The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

13. รูปเล่มรายงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Natcha Plookpunyadee, 2024-02-01 23:07:22

13. รูปเล่มรายงาน

13. รูปเล่มรายงาน

จัดอบรมในรูปแบบออนโลน์ ผ่านไปรแกรม Zoom


1 รายงานการประเมินผลการฝึกอบรม ประกอบด้วยสาระส าคัญต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ชื่อโครงการ หลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” หลักการและเหตุผล งานด้านเอกสารถือเป็นงานที่มีความส าคัญ และมีความจ าเป็นส าหรับทุกองค์กร เนื่องจาก ในการปฏิบัติงานและการสื่อสารยังคงต้องใช้เอกสารในการติดต่อกันอยู่ ซึ่งการติดต่อสื่อสารที่เป็นทางการ มีหลายวิธี แต่ที่นิยมเป็นการแพร่หลายได้แก่การตอบโต้ หรือชี้แจงเป็นลายลักษณ์อักษร โดยจัดท าเป็นเอกสาร ที่เรียกว่า “หนังสือราชการ” ซึ่งสิ่งที่ส าคัญยิ่งคือการใช้ภาษาที่ดี ถูกต้อง ชัดเจน และสามารถบอกถึงวัตถุประสงค์ ของผู้เขียนได้อย่างตรงประเด็น เข้าใจง่าย จะช่วยในการติดต่อสื่อสารแก่ผู้ที่ต้องการติดต่อหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เกิดประสิทธิผล และช่วยประหยัดเวลาในการปฏิบัติงานได้ การเขียนหนังสือตอบโต้มิได้มีความหมายเพียง ตัวหนังสือและเอกสารเท่านั้น หากยังบ่งบอกถึงประสิทธิภาพในการท างานของบุคลากรและองค์กรนั้น ๆ ด้วย นอกจากนั้น องค์กรยังมีการด าเนินงานในรูปของคณะกรรมการหรือคณะท างานต่าง ๆ ซึ่งท าให้ต้องมีการจัด การประชุมร่วมกัน แต่ประสิทธิผลของการประชุมนั้น นอกจากจะขึ้นอยู่กับการจัดประชุม และการน าประชุมที่ ดีแล้ว สิ่งที่ส าคัญมากที่ไม่อาจมองข้ามคือ การเขียนรายงานการประชุมและจัดท าเป็นรายงานการประชุม ซึ่งผู้ที่มีหน้าที่ในการเขียนรายงานการประชุมได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพได้นั้น จะต้องอาศัย ทักษะหลายด้าน เช่น ทักษะการฟัง ทักษะการสรุปจับประเด็นส าคัญ และทักษะการถ่ายทอดประเด็นส าคัญ เหล่านั้นในรูปแบบของลายลักษณ์อักษรอย่างถูกต้อง ชัดเจน กระชับ และตรงประเด็น กรมปุาไม้ จึงได้จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียน หนังสือราชการ” ขึ้น เพื่อให้บุคลากรของกรมปุาไม้ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในหลักการเขียนหนังสือราชการ หนังสือโต้ตอบต่าง ๆ และการจดบันทึกรายงานการประชุมที่ถูกต้อง ชัดเจน กระชับ ตรงประเด็น และสามารถน า ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้และความเข้าใจในหลักการ วิธีการเขียนหนังสือ ราชการ และการเขียนรายงานการประชุมได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกทักษะการฟัง จับประเด็น และสรุปสาระส าคัญในการประชุม ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน กระชับและตรงประเด็น 3. เพื่อให้สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้ารับการฝึกอบรม คุณสมบัติของผู้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม 1. ข้าราชการทุกระดับ ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการ สังกัดกรมปุาไม้จ านวน 200 คน 2. ยังไม่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร แนวทางการเขียนหนังสือราชการและการจดบันทึก รายงานการประชุม 3. สามารถใช้งานโปรแกรม Zoom ได้ในระดับดี 4. มีความพร้อมในการฝึกอบรมรูปแบบออนไลน์ เนื้อหาหลักสูตร...


2 เนื้อหาหลักสูตร 1. ระเบียบงานสารบรรณ และความรู้เกี่ยวกับหนังสือติดต่อราชการ 6 ชั่วโมง 2. การเขียนหนังสือราชการที่ดี 6 ชั่วโมง 3. การใช้ภาษาในหนังสือราชการและหนังสือโต้ตอบ 3 ชั่วโมง 4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคนิคการเขียนรายงานการประชุม 1 1/2 ชั่วโมง 5. การจับประเด็นและการเรียบเรียงประเด็น 1 1/2 ชั่วโมง 6. รูปแบบและภาษาในการเขียนรายงานการประชุม 3 ชั่วโมง วิทยากร นางผาณิต เตือนวีระเดช และนางสาวชมพูนุท สุขศรีมั่งมี วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากส านัก กฎหมายและระเบียบกลาง ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรีและนายทองสุข พานทอง อดีตผู้อ านวยการ ส่วนอ านวยการ ส านักบริหารงานกลาง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปุา และพันธุ์พืช และหัวหน้าฝุายสารบรรณ กรมปุาไม้ ระยะเวลาและรูปแบบในการฝึกอบรม ระหว่างวันที่ 24 - 25 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. และวันที่ 28 - 30 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 – 12.00 น. ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom โดยการบรรยายให้ ความรู้การฝึกปฏิบัติแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และซักถามร่วมกับวิทยากร งบประมาณในการด าเนินการ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และปูองกันการท าลาย ทรัพยากรธรรมชาติ โครงการปูองกันรักษาปุา พัฒนาและเพิ่มพื้นที่สีเขียว กิจกรรมหลักอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วม กิจกรรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร งบด าเนินงาน 23,670 บาท (สองหมื่น สามพันหกร้อยเจ็ดสิบบาทถ้วน) มีรายละเอียดดังนี้ 1. ค่าวิทยากร 1.1 บุคลากรของรัฐ - ภาคบรรยาย (600 บาท x 1 คน x 9 ชั่วโมง) 5,400 บาท - ภาคปฏิบัติ (600 บาท x 2 คน x 3 ชั่วโมง) 3,600 บาท 1.2 ไม่ใช่บุคลากรของรัฐ (1,200 บาท x 1 คน x 9 ชั่วโมง) 10,800 บาท 2. ค่าอาหารอาหารกลางวัน (200 บาท x 6 คน x 2 มื้อ) 2,400 บาท 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (35 บาท x 6 คน x 7 มื้อ) 1,470 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 23,670 บาท ความสอดคล้องต่อยุทธศาสตร์ขององค์กร มีความสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการไปสู่ความเป็นเลิศ โดยมี เปูาประสงค์ คือเพื่อพัฒนาองค์กร บุคลากรให้มีศักยภาพ มีขีดสมรรถนะในการด าเนินงานตามแนวทาง การบริหารภาครัฐแนวใหม่ และสามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง เกณฑ์การผ่านการฝึกอบรม 1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องมีเวลาเข้ารับการฝึกอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจ านวน ชั่วโมงฝึกอบรมทั้งหมด ตามที่ก าหนดในหลักสูตร 2. ผู้เข้ารับ...


3 ๒. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีคะแนนการท าแบบทดสอบหลังการอบรม ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 70 ของคะแนนรวมทั้งหมด การประเมินผลโครงการ ประเมินผลหลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม โดยใช้แบบประเมินผล หรือการสังเกตพฤติกรรมของ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และความเข้าใจในหลักการ วิธีการเขียนหนังสือราชการ และการเขียนรายงานการประชุมได้อย่างถูกต้อง 2. ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกทักษะในการฟัง จับประเด็น และสรุปสาระส าคัญในการประชุมได้ อย่างถูกต้อง ชัดเจน กระชับและตรงประเด็น 3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการท างานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้รับผิดชอบโครงการ ส่วนฝึกอบรม ส านักบริหารกลาง กรมปุาไม้ รายละเอียดการด าเนินงาน 1. หนังสือส านักบริหารกลาง ด่วนที่สุด ที่ ทส 1601.4/ว 6115 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2565 เรื่อง ขอเชิญสมัครเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” โดยผู้สนใจสามารถแจ้งรายชื่อให้ส านักบริหารกลางทราบ ภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2565 2. หนังสือส านักบริหารกลาง ด่วนที่สุด ที่ ทส 1601.4/6454 ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขออนุมัติจัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” โดย นายบรรณรักษ์ เสริมทอง รองอธิบดี ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรมปุาไม้ ได้โปรดอนุมัติ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 3. หนังสือกรมปุาไม้ด่วนที่สุด ที่ ทส 1601.4/18339 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 ส่งส าเนาค าสั่งกรมปุาไม้ที่ 3885/2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะท างานโครงการฝึกอบรม หลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” 4. หนังสือกรมปุาไม้ด่วนที่สุด ที่ ทส 1601.4/18340 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 ส่ง ส าเนาค าสั่งกรมปุาไม้ที่ 3886/2565 เรื่อง ให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” ระหว่างวันที่ 24 - 25 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. และวันที่ 28 - 30 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 – 12.00 น. จ านวน 442 คน 5. หนังสือกรมปุาไม้ ด่วนที่สุด ที่ ทส 1601.4/18337 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขอเชิญเป็นวิทยากร ขอความอนุเคราะห์ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรีให้นางผาณิต เตือนวีระเดช ต าแหน่ง นิติกรช านาญการ และนางสาวชมพูนุท สุขศรีมั่งมี ต าแหน่ง นิติกรช านาญการ เป็นวิทยากรบรรยาย ระหว่างวันที่ 24 - 25 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. 6. หนังสือ...


4 6. หนังสือกรมปุาไม้ ด่วนที่สุด ที่ ทส 1601.4/18338 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขอเชิญเป็นวิทยากร ขอความอนุเคราะห์นายทองสุข พานทองเป็นวิทยากรบรรยาย ระหว่างวันที่ 28 - 30 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 – 12.00 น. 7. หนังสือส่วนฝึกอบรม ที่ ทส 1601.4/580 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขอยืม เงินทดรองราชการ 8. หนังสือส านักบริหารกลาง ด่วนที่สุด ที่ ทส 1601.4/6503 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขอความอนุเคราะห์User ID และ Password ระบบ Application Zoom เพื่อใช้ในการฝึกอบรม หลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” จ านวน 500 user 9. หนังสือส่วนฝึกอบรม ที่ ทส 1601.4/583 ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขอเชิญ เป็นผู้กล่าวรายงานในพิธีเปิดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” 10. หนังสือส่วนฝึกอบรม ที่ ทส 1601.4/585 ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขอความอนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ในการบันทึกภาพพิธีเปิดโครงการฝึกอบรม 11. หนังสือส านักบริหารกลาง ที่ ทส 1601.4/6569 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง ขอเชิญเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือ ราชการ” 12. หนังสือส่วนฝึกอบรม ที่ ทส 1601.4/593 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 ขออนุญาต ผู้อ านวยการส านักบริหารกลางให้นายทองสุข พานทอง เป็นวิทยากรระหว่างวันที่ 28 - 30 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 – 12.00 น. 13. หนังสือกรมปุาไม้ ที่ ทส 1601.4/19900 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2565 เรื่อง ขอขอบคุณวิทยากร 14. หนังสือส านักบริหารกลาง ที่ ทส 1601.4/7219 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2565 เรื่อง ขอความอนุเคราะห์น าข้อมูลเพื่อเผยแพร่ลงเว็บไซต์กรมปุาไม้ การประเมินผลในการอบรม การประเมินความรู้ : การทดสอบก่อนและหลังการอบรมโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ โดยใช้แบบทดสอบจากส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี จ านวน 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 30 คะแนน พบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวิชามีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 12.22 คะแนน ท าแบบทดสอบก่อนการอบรมได้คะแนน สูงสุด 24 คะแนน คะแนนต่ าสุด 5 คะแนน ส่วนการท าแบบทดสอบหลังการอบรมมีคะแนนเฉลี่ย 27.57 คะแนน คะแนนสูงสุด 30 คะแนน และคะแนนต่ าสุด 8 คะแนน โครงการฝึกอบรมดังกล่าวมีการก าหนดเกณฑ์ การผ่านการฝึกอบรมว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีคะแนนการท าแบบทดสอบหลังการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของคะแนนรวมทั้งหมด คือต้องได้มากกว่า 24 คะแนน และต้องมีเวลาเข้ารับการฝึกอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของชั่วโมงฝึกอบรมทั้งหมด ผลการประเมินความรู้: ก่อนการอบรมและหลังการอบรมแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่าผู้เข้ารับการอบรม หลังได้รับความรู้จากการบรรยายและการแลกเปลี่ยน มี ความรู้เพิ่มขึ้น เป็นไปในทิศทางเดียวกับความคิดเห็นการประเมินความรู้ของผู้เข้ารับการอบรม และมีผู้ผ่านการ ฝึกอบรม 329 คน จากผู้เข้ารับการฝึกอบรม 442 คน คิดเป็นร้อยละ 74.43 ผลการประเมิน...


5 ผลการประเมินโครงการ ส่วนฝึกอบรม ส านักบริหารกลาง ได้ด าเนินการจัดท าแบบสอบถามเพื่อประเมินผลโครงการ ฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” จากผู้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม จ านวน 442 คน ได้รับแบบสอบถามคืน จ านวน 300 ชุด คิดเป็นร้อยละ 71.09 ซึ่งสรุปผลการประเมินได้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน จ านวนระดับคะแนนที่ก าหนดไว้มี 5 ระดับ ดังนี้ ความคิดเห็นระดับ 5 = มากที่สุด ความคิดเห็นระดับ 4 = มาก ความคิดเห็นระดับ 3 = ปานกลาง ความคิดเห็นระดับ 2 = น้อย ความคิดเห็นระดับ 1 = น้อยที่สุด ระยะระหว่างระดับ = ค่าสูงสุด – ค่าต่ าสุด จ านวนระดับชั้น = 5 - 1 = 0.8 ระดับคะแนนที่ได้ ระดับ 1 (น้อยที่สุด) = 1.00 - 1.80 ระดับ 2 (น้อย) = 1.81 - 2.60 ระดับ 3 (ปานกลาง) = 2.61 - 3.40 ระดับ 4 (มาก) = 3.41 - 4.20 ระดับ 5 (มากที่สุด) = 4.20 - 5.00 ตารางแสดงสรุปผลการประเมินผลความพึงพอใจการจัดโครงการ รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย X ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน S.D ระดับ ด้านความรู้ความเข้าใจ 1. ก่อนการอบรม ท่านมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของ โครงการดังกล่าว 3.08 1.00 ปานกลาง 2. หลังการอบรม ท่านมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของ โครงการดังกล่าวเพิ่มขึ้น 4.26 0.59 มากที่สุด ด้านเนื้อหาหลักสูตร 3. เนื้อหาหลักสูตรมีความเหมาะสม และตรงกับความ ต้องการ 4.43 0.59 มากที่สุด 4. เนื้อหาหลักสูตรมีประโยชน์และช่วยเสริมสร้างผลการ ปฏิบัติงานในหน้าที่และความรับผิดชอบของท่าน 4.51 0.57 มากที่สุด 5. ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ในการฝึกอบรม 4.10 0.81 มาก ค่าเฉลี่ย 4.35 0.65 มากที่สุด 5


6 รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย X ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน S.D ระดับ ด้านวิทยากร 6. มีความสามารถในการแสดงความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาที่ บรรยาย 4.52 0.60 มากที่สุด 7. มีความสามารถในการถ่ายทอด และเทคนิควิธีในการ น าเสนอความรู้ของวิทยากร 4.52 0.60 มากที่สุด 8. มีความชัดเจนในการให้ค าแนะน า/ตอบข้อซักถาม 4.45 0.62 มากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.50 0.61 มากที่สุด ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก 9. ความเหมาะสมของสถานที่และบรรยากาศในการ ฝึกอบรมในภาพรวม 4.11 0.79 มาก 10. ความพร้อมของสื่อ/อุปกรณ์/เอกสารประกอบ 4.20 0.78 มากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.16 0.79 มาก ค่าเฉลี่ยรวมทั้งหมด 4.22 0.69 มากที่สุด จากตารางแสดงสรุปผลการประเมินผลความพึงพอใจการจัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีต่อการด าเนินโครงการ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.22 โดยผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจด้านวิทยากร อยู่ในระดับมากที่สุด ได้รับคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.50 รองลงมาคือด้านเนื้อหาหลักสูตร อยู่ในระดับมากที่สุด ได้รับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.35 และ ท้ายสุดคือด้านสิ่งอ านวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก ได้รับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.16 ปัญหา/อุปสรรค 1. เนื่องจากเป็นการจัดฝึกอบรมในรูปแบบออนไลน์จึงท าให้ไม่สะดวกในการฝึกร่างหนังสือราชการ รวมถึงการถามตอบข้อสงสัยระหว่างผู้เข้ารับการฝึกอบรมและวิทยากร 2. เนื่องจากมีผู้สนใจเข้ารับการฝึกอบรมเป็นจ านวนมาก แต่ด้วยข้อจ ากัดทางด้านระบบ ท าให้ ไม่สามารถรองรับความต้องการเข้ารับการฝึกอบรมทั้งหมดได้ ข้อเสนอแนะ 1. การอบรมนี้เป็นประโยชน์ในการท างานมาก แต่ด้วยเนื้อหาสาระที่ค่อนข้างเยอะ จึงอยาก ให้มีการเผยแพร่เอกสารเพื่อใช้ศึกษาและอ้างอิง 2. ควรเพิ่มเวลาในการท าแบบฝึกหัด 3. ควรมีความพร้อมของสื่อ/อุปกรณ์ในการอบรมแบบออนไลน์เพื่อไม่ให้เกิดการติดขัด 4. เมื่อสถานการณ์ของโรคระบาดคลี่คลาย อยากให้มีการจัดอบรมในห้องประชุม เนื่องจาก การอบรมออนไลน์ ยังมีงานอื่นที่ต้องท าควบคู่ไปด้วย จึงท าให้ไม่มีสมาธิในการอบรม อีกทั้งปัญหาเรื่องสัญญาณ อินเตอร์เน็ตในบางพื้นที่ของผู้เข้าอบรมในส่วนภูมิภาค ท าให้ขาดความต่อเนื่องในการอบรม 5. ควรให้มีการจัดอบรมการเขียนหนังสือราชการ ปีละ 1 - 2 ครั้ง


7 ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” วันที่ 24 - 25 พฤศจิกายน 2565 และวันที่ 28 - 30 พฤศจิกายน 2565 ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom


8 ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ” วันที่ 24 - 25 พฤศจิกายน 2565 และวันที่ 28 - 30 พฤศจิกายน 2565 ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom


9 ภาคผนวก - ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม - ภาคผนวก ข การขออนุมัติโครงการ - ภาคผนวก ค เอกสารประกอบการเรียน


10 ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม


11 ภาคผนวก ข การขออนุมัติโครงการ เอกสารประกอบการขออนุมัติโครงการฯ และเอกสารที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ


12 ภาคผนวก ค เอกสารประกอบการเรียน เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตร ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ


13 ภาคผนวก ง ข้อมูลภารกิจและกรอบอัตราก าลังของกรมป่าไม้


ข้อมูลภารกิจและกรอบอัตราก าลังของกรมป่าไม้ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาจัดท าแผนบริหารและพัฒนาบุคลากรกรมป่าไม้ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นการรักษาป่าเดิม เพิ่มป่าใหม่ ใส่ใจประชาชน บนรากฐานนวัตกรรม และธรรมาภิบาล ภารกิจหลัก 1. ป้องกัน และรักษาพื้นที่ป่าไม้ให้คงอยู่ 2. เพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ สนับสนุนการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้ให้อุดมสมบูรณ์ ตอบสนองความต้องการทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 3. บริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้โดยการมีส่วนร่วม 4. บริหารจัดการที่ดินป่าไม้อย่างเป็นระบบและเป็นธรรม เพื่อให้คนอยู่ร่วมกับป่าอย่างสมดุลและยั่งยืน 5. วิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างนวัตกรรม และถ่ายทอดเทคโนโลยี ในการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรป่าไม้ 6. พัฒนาความสามารถเชิงรุกขององค์กร ทั้งระบบ กลไก ข้อมูลสารสนเทศ และปรับปรุงกฎ ระเบียบ ให้ทันสมัยให้เหมาะกับภาวการณ์ปัจจุบัน อ านาจหน้าที่ ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2551 ให้กรมป่าไม้มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1) ควบคุม ก ากับ ดูแล ป้องกันการบุกรุก การท าลายป่า และการกระท าผิดในพื้นที่รับผิดชอบตาม กฎหมายว่าด้วยป่าไม้ กฎหมายว่าด้วยป่าสงวนแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยสวนป่า กฎหมายว่าด้วยเลื่อยโซ่ยนต์ กฎหมายว่าด้วยป่าชุมชน และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) ศึกษา วิจัย วางแผน และประสานงานเกี่ยวกับการปลูกป่าเพื่อการฟื้นฟูสภาพป่าและระบบนิเวศ 3) ส่งเสริมการปลูกป่า การจัดการป่าชุมชน และการปลูกสร้างสวนป่าเชิงเศรษฐกิจในลักษณะสวนป่า ภาคเอกชนและสวนป่าในรูปแบบอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนศึกษา วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์ป่าเศรษฐกิจ ของตลาดในประเทศและต่างประเทศ 4) อนุรักษ์ คุ้มครอง ดูแลรักษา และจัดการให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ และการอนุญาตที่ เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากไม้ อุตสาหกรรมไม้ ที่ดินป่าไม้ และผลผลิตป่าไม้ 5) ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับป่าไม้และผลิตผลป่าไม้ และที่เกี่ยวข้องกับไม้ และ ผลิตภัณฑ์ไม้ 6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก าหนดให้เป็นอ านาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย นโยบายและทิศทางการบริหารงานของกรมป่าไม้ กรมป่าไม้ได้ปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายในการอนุรักษ์ สงวน คุ้มครอง ฟื้นฟู ดูแล รักษา ส่งเสริม ท านุบ ารุงป่า และด าเนินการเกี่ยวกับการป่าไม้ การท าไม้ การเก็บหาของป่า การใช้ประโยชน์ในที่ดิน ป่าไม้และการอื่นเกี่ยวกับป่าและอุตสาหกรรมป่าไม้ ให้เป็นไปตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้วยกลยุทธ์ เสริมสร้าง...


เสริมสร้างความร่วมมือของประชาชนเป็นหลัก เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน และภารกิจอื่นตามที่กฎหมายก าหนดให้เป็นอ านาจหน้าที่ของกรมป่าไม้ ตามแผนยุทธศาสตร์ กรมป่าไม้ พ.ศ. 2560 – 2579 โดยแบ่งออกเป็น 7 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ป้องกันรักษาพื้นที่ป่าที่เหลือให้คงอยู่และยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมอย่างมีประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมธุรกิจป่าไม้และป่าเศรษฐกิจจากป่าปลูก และการ ส่งเสริมชุมชนในเมือง/ ชุมชนชนบทเป็นพื้นที่สีเขียว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 แก้ไขปัญหาราษฎรในพื้นที่ป่าไม้อย่างเป็นระบบและเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 สนับสนุนและส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการ ทรัพยากรป่าไม้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 บูรณาการและส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาระบบบริหารและจัดการองค์กร แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ : การบริหารจัดการและอ านวยการบุคลากรภาครัฐเพื่อสนับสนุนการจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 2. แผนงานพื้นฐาน : แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผลผลิต พื้นที่ป่าไม้ได้รับการบริหารจัดการ (1)กิจกรรมหลักป้องกันรักษาป่า (2)กิจกรรมหลักจัดการที่ดินป่าไม้ (3)กิจกรรมหลักส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจและเพิ่มพื้นที่สีเขียว (4)กิจกรรมหลักฟื้นฟูป่าไม้ (5)กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาการป่าไม้ (6)กิจกรรมหลักบริหารจัดการงานป่าไม้ (7)กิจกรรมหลักบริการงานป่าไม้ 3. แผนงานยุทธศาสตร์: แผนงานยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกัน การท าลายทรัพยากรธรรมชาติ 1) โครงการป้องกันรักษาป่า พัฒนาและเพิ่มพื้นที่สีเขียว (1) กิจกรรมหลักป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า (2) กิจกรรมหลักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วม (3) กิจกรรมหลักส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจร (4) กิจกรรมหลักฟื้นฟูและดูแลทรัพยากรธรรมชาติ (5) กิจกรรมหลักส่งเสริมการบริหารจัดการป่าชุมชน (6) กิจกรรมหลักส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียว (7) กิจกรรมหลักปรับปรุง เครื่องมือ และกลไก ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (8) กิจกรรมหลักพัฒนาแหล่องท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (9) กิจกรรมหลักขับเคลื่อนงานป่าไม้เพื่อรองรับการกักเก็บคาร์บอน 2) โครงการ…


2) โครงการบริหารจัดการที่ดินป่าไม้อย่างเป็นระบบและเป็นธรรม (1) กิจกรรมหลักการจัดการที่ดินป่าไม้ในระดับพื้นที่ (2) กิจกรรมหลักจัดท าฐานข้อมูลพื้นที่ป่าไม้ 4. แผนงานบูรณาการ : แผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ 4.1 แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ า 1.) โครงการปลูกป่าเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศ (1) กิจกรรมฟื้นฟูระบบนิเวศในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (2) กิจกรรมสร้างฝายต้นน้ าในพื้นที่ป่าต้นน้ า ผลสัมฤทธิ์หน่วยงาน 1. ระบบการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่มีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของภาคส่วน ต่าง ๆ 2. ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้ที่เหมาะสมกับความสมดุลของระบบนิเวศและการใช้ประโยชน์ 3. ประเทศไทยมีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างเหมาะสมและเป็นธรรมเพื่อเป็นฐานการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยค านึงถึงดุลยภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์หน่วยงาน 1. เครือข่ายภาคประชาชน เอกชน และประชาสังคมมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมและดูแลรักษาพื้นที่สีเขียว 1,300 เครือข่าย 2. พื้นที่ป่าไม้ได้รับการบริหารจัดการ 60.76 ล้านไร่ 3. พื้นที่ป่าไม้ที่ได้รับการฟื้นฟู 63,070 ไร่ 4. พื้นที่ป่าเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น 20,000 ไร่ 5. พื้นที่ป่าไม้ได้รับการจัดระเบียบและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง 500,000 ไร่ 6. พื้นที่ป่าไม้ได้รับการส่งเสริมการบริหารจัดการป่าชุมขนโดยการมีส่วนร่วมของราษฎรในชุมชน 449 ป่าชุมชน 7. หมู่บ้านที่ได้รับการส ารวจการถือครองที่ดินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และหมู่บ้านที่ได้รับการจัดท า แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่เพื่อจัดระเบียบการใช้ที่ดิน 5,853 หมู่บ้าน เป้าหมายการให้บริการประชาชน “รักษาพื้นที่ป่า และเพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ ตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริหารหน่วยงาน 1. รักษาพื้นที่ที่มีสภาพป่าในความรับผิดชอบของกรมป่าไม้ 34 ล้านไร่ 2. พื้นที่ป่าไม้ที่ได้รับการฟื้นฟู 63,070 ไร่ 3. พื้นที่ป่าเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น 20,000 ไร่ 4. จ านวนเนื้อที่ป่าถาวรที่ได้รับการส ารวจสภาพพื้นที่เพื่อจัดท าข้อมูลที่ดิน 50,000 ไร่ 5. หมู่บ้านที่ได้รับการส ารวจการถือครองที่ดินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 2,853 หมู่บ้าน 6. หมู่บ้านที่ได้รับการจัดท าแผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่ เพื่อจัดระเบียบ การใช้ที่ดิน 3,000 หมู่บ้าน 7. จ านวนเครือข่ายความร่วมมือในการควบคุมไฟป่ามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมไฟป่า 1,000 หมู่บ้าน 8. จ านวน...


8. จ านวนจุดความร้อน (Hotspot) จากภาพถ่ายดาวเทียม Suomi NPP เซ็นเซอร์ VIIRS ในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติที่กรมป่าไม้รับผิดชอบลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 ของค่าเฉลี่ยจุดความร้อนย้อนหลัง 3 ปี 43,825 จุด 9. ส่งเสริมจัดตั้งและพัฒนาป่าชุมชน 449 ป่าชุมชน 10. ราษฎรในชุมขนได้รับการส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการป่าชุมชน 200 ป่าชุมชน กรอบอัตราก าลัง…


กรอบอัตราก าลังในภาพรวมของกรมป่าไม้ ที่ หน่วยงาน รวม ข้าราชการ (ต าแหน่ง) ลูกจ้างประจ า (อัตรา) พนักงาน ราชการ (อัตรา) ลูกจ้างชั่วคราว เงิน งบประมาณ (อัตรา) เงินนอก งบประมาณ (อัตรา) 1 ส่วนกลาง 524 6 - 518 - - 2 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 14 6 - 8 - - 3 กลุ่มตรวจสอบภายใน 6 6 - - - - 4 กลุ่มนิติการ 41 20 - 21 - - 5 ส านักบริหารกลาง 236 94 1 141 - - 6 กองการอนุญาต 110 43 1 66 - - 7 ส านักจัดการที่ดินป่าไม้ 151 60 - 91 - - 8 ส านักจัดการป่าชุมชน 245 50 4 191 - - 9 ส านักป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า 445 156 42 247 - - 10 ส านักแผนงานและสารสนเทศ 169 49 - 120 - - 11 ส านักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ 754 146 46 562 - - 12 ส านักส่งเสริมการปลูกป่า 398 90 9 299 - - 13 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 1 514 86 38 390 - - 14 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 2 312 70 19 223 - - 15 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 965 136 49 780 - - 16 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 4 853 133 64 656 - - 17 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 5 196 69 19 108 - - 18 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 577 98 54 425 - - 19 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 767 109 37 621 - - 20 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 8 574 96 52 426 - - 21 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 9 412 83 32 297 - - 22 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 10 407 78 25 304 - - 23 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 11 369 64 53 252 - - 24 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 12 394 70 57 267 - - 25 ส านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 313 64 44 205 - - รวม 9,746 1,882 646 7,218 - - ข้อมูล ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 (ส่วนการเจ้าหน้าที่ กรมป่าไม้)


รายงานผลการฝึกอบรม หลักสูตร ระเบียบงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ วันถี่ ๒๔ - ๒๕ พฤศจิกายน และ ๒๘ – ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ จัดอบรมในรูปแบบออนโลน์ ผ่านไปรแกรม Zoom


Click to View FlipBook Version