองมาจาก 93,800 บาท
พระราชดาํ ริสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
8,057,540 26,900,000 บาท
- คา ใชจา ยโครงการอาชีวตา นยาเสพตดิ 11,030,700 บาท
- คา ใชจ ายโครงการเสรมิ สรา งและพฒั นาศกั ยภาพครูและ
บคุ คลากรทางการศึกษา

รายจา ยหมวดเงนิ รายไดสถานศกึ ษา

คาตอบแทน
- คา จางชวั่ คราว

39

- คาปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการ 1,733,600
- คา สอนเกนิ ภาระงาน 1,239,560

คาใชสอย 400,000 400,000 บาท
- คา ใชจ ายในการไปราชการ 6,569,300 บาท

คา วัสดุ 50,000 4,900,000 บาท
- โครงการซอ มบาํ รุงยานยนต 2,000,000 บาท
2,000,000 บาท
- โครงการปรับภูมทิ ศั นซ อมแซมปรับปรุงอาคารสถานท่ี 1,000,000

- โครงการซอ มบํารงุ ครุภณั ฑ 400,000
- นาํ้ มนั เชือ้ เพลิง 250,000

- คา สาธารณปู โภค 4,869,300

คาใชจ ายในการบริหารจดั การ ป.ตรี

รายจายโครงการพัฒนาสถานศึกษา

รายจายโครงการจัดหาครภุ ัณฑเพอ่ื สนบั สนนุ การจัดการเรยี นการสอน
3. ประมาณการรายจา ยมากกวา รายได
- บาท

40

แผนปฎบิ ตั ิการ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2566 วิทยาลัยเทคนคิ ศรสี ะเกษ

รายการคา ใชจา ย/รายจา ยตาม งบบคุ ลากร งบดําเนินงาน ประเภทงบประมาณ รายได ปรญิ ญาตร/ี รวมท้งั ส้ิน
งบประมาณ สถานศกึ ษา อน่ี ๆ 140,564,470
งบลงทุน งบรายจายอน่ื งบอดุ หนนุ ทั่วไป
53,286,000
รวมแผนการจายเงินท้ังสน้ิ 66,740,430 9,234,600 1,500,000 1,764,200 34,177,840 22,247,400 4,900,000 4,443,600

งบบุคลากร - - - - 792,720
- - - - 7,924,660
แผนงานบุคคลากรภาครฐั - - - -
- - - - 293,450
- เงนิ เดอื นขาราชการ 53,286,000 - -
- - - - 4,367,800
- คา ตอบแทน 4,443,600 - - 500,000
- - - - -
- คาจา งลูกจางประจาํ 792,720 - - - - - 2,736,100
- - - 1,630,700
- พนักงานราชการ 7,924,660 -
1,500,000
- สมทบประกันสังคม 293,450 -
1,363,670
แผนงานพื้นฐานดานการพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย 2,706,300

คาตอบแทน 200,000

- คา สอนเกนิ ภาระงาน - 4,367,800 - 9,592,640
4,142,460
คา วสั ดุ
717,000
- วัสดสุ ํานักงาน - 500,000 - 100,000

- วัสดุฝกแผนกวิชา - 2,736,100 -

คาสาธารณูปโภค - 1,630,700 -

งบลงทุน

ผลผลติ ผสู ําเรจ็ การศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี

- ชุดฝกปฏิบัติการวิชัน่ เซ็นเซอร - - 1,500,000 - - --
เพอื่ การตรวจสอบคุณภาพอยาง
ชาญฉลาด

งบเงินอุดหนุนทวั่ ไป

แผนงานยุทธศาสตรสรา งความเสมอภาคทางการศกึ ษา

โครงการสนบั สนุนคา ใชจ า ยในการจัดการศึกษาตง้ั แตระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

- คา อุปกรณก ารเรียน - -- - 1,363,670 --

- คาเคร่อื งแบบนักเรียน -- - - 2,706,300 --

แผนงานยุทธศาสตรพ ัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู - - 200,000 --

โครงการขยายโอกาสทางการอาชีวศกึ ษาและวชิ าชพี - - 9,592,640 --
- - 4,142,460 --
- ทุนการศกึ ษาราชกุมารี -- - - 717,000 --
- - 100,000 --
แผนงานพน้ื ฐานดา นการพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย

คา ตอบแทน --
--
- คาสอนเกินภาระงาน --
- คา จางช่วั คราว
- คาปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ
คา ใชส อย

- คา ใชส อยไปราชการ --

41

แผนปฎบิ ัตกิ าร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566 วทิ ยาลยั เทคนคิ ศรสี ะเกษ

รายการคา ใชจาย/รายจา ยตาม งบบุคลากร งบดาํ เนินงาน ประเภทงบประมาณ รายได ปรญิ ญาตร/ี รวมท้งั สิน้
งบประมาณ สถานศกึ ษา อี่น ๆ 3,000,000
งบลงทุน งบรายจา ยอน่ื งบอุดหนุนทว่ั ไป 120,000
1,327,900
- คา สาธารณปู โภค - -- - 3,000,000 -- 50,000
250,000
คาวสั ดุ
379,200
- คา วสั ดสุ าํ นักงาน - -- - 120,000 --
235,200
- คาวัสดฝุ ก แผนกวชิ า - -- - 1,327,900 -- 187,000

- คาวสั ดุซอ มบาํ รุงยานยนต - -- - 50,000 -- 93,800

- คา วัสดนุ ้ํามนั เชื้อเพลิง - -- - 250,000 -- 8,057,540
1,733,600
งบรายจายอืน่
400,000
ผลผลติ ผูสําเรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนบี ัตรวิชาชพี 50,000
250,000
- โครงการเรงประสทิ ธภิ าพการ - - - 379,200 - - - 4,869,300
สอนครู

ผลผลติ ผูส ําเรจ็ การศึกษาระดบั ประกาศนีบตั รวิชาชพี ชน้ั สูง

- โครงการจดั หาบุคคลากร - - - 235,200 - - -
สนบั สนนุ เพ่อื คนื ครูใหนกั เรยี น

- โครงการจางครูผูทรงคณุ คา - - - 187,000 - - -

แผนงานยุทธศาสตรพ ัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู

โครงการพฒั นาศกั ยภาพครูอาชวี ศกึ ษาใหมสี มรรถนะของครูยคุ ใหมแ ละครูในศตวรรษที่21

- คาใชจา ยโครงการเสริมสรา ง - - - 93,800 - - -
และพัฒนาศักยภาพครแู ละ
บคุ คลากรทางการศกึ ษา (อศจ.)

เงินรายไดส ถานศกึ ษา

แผนงานพ้นื ฐานดานการพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย

คาตอบแทน - -- - - 8,057,540 -
- คาจา งชัว่ คราว

- คา ปฏิบัติงานนอกเวลา - -- - - 1,733,600 -
ราชการ

คาใชส อย - -- - - 400,000 -
- คา ใชจ ายในการไปราชการ
คาวัสดุ

- วัสดุโครงการซอ มบํารงุ ยาน - -- - - 50,000 -
ยนต

- วัสดนุ ้าํ มนั เชอ้ื เพลงิ - -- - - 250,000 -

คา สาธารณูปโภค - -- - - 4,869,300 -

42

แผนปฎิบัตกิ าร ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2566 วิทยาลัยเทคนิคศรสี ะเกษ

รายการคาใชจา ย/รายจา ยตาม ประเภทงบประมาณ
งบประมาณ
งบบุคลากร งบดาํ เนนิ งาน งบลงทนุ งบรายจา ยอน่ื งบอดุ หนนุ ทว่ั ไป รายได ปรญิ ญาตร/ี รวมทั้งส้นิ
ฝา ยบริหารทรัพยากร สถานศกึ ษา อ่นี ๆ
70,000
แผนงานพื้นฐานดา นการพฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย 50,000

งานบุคลากร 300,000

- โครงการ “กฬี าส่อื สมั พันธ” - - -- - 70,000 - 2,000,000
ประจาํ ป 2566 - - 600,000

- โครงการแสดงความกตัญู - - - - 50,000 - 2,000,000
กตเวทแี กบคุ ลากรทเี่ กษียณอายุ 1,500,000
ราชการ ประจาํ ป 2565 -
- 100,000
แผนงานยุทธศาสตรพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู
- 30,000
- โครงการพฒั นาบุคลากรสาย - - - 300,000 - - - 55,000
การสอน - 256,000

งานพัสดุ - -
- 170,000
- โครงการจัดหาครุภณั ฑเพอ่ื - - -- - 2,000,000 -
สนับสนุนการเรยี นการสอน -- -
-
- โครงการซอ มบาํ รุงครุภณั ฑ - - - 400,000 200,000
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566

งานอาคารสถานท่ี

- โครงการพฒั นาสถานศึกษา - -- - 2,000,000 -
-
- โครงการปรบั ภมู ทิ ัศน - - - 500,000 1,000,000
สถานศึกษา - -
- - 100,000 -
- วสั ดุเอกสารงานพิมพป ระจาํ ป
การศกึ ษา 2566

งานทะเบยี น

- โครงการรับสมคั รนกั ศกึ ษา - - - 30,000 - -
ประจําปการศกึ ษา 2566 - -
- -- - 55,000 -
- โครงการมอบตวั นักศึกษา
ประจาํ ปก ารศกึ ษา 2566 - -- - 256,000 -
-
- โครงการทาํ บัตรประจําตวั -- - 170,000
ประจําปก ารศกึ ษา 2566 -- --
อาชีวศกึ ษาจังหวดั ศรีสะเกษ

- โครงการจดั ประชุม ประจาํ ป
งบประมาณ พ.ศ. 2566

- ประชมุ คณะกรรมการ -
อาชีวศกึ ษาจังหวดั ศรสี ะเกษ

43

แผนปฎิบัตกิ าร ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2566 วิทยาลัยเทคนิคศรสี ะเกษ

รายการคาใชจาย/รายจายตาม ประเภทงบประมาณ
งบประมาณ
งบบุคลากร งบดาํ เนินงาน งบลงทนุ งบรายจายอืน่ งบอุดหนนุ ท่ัวไป รายได ปริญญาตร/ี รวมทั้งส้นิ
- ประชุมผูบรหิ าร ครู และ สถานศึกษา อ่ีน ๆ -
บคุ ลากรทางการศกึ ษา
สถานศึกษาอาชวี ศึกษาภาครัฐและ - -- - - --
ภาคเอกชน

- การปฏิบตั งิ านตามนโยบาย/ - -- - - -- -
งานเรง ดวนจังหวดั ศรีสะเกษ

- การปฏิบตั ิงานตามนโยบาย/ - --
งานเรง ดวนสาํ นกั งานคณะกรรมการ -- - -- --
การอาชีวศึกษา -- - 200,000
- 200,000
- ประชมุ ทางไกลสาํ นักงาน - -- -
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

- โครงการ กิจกรรมวันครแู ละ - -- -
กฬี าอาชีวะสัมพนั ธป ระจําป
การศึกษา 2566

- โครงการตรวจสถานศกึ ษา - -- - - 80,000 - 80,000
อาชวี ศึกษาเอกชน

ฝายแผนงานและความรวมมือ
งานวางแผนและงบประมาณ

- โครงการประชุมเชงิ - -- - 50,000 - - 50,000
ปฏิบัติการจัดทําแผนปฏิบตั ิราชการ
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2567
และทบทวนแผนพัฒนาสถานศึกษา
ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2565-2569)

- โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ าร 5,000 5,000
เพอ่ื ซกั ซอมความเขาใจในการ
บริหารจัดการระบบบริหารจัดการ
ควบคมุ ภายในสถานศึกษา
ปงบประมาณ พ.ศ. 2566

- โครงการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
เพอื่ ซกั ซอมความเขาใจในระบบ
ตดิ ตามและประเมนิ ผลการ - -- - 5,000 - - 5,000
ขับเคลือ่ นการติดตามอาชวี ศึกษา
ปงบประมาณ พ.ศ. 2566

44

แผนปฎบิ ัติการ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2566 วิทยาลยั เทคนคิ ศรีสะเกษ

รายการคา ใชจ าย/รายจายตาม ประเภทงบประมาณ
งบประมาณ
งบบคุ ลากร งบดําเนนิ งาน งบลงทุน งบรายจา ยอ่ืน งบอุดหนุนทัว่ ไป รายได ปริญญาตร/ี รวมทงั้ สนิ้
สถานศกึ ษา อี่น ๆ 500,000
500,000
งานศูนยข อ มลู สารสนเทศ - -- - 500,000 --
-- 40,000
- โครงการปรบั ปรงุ ระบบ - -- - 500,000
อินเทอรเนต็ ภายในวทิ ยาลยั 120,000
2,000
- โครงการติดต้ังกลองวงจรปด
IP-Camera 20,000
30,000
งานความรวมมือ
-
- โครงการประสานความรว มมือ - -- - 40,000 -- 1,000
กบั สถานประกอบการในการบรหิ าร
จัดการศกึ ษา ประจาํ ปงบประมาณ
2566
งานวิจยั พฒั นา นวัตกรรม และ
สิ่งประดิษฐ

- โครงการเสริมสรางนวัตกรรม - -- - 120,000 --
สงิ่ ประดิษฐข องคนรนุ ใหมแ ละ
หนุ ยนตอ าชีวศึกษา

- โครงการวิจัยในช้นั เรียน - -- - 2,000 --
ประจําปก ารศกึ ษา 2565

งานประกนั คณุ ภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษา

- โครงการสงเสริมความรคู วาม - -- - 20,000 --
เขา ใจในระบบการประกันคุณภาพ
ประจาํ ปง บประมาณ 2566

- โครงการจดั ทาํ คูมือการ - -- - - 30,000 -
ประกันคณุ ภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษา ประจําปงบประมาณ
2566

- โครงการพฒั นาระบบการ - -- - - --
ประกันคณุ ภาพ ประจําป
งบประมาณ 2566

- โครงการประกันคุณภาพ - -- - 1,000 --
ภายใน ประจาํ ปก ารศึกษา (SAR)
ประจาํ ปง บประมาณ 2566

โครงการสงเสริมและพัฒนาผูเ รียนอาชีวศกึ ษาใหมคี ณุ ลกั ษณะและทักษะทจี่ าํ เปน ในศตวรรษท่ี21
โครงการยกระดบั การผลติ และพฒั นากําลังคนใหต อบสนองตอ ความตอ งการของประเทศ

งานศูนยบ ม เพาะผูป ระกอบการอาชีวศกึ ษา

45

แผนปฎิบัตกิ าร ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2566 วิทยาลยั เทคนคิ ศรีสะเกษ

รายการคาใชจา ย/รายจายตาม ประเภทงบประมาณ
งบประมาณ
งบบุคลากร งบดําเนนิ งาน งบลงทนุ งบรายจา ยอืน่ งบอดุ หนุนท่ัวไป รายได ปรญิ ญาตร/ี รวมทงั้ สน้ิ
- โครงการพฒั นาศักยภาพ สถานศึกษา อ่ีน ๆ 10,000
ผูเรยี นดา นการอบรม
- - - 10,000 - - - 5,000
- โครงการพจิ ารณาความเปน ไป
ไดข องแผนธรุ กิจ pitching - - - 5,000 - - -
ประกวดการเขียนแผนธรุ กิจเชิง
สรางสรรคน วตั กรรม

- โครงการสงเสรมิ การประกอบ - - - 20,000 - - - 20,000
อาชพี อิสระในกลุมผเู รยี นอาชวี ศึกษา

- โครงการศึกษาดงู านสถาน - - - 5,000 - - - 5,000
ประกอบการ

- โครงการประเมินศูนยบ มเพาะ
ผูประกอบการอาชวี ศึกษาระดบั - - - 35,000 - - - 35,000
อาชีวศกึ ษา

- โครงการพฒั นาศกั ยภาพ -- - 50,000 - - - 50,000
ผูเรียนอาชวี ศกึ ษาในการเปน
ผปู ระกอบการ ศนู ยพฒั นาอาชีพ -- 6,000 - - 6,000
และการเปน ผูประกอบการ CEC -- 10,000 - - 10,000
-- 13,000 - - 13,000
ฝา ยพัฒนากิจการนักเรียนนักศกึ ษา -- 36,000 - - 36,000
-- 40,000 - - 40,000
แผนงานพื้นฐานดานการพฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย

งานกจิ กรรมนกั เรยี นนกั ศึกษา
โครงการพฒั นากิจกรรมองคก ารนกั วชิ าชพี

- โครงการเลือกตัง้ นายก --
องคการนักวชิ าชพี ในอนาคตแหง
ประเทศไทย

- โครงการจัดหาวัสดุสํานักงาน --
องคก ารฯ

- โครงการประชมุ วิชาการ - -
องคก ารนักวิชาชีพระดับสถานศกึ ษา

- โครงการเตรียมรบั การ --
ประเมินองคก ารฯ (ระดับจังหวดั --
ภาค ชาต)ิ

- โครงการพธิ ีมอบ
ประกาศนียบตั รผสู ําเรจ็ การศกึ ษา

46

แผนปฎิบตั กิ าร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566 วิทยาลัยเทคนคิ ศรีสะเกษ

รายการคา ใชจาย/รายจา ยตาม ประเภทงบประมาณ
งบประมาณ
งบบุคลากร งบดาํ เนินงาน งบลงทนุ งบรายจา ยอ่นื งบอุดหนนุ ท่ัวไป รายได ปรญิ ญาตร/ี รวมทั้งส้ิน
- โครงการประชุมจดั ทํา สถานศกึ ษา อนี่ ๆ 20,000
แผนปฏิบัติการองคการนักวิชาชีพฯ
- -- - 20,000 -- 47,000
- โครงการพฒั นาบคุ ลิกภาพ
องคก ารนักวชิ าชีพในอนาคตแหง - -- - 47,000 -- 5,000
ประเทศไทย 10,000
2,920
- โครงการประกวดโครงงาน - -- - 5,000 -- 5,000
วิชาชีพ 3,000
10,000
- โครงการวันภาษาไทยสูวัน - -- - 10,000 -- 2,000
สุนทรภู -- 3,000
- -- - 2,920 --
- โครงการยกยองคนดี sisat -- 1,000
- -- - 5,000 -- 35,000
- โครงการอบรมพัฒนา -- 2,000
บคุ ลิกภาพ การพูด การเดนิ การนง่ั - -- - 3,000 -- 1,000
1,000
- โครงการอบรม และใหค วามรู - -- - 10,000 -- 50,000
ภาษาตา งประเทศ
- -- - 2,000
- โครงการกีฬานอ งใหมส าน
สัมพันธพี่นอง - -- - 3,000

- โครงการวนั รกั ตนไมประจําป - -- - 1,000
แหงชาติ

- โครงการสวนพฤกษศาสตร
โรงเรียน

โครงการกจิ กรรมกลาง

- โครงการวนั วสิ าขบูชา

- โครงการวันไหวครูและ - -- - 35,000 --
บวงสรวงองคพระวษิ ณุกรรม

- โครงการสถานศึกษา - -- - 2,000 --
คณุ ธรรม/ตักบาตรเติมบุญ

- โครงการวันอาสาฬหบูชาและ - -- - 1,000 --
วนั เขาพรรษา

- โครงการวนั แมแหงชาติ - -- - 1,000 --

- โครงการแขง ขันกีฬา - -- - 50,000 --
อาชวี ศกึ ษา

- โครงการชุมวชิ าการองคการ - -- - 140,000 - - 140,000
นักวิชาชพี ฯ แขงขันทักษะวชิ าชพี
ทกั ษะพน้ื ฐาน ระดบั จงั หวดั ภาค
ชาติ

47

แผนปฎิบัตกิ าร ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2566 วทิ ยาลัยเทคนคิ ศรีสะเกษ

รายการคา ใชจาย/รายจายตาม ประเภทงบประมาณ
งบประมาณ
งบบุคลากร งบดําเนนิ งาน งบลงทุน งบรายจา ยอืน่ งบอดุ หนุนท่ัวไป รายได ปริญญาตร/ี รวมทงั้ สน้ิ
- โครงการประกวดสิง่ ประดษิ ฐ สถานศึกษา อีน่ ๆ 4,180
คนรนุ ใหม
- -- - 4,180 --

- โครงการแขงขนั กฬี าสภี ายใน - -- - 80,000 - - 80,000

- โครงการวันสถาปนาวทิ ยาลยั ฯ - -- - 10,000 - - 10,000
- -- - 10,000 - - 10,000
- โครงการสัปดาหว ทิ ยาศาสตร - -- - 1,000 - - 1,000
- โครงการวันมาฆบูชา
- -- - 2,000 - - 2,000
- โครงการวนั เฉลิมพระ
ชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระ - -- - 1,500 - - 1,500
ปรเมนทรรามาธิบดศี รสี ินทรมหาวชิ - -- - 8,000 - - 8,000
ราลงกรณฯ พระวชิรเกลา เจาอยูหวั - -- - 8,000 - - 8,000
- - - 5,000
- โครงการสบื สานวัฒนธรรม -- - 5,000
ประเพณีลอยกระทง

- โครงการวันสงกรานต
- โครงการแขงขันกฬี านกั เรยี น
นกั ศึกษา
- โครงการวันครสิ ตม าส
ประจําป 2565

- โครงการประกวดโครงงาน
วทิ ยาศาสตรอาชีวศึกษา - เอสโซ
ระดับ ปวช. ปวส. ระดับอาชวี ศึกษา - -- - 20,000 - - 20,000

จงั หวัด ระดบั ภาค และระดบั ชาติ

- โครงการสงเสริมทักษะการ - -- - 5,000 - - 5,000
คิดทางคณติ ศาสตร - - 5,000

- โครงการสงเสรมิ อนรุ ักษศ ิลปะ - -- - 5,000 - - 4,000
วมั นธรรม สืบสานภูมิปญ ญาทองถิน่ - - 1,000

ชมรมลกู เสอื วิสามัญ

- โครงการเตรยี มลูกเสือวิสามัญ - -- - 4,000

- โครงการเดย-แคมปลกู เสอื - -- - 1,000
วิสามัญ


Click to View FlipBook Version