The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสารเน้นกิจกรรมกลุ่ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 62100106138, 2024-02-04 07:22:16

วิจัยในชั้นเรียน

การพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสารเน้นกิจกรรมกลุ่ม

การพัฒนาทกัษะการพดูภาษาจนีโดยใชการจัดกจิกรรมการเรียนรภูาษาเพอื่การ สอื่สารเนนกิจกรรมกลมุ ของนกัเรียนชนั้มธัยมศกึษาปท 5 ี่ โรงเรยีนปทมุเทพวิทยาคาร THE DEVELOPMENT OF CHINESE SPEAKING SKILLS OF THE MATHAYOM 5 STUDENTS AT PATHUMTHEPWITTAYAKARN SCHOOL USING COMMUNICATIVE LANGUAGE TEACHING FOCUSING ON GROUP ACTIVITIES สชุาวดี จนัทะผล วิจยัฉบับนี้เปน  สวนหนงึ่ของรายวชิาการวจิัยเพอื่พฒันาการเรยีนร ู หลักสตูรครศุาสตรบณัฑติ สาขาวชิาการสอนภาษาจีน คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏอดุรธานี 2566


การพัฒนาทกัษะการพดูภาษาจนีโดยใชการจัดกจิกรรมการเรียนรภูาษาเพอื่การ สอื่สารเนนกิจกรรมกลมุ ของนกัเรียนชนั้มธัยมศกึษาปท 5 ี่ โรงเรยีนปทมุเทพวิทยาคาร THE DEVELOPMENT OF CHINESE SPEAKING SKILLS OF THE MATHAYOM 5 STUDENTS AT PATHUMTHEPWITTAYAKARN SCHOOL USING COMMUNICATIVE LANGUAGE TEACHING FOCUSING ON GROUP ACTIVITIES สชุาวดี จนัทะผล วิจยัฉบับนี้เปน  สวนหนงึ่ของรายวชิาการวจิัยเพอื่พฒันาการเรยีนร ู หลักสตูรครศุาสตรบณัฑติ สาขาวชิาการสอนภาษาจีน คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏอดุรธานี 2566


ชอื่เรอื่ง การพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนโดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรู ภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่5 ผวูจิยั นางสาวสุชาวดี จันทะผล สาขาวิชา การสอนภาษาจีน อาจารยท ปี่รึกษา อาจารยวรรณา เหลาเขตกิจ ครพูี่เลยี้ง คุณครูกนกวรรณ วงศศิริยานนท อาจารยประจำหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีอนุมัติใหนับวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน .................................................................. หัวหนาสาขาวิชา ( อาจารยปาริฉัตร พรมสอน ) วันที่ 30 เดือน มกราคม พ.ศ 2567 คณะกรรมการผูประเมินรายงานวิจัยในชั้นเรียน .................................................................................. ประธานคณะกรรมการ ( อาจารยวรรณา เหลาเขตกิจ ) .................................................................................. กรรมการ ( อาจารยนรากร จันลาวงศ ) .................................................................................. กรรมการ ( คุณครูกนกวรรณ วงศศ ิริยานนท )  .................................................................................. กรรมการ ( คุณครูตุลยพร นาครทรรพ ) .................................................................................. กรรมการ ( คุณครูสุธีธิดา บรรณารักษ )


ก ชอื่เรอื่ง การพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนโดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรู ภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่5 ผวูจิัย นางสาวสุชาวดี จันทะผล อาจารยทปี่รึกษา อาจารยวรรณา เหลาเขตกิจ อาจารยทปี่รึกษารวม อาจารยนรากร จันลาวงศ ปการศกึษา 2566 บทคัดยอ รายงานนี้มีวัตถุประสงค คือ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ดานทักษะการพูด ภาษาจีน รายวิชาภาษาจีนเพิ่มเติม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่5 โดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรู ภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุมระหวางกอนเรียนและหลังเรียน กลุมตัวอยางเปนนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่5 โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร จังหวัดหนองคาย ไดจากการเลือกแบบการสุมตัวอยางแบบกลุม จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก แผนการ จัดการเรียนรูวิชาภาษาจีนเพิ่มเติม และแบบทดสอบวัดทักษะการพูด วิชาภาษาจีนเพิ่มเติม การ วิเคราะหขอมูลใชคาเฉลี่ย รอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบคาทีแบบไมอิสระ สรุปผล การใชแผนไดดังนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ดานทักษะการพูดภาษาจีนของนักเรียนโดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษา เพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม คิดเปนรอยละ76.50 ซึ่งมีประสิทธิภาพผานเกณฑมาตราฐานที่ตั้งไว รอยละ 75 และสูงกวาเกณฑมาตรฐาน 2. ทักษะการพูดภาษาจีนของนักเรียนโดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาเพื่อการสื่อสาร เนนกิจกรรมกลุม หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 ซึ่งนักเรียนไดรับ คะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเทากับ 75.90 คิดเปนรอยละ 63.30 โดยมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.45 และหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 91.80 คิดเปนรอยละ 76.50 คะแนน โดยมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 1.30 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01


ข กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยในครั้งนี้สามารถสำเร็จลุลวงไดอยางสมบูรณดวยความกรุณาและความชวยเหลือ อยางดีจากอาจารยนรากร จันลาวงศ อาจารยวรรณา เหลาเขตกิจ และอาจารยกนิษฐา มาลา อาจารยนิเทศที่กรุณาตรวจสอบเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ใหคำปรึกษา แนะนำ และตรวจสอบ ขอบกพรองตางๆ อยางละเอียดจนครบถวนสมบูรณตลอดจนใหกำลังใจ แกผูวิจัยดวยความเอาใจใส อยางดียิ่งเสมอมา ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งในความกรุณาและขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ นางสาวกนกวรรณ วงศศิริยานนท ครูพี่เลี้ยง ที่กรุณาตรวจสอบเครื่องมือที่ ใชในการวิจัย ดูแลใหคำปรึกษาตลอดจนใหคำแนะนำติชมตางๆ อันเปนประโยชนตอการศึกษาวิจัย และการปฏิบัติหนาที่การสอน ตลอดจนคณะครู ศูนยภาษาตางประเทศ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร ทุกทาน ที่ชวยใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชน และมีคุณคาตอการทำวิจัยครั้งนี้อยางดียิ่ง ขอขอบพระคุณ คณะผูบริหาร และคณะครูโรงเรียนปทุมเทพวิทยาคารที่ ใหความรวมมือ เปนอยางดีในการเก็บรวบรวมขอมูลและการทดลองใชเครื่องมือวิจัยรวมถึงนักเรียนระดับชั้น มัธยมศกึษาปที่5 ปการศกึษา 2566 ที่ใหความรวมมือในการศึกษาวิจัย ขอขอบพระคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานที่คอยดูแลและใหการสนับสนุนในการวิจัยครั้งนี้ทั้ง ใหความชวยเหลือในดานทุนทรัพย ขอเสนอแนะดานตางๆ ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้และมีสวนชวยให การศกึษาวิจัยครงนี้ ั้ลุลวงไปดวยดี


ค สารบัญ บทที่ หนา บทคัดยอภาษาไทย................................................................................................................ ก กิตติกรรมประกาศ.................................................................................................................ข สารบญั..................................................................................................................................ค สารบญัภาพ...........................................................................................................................จ สารบญัตาราง.........................................................................................................................ฉ บทที่ 1 บทนำ........................................................................................................................1 1.1 ความเปนมาและความสำคัญของปญหา............................................................1 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย...................................................................................3 1.3 สมมติฐานของการวิจัย.......................................................................................4 1.4 ขอบเขตของการวิจัย..........................................................................................5 1.5 นิยามศัพทเฉพาะ...............................................................................................5 1.6 ประโยชนที่จะไดรับ............................................................................................5 2 เอกสารและงานวจิัยทเี่กี่ยวของ......................................................................................6 2.1 ตัวชี้วัดและการเรียนรูหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น………………………………..6 2.2 การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร…………………………………………………………………14 2.3 กิจกรรมกลุม…………………………………………………………………………………………27 2.4 ทักษะการพูด………………………………………………………………………………………..36 2.5 วิธีการสอนทักษะการพูด..................................................................................37 2.6 รูปแบบของกิจกรรมการฝกทักษะการพูดภาษาจีน…………………………………….38 2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของในประเทศ………………………………………….…………………….41 2.8 งานวิจัยที่เกี่ยวของตางประเทศ……………………………………………………………….43 3 วิธดีำเนนิการวจิยั….......................................................................................................46 3.1 กลุมเปาหมาย..................................................................................................46 3.2 รูปแบบในการทดลอง…...................................................................................46 3.3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย…...............................................................................47 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล…..................................................................................51 3.5 การวิเคราะหขอมูล….......................................................................................52 3.6 สถิติที่ใชในการวิจัย……………………………………………………………………………….52


ง สารบัญ (ตอ ) บทที่ หนา 4 ผลการวิเคราะหข อมูล......................................................................................................56 4.1 ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทักษะการพูดภาษาจีน…………………56 4.2 ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาจีนกอนและหลังเรียน…….58 5 สรปุ อภปิรายผล และขอเสนอแนะ.................................................................................60 5.1 วัตถุประสงคของการวิจัย....................................................................................60 5.2 สมมติฐานของการวิจัย........................................................................................60 5.3 วิธีดำเนินการวิจัย................................................................................................60 5.4 สรุปผลการวิจัย...................................................................................................61 5.5 อภิปรายผล.........................................................................................................62 5.6 ขอเสนอแนะ.......................................................................................................63 บรรณานุกรม..........................................................................................................................66 ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………………70 ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชี่ยวชาญ……………………………………………………………………….71 ภาคผนวก ข เครื่องมือที่ใชในการวิจัย…………………………………………………..………….73 ภาคผนวก ค เอกสสารขอความอนุเคราะหผูเชี่ยวชาญ……………………………………..167 ภาคผนวก ง การหาประสิทธิภาพเครื่องมือที่ใชในการวิจัย………………………………..176 ภาคผนวก จ ตวัอยางแบบฟอรมที่ใชในการหาคาดัชนีความสอดคลอง……………….196  ภาคผนวก ฉ ภาพตัวอยางกิจกรรม…………………………………………………………………200 ภาคผนวก ช ภาพตัวอยางผลคะแนนทักษะการพูดภาษาจีน………………………………205 ภาคผนวก ซ ประวัติผูวิจัย……………………………………………………………………………..208


จ สารบัญภาพ หนา ภาพที่ 1 การแสดงคาคะแนนความเชื่อมั่นของแบบวัดทักษะการพูดภาษาจีน………………………..185 ภาพที่ 2 การแสดงคาความยากงายของแบบวัดทักษะการพูดภาษาจีน………………………………….186 ภาพที่ 3 การแสดงคาอำนาจจำแนกของแบบวัดทักษะการพูดภาษาจีน………………………………...187 ภาพที่ 4 การแสดงผลการวิเคราะหคะแนนของผลสัมฤทธิ์ทักษะการพูดภาษาจีน…………………..190 ภาพที่ 5 การแสดงผลการวิเคราะหคะแนนผลสัมฤทธิ์ทักษะการพูดภาษาจีนโดยใชการทดสอบ คา t-test………………….………………………………………………………………………………………190


ฉ สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 1 แสดงแผนที่ใชในการวิจัย………………………………………………………….……………………….46 ตารางที่ 2 แบบแผนวิจัยจำแนกตามตัวแปร………………………………………………………………………..47 ตารางที่ 3 ผลการศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทักษะการพูดภาษาจีนโดยแสดงผลรวมคะแนน คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และรอยละของคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน…….56 ตารางที่ 4 การเปรียบเทียบคะแนนทักษะการพูดภาษาจีนโดยแสดงผลคะแนนกอนเรียนและหลัง เรียนคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คารอยละ การทดสอบทีแบบไมอิสระและระดับ นัยสำคัญทางสถิติ…………………………………………………………………………………………….58 ตารางที่5 การแสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรูการสอนทักษะพูด ภาษาจีนที่เรียนโดยการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม……………….………178 ตารางที่6 การแสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบทดสอบทักษะพูดภาษาจีน รายวชาิ ภาษาจีนเพิ่มเติม ดวยกิจกรรมการจัดการเรียนรูโดยใชภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรม กลุม……………………………………………………………………………………………………………....181 ตารางที่7 การแสดงคาความยากงาย (p) คาอำนาจจำแนก (r) และคาความเชื่อมั่นของแบบวัด ทักษะการพูดภาษาจีน……………………………………………………………………………………..184 ตารางที่ 8 การแสดงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทักษะการพูดภาษาจีนกอนและหลังดวยกิจกรรมการจัดการ เรียนรูโดยใชภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม…………………………………………….189 ตารางที่ 9 การแสดงผลการวิเคราะหขอมูลผลสัมฤทธิ์ผลสัมฤทธิ์ทักษะการพูดภาษาจีน ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โดยการใชทดสอบคาทีเทส…………………………………….190


1 บทท ี่1 บทนำ ความเปนมาและความสำคัญ การเรียนรูภาษาตางประเทศมีความสำคัญ และจำเปนอยางยิ่งในชีวิตประจำวัน เนื่องจาก เปนเครื่องมือสำคัญในการติตตอสื่อสาร การศึกษาการแสวงหาความรู การประกอบอาชีพ การสราง ความเขาใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม วิสัยทัศนของชุมชนโลก และตระหนักถึงความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นำมาซึ่งมิตรไมตรี และความรวมมือกับประเทศตางๆชวยพัฒนา ผูเรียนใหมีความเขาใจตนเอง และผูอื่นดีขึ้น เรียนรูและเขาใจความแตกตางของภาษา และวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีตอการใช ภาษาตางประเทศ และใชภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารได รวมทั้งเขาถึงองคความรูตางๆไดงาย และกวางขึ้นและมีวิสัยทัศนในการดำเนินชีวิตตอไปในอนาคต (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ในปจจุบัน การเรียนรูภาษาที่สอง อยางภาษาจีนมีความสำคัญอยางมาก เนื่องมาจาก สาธารณรัฐประชาชนจีน เปนประเทศที่กำลังเจริญรุดหนาไปอยางรวดเร็ว และเปนประเทศที่มี ประวัติศาสตรยาวนาน เปนแหลงอารยธรรมอันยิ่งใหญของโลก ไมกี่ปที่ผานมา บทบาทของประเทศ จีนบนเวทีโลกชัดเจนมากขึ้นเรื่อย ๆ ดวยการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศจีนที่โตขึ้นอยางรวดเร็ว ทำให ปจจุบันประเทศจีนจะแซงหนาเปนเจาเศรษฐกิจโลกแทนที่ประเทศยักษใหญ อยาง สหรัฐอเมริกาในอนาคตอยางแนนอน และมีแนวโนมที่ประเทศจีนจะขยายบทบาท ในประชาคมโลก อยางตอเนื่อง ในปจจุบันภาษาจีนถือไดวา เปนภาษาตางประเทศที่มีความสำคัญไมยิ่งหยอนไปกวา ภาษาอังกฤษ มีผูใชภาษาจีนอยูทั่วโลกประมาณ 1.3 พันลานคน (Internet Eduzones, ม.ป.ป.) และ ไดรับความนิยมเปนอันดับสองรองจากภาษาอังกฤษ และเปน 1 ใน 6 ภาษาที่ใชในองคการ สหประชาชาติ ประเทศจีนมีประชากรมากที่สุดเปนอันดับหนึ่งของโลก มีคนจีนอาศัยอยูในประเทศ ตางๆทั่วโลก มีมูลคาการคาการลงทุนระหวางประเทศมากเปนอันดับแรกๆของโลก รัฐบาลไทยและ คนไทยจึงเห็นความสำคัญของภาษาจีนมากขึ้น นับตั้งแตไทยไดสถาปนาความสัมพันธทางการทูตกับ สาธารณรัฐประชาชนจีนเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2518 เปนตนมา ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ กันอยางแนนแฟนและยาวนาน ในทุกดานทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ดำเนินดวยดีมา ตลอดสงผลให การคาและการลงทุนระหวางไทยจีนเพิ่มสูงขึ้น ทำใหความตองการในตลาดแรงงานตอ ผูที่มีความสามารถทางภาษาจีนสูงตาม ดังนั้น เพื่อสงเสริม และเปดโอกาสใหชาวไทยไดศึกษา ภาษาจีน มีความสามารถในการใชภาษาจีนสื่อสารกับชาวจีนอยางมีประสิทธิภาพ และเพื่อสงเสริม การเรียนการสอนภาษาจีนใหแพรหลายในประเทศไทย อันจะเปนการเสริมสรางความสัมพันธระหวาง ทั้งสองประเทศใหกระชับยิ่งขึ้น รัฐบาลไทยจึงไดกำหนดนโยบายมุงสรางสังคมฐานเศรษฐกิจ ซึ่งอาศัย ภาษาจีนเปนเคร่อืงมือในการสื่อสาร ตลอดจนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย


2 (วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร, 2559 ) การศึกษาภาษาจีนกลางนั้นถือวา มี ประโยชนอยางยิ่ง ไมเพียงแตสามารถใชภาษาเพื่อการสื่อสารทั่วไปแลว เราสามารถใชภาษาเพื่อสราง ความเจริญกาวหนาในดานตางๆ ทั้งในระดับบุคคลและระดับประเทศ เชน การศกึษาความรูวิทยาการ การประกอบธุรกิจการคาการลงทุน เทคโนโลยี การแพทย รวมทั้งวัฒนธรรมจีน นอกจากนี้ภาษาจีน ยังสามารถเพิ่มโอกาสทางการทำงานและการสรางความสัมพันธอันดีระหวางประเทศอีกดวย ประเทศ ไทยมีการตื่นตัวในเรื่องการเรียนการสอนภาษาจีนมากขึ้นทุกขณะ ปจจุบันมีการเปดสอนภาษาจีน ตั้งแตระดับชั้น อนุบาลจนถึงอุดมศกึษา โดยเฉพาะในชวง 5-10 ปที่ผานมา มีการพัฒนาการเรียนการ สอนภาษาจีนใหเปนวิชาเอกในระดับบัณฑิต และมหาบัณฑิตเพื่อรองรับความตองการ การใชภาษาจีน ในประเทศไทยและสังคมโลก นอกจากนี้งานวิจัยการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยยังแสดงวา มีประวัติการจัดการเรียนการสอนอยางยาวนาน จากประสบการณที่ผูวิจัยปฏิบัติหนาที่สอนภาษาจีน รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย พบวานักเรียนมีปญหาดานทักษะการพูด ไมสามารถสนทนาเปนประโยคพื้นฐานในภาษาจีนได สามารถสนทนาโดยใชเพียงคำศัพทสั้นๆในการ พูดคุยเพื่อใหบุคคลอื่นเขาใจและยังออกเสียงสระวรรณยุกตที่ไมถูกตองตามสัทอักษรจีน ซึ่งสงผลให นักเรียนไมสามารถพูดหรือสนทนาเปนประโยคไดถูกตองตามหลักไวยากรณของภาษาจีน รวมไปถึงมี ผลคะแนนทักษะการพูดภาษาจีน ซึ่งไดมาจากการประเมินดวยแบบทดสอบทักษะการพูดโดยเปน แบบทดสอบการพูดแบบปากเปลาของนักเรียนทั้งหมด คิดเปนรอยละ60 ในภาคเรียนที่ 1/2566 ซึ่ง ไมเปนไปตามเปาหมายที่กำหนด และจากสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ผูวิจัยไดวิเคราะห สาเหตุของการจัดการเรียนรูพบวา ปจจัยที่กอใหเกิดและปญหาดังกลาวคือ นักเรียนไมมีความสนใจ และเบื่อหนายในรูปแบบการจัดการเรียนรูโดยในระหวางการสอนนั้น ครูจะใหนักเรียนอานพรอมกัน ทั้งหองเรียน และไมมีกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลาย ทำใหการเรียนการสอนไมมีความสนใจ นอกจากนี้ ครูจะสอนทั้งคาบเรียน ทำใหนักเรียนเกิดความเบื่อหนาย ผูวิจัยมีความสนใจที่จะแกไข ปญหาที่ ดังกลาว จากปญหาในการสอนภาษาจีนไดกลาวมา ผูวิจัยไดศึกษาคนควาวิธีการสอนที่จะสามารถ พัฒนาทักษะการพูดภาษาจีน พบวา การสอนพูดภาษาจีนโดยภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม เปนการจัดการเรียนรูภาษาจีนวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ และสามารถแกไขปญหาดานตางๆ ทางดาน ภาษาจีนของผูเรียนได โดยนำความรูจากกิจกรรมกลุมมาชวยในการแกไขความบกพรองทางการ เรียนรูทางดานภาษาของผูเรียน จะเห็นไดวาการสอนภาษาจีนโดยใชกิจกรรมกลุม มีนักภาษาศาสตร ผูเชี่ยวชาญทางดานภาษาและนักวิจัยหลายคน เชน Klippel (1981) Littlewood (1983) Slavin (1990) Kagan (1990) Mccafferty (2006) และ Eisner (2002) ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการสอน ภาษาจีนโดยเนนกิจกรรมกลุม วาเปนกิจกรรมหนึ่งที่มุงเนนแกไขทางดานการสื่อสารของผูเรียนใหมี


3 ความสามารถดานการพูดภาษาจีน เพื่อการสื่อสารในสถานการณตางๆ ทั้งในและนอกหองเรียน แหลงชุมชน สังคมและวัฒนธรรมที่แตกตางกัน ซึ่ง Widdowson (1979) กลาววา กิจกรรมการเรียนรู ที่ผูเรียนมีโอกาสใชภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยการปฏิสัมพันธระหวางการดำเนินกิจกรรม ทั้งแบบคู และแบบกลุมจะชวยสรางบรรยากาศในชั้นเรียนได เพราะผูเรียนจะเกิดความมั่นใจในการแสดงออก ทางภาษาไมกลัววาจะพูดผิด และพบวาตนเองสามารถทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางบรรลุเปาหมาย นอกจากนี้ Button (1971) ระบุวา การมีปฏิสัมพันธระหวางกลุมชวยสงเสริมใหผูเรียนมีการพัฒนาใน ชั้นเรียน เนื่องจากผูเรียนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดระหวางกัน และผูเรียนสามารถทำกิจกรรมอยู ในเกณฑดีเมื่อเปรียบเทียบกับการทำงานเดี่ยว ซ่ึงการจัดการเรียนการสอนที่สรางใหผูเรียนมี ปฏิสัมพันธ เรียกวา กิจกรรมกลุม (Group Activity) กิจกรรมกระบวนการกลุมดังกลาวมีวิธีการ จัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสำคัญ สงเสริมใหผูเรียนเรียนรูจากประสบการณจริง นอกจากนั้น ยังเนนการฝกทักษะกระบวนการคิด การเผชิญสถานการณจริง และนำความรูที่ไดมาประยุกตใช รวมทั้งเพื่อเพิ่มบทบาทของผูเรียนใหมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเองมากขึ้น และสนับสนุน ใหผูเรียนรูจักแสวงหาความรูดวยตนเอง ฝกการทำงานเปนกลุมใหผูเรียนคิดเปนทำเปน และแกปญหา เปน (ประนอม เดชชัย) กิจกรรมกลุมประกอบไปดวยกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายเชน เกม (Game) บทบาทสมมุติ (Role play) กรณีตัวอยาง (Case) สถานการณจำลอง (Simulation) และ ละคร (Acting and Dramatization) เปนตน หากพิจารณาแลวจะพบวา กิจกรรมนี้มุงเนนผูเรียน เปนศูนยกลาง (Learner - Centered) กลาวคือเปนแนวการสอนที่เนนใหผูเรียนรูจักแสวงหาความรู ดวยตนเอง และมีการปฏิสัมพันธระหวางครูกับผูเรียน เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็นมาก ขึ้นและมองเห็นประโยชนและคุณคาของสิ่งที่เรียนวาสามารถนำไปใชไดจริง ดังนั้นผูวิจัย จึงมีความสนใจที่จะนำเอาวิธีการจัดการเรียนการสอนดังกลาว มาใชในการ พัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เนื่องจากการสอนภาษาเพื่อการ สื่อสารเนนกิจกรรมกลุม เปนกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุงเนนความสำคัญไปยังผูเรียน และยึด ผูเรียนเปนสำคัญ นอกจากนี้กิจกรรมดังกลาว ยังชวยพัฒนาทักษะพูดภาษาจีนเพื่อการสื่อสารไดอยาง ลึกซึ้ง เพราะผูเรียนไดศึกษาและมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนดวยกัน ทำใหผูเรียนเกิดความตระหนักและ เห็นความสำคัญของเนื้อหาที่เรียนและการนำไปใชไดอยางแทจริง


4 วตัถุประสงคการวจิัย ในการวิจัยในครั้งนี้ ผวูิจัยไดตั้งวัตถุประสงคของการวิจัย ดังตอไปนี้ วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ดานทักษะการพูดภาษาจีนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5 โดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุมหลังเรียนกับ เกณฑรอยละ 75 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 กอนและหลัง เรียน โดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม สมมติฐานการวจิัย 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาเพื่อการสื่อสารเนน กิจกรรมกลุม มีผลสัมฤทธิ์ดานทักษะการพูดภาษาจีนหลังเรียนไมนอยกวารอยละ75 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาเพื่อการสื่อสารเนน กิจกรรมกลุม มีทักษะการพูดภาษาจีนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้ 1.กลุมตัวอยาง กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 รายวิชาภาษาจีน เพิ่มเติม ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2566 โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร สำนักงานเขตพื้นที่ การศกึษามัธยมศกึษาหนองคาย จำนวน 1 หอง รวม 20 คน 2.ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรตน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม 2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ดานทักษะการพูดภาษาจีนและทักษะการพูดภาษาจีนของ นักเรียนชั้นมัธยมศกึษาปที่ 5 โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 3.เนื้อหาที่ใชในการทดลอง เนื้อหาที่ผูวิจัยนำมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในครั้งนี้คือวิชา ภาษาจีนเพิ่มเติม เรื่อง การบอกตำแหนง การทองเที่ยวเมืองตางๆ คุณเปนคนประเทศไหน ความปรารถนาของฉัน สุขภาพ ของคุณเปนอยางไร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกัราช 2551 มีรายละเอียดดังนี้


5 3.1 การบอกตำแหนง 位置 จำนวน 3 ชั่วโมง 3.2 การทองเที่ยวเมืองตางๆ 城市 จำนวน 3 ชั่วโมง 3.3 คุณเปนคนประเทศไหน 国家 จำนวน 3 ชั่วโมง 3.4 ความปรารถนาของฉัน 愿望 จำนวน 3 ชั่วโมง 3.5 สุขภาพของคุณเปนอยางไรบาง 健康 จำนวน 3 ชั่วโมง 4.ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง ผูวิจัยดำเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2566 วิชา ภาษาจีนเพิ่มเติม เรื่อง การ บอกตำแหนง การทองเที่ยวเมืองตางๆ คุณเปนคนประเทศไหน ความปรารถนาของฉัน สุขภาพของ คุณเปนอยางไร ตามแผนการจัดการเรียนรู 3 ชั่วโมงตอสัปดาห จำนวน 5 แผน ใชเวลา 15 ชั่วโมง เดือนกันยายน-เดือนธันวาคม 5.ขอบเขตดานสถานที่ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร ที่ตั้งของโรงเรียน ถนนมิตรภาพ ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000 นิยามศัพทเฉพาะ 1. การสอนภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร หมายถึง แนวคิดเกี่ยวกับ การสอนภาษาจีนเพื่อการ สื่อสาร (Communicative Language Teaching) จุดมุงหมายของวิธีสอน ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร คือ มุงใหผูเรียนใชภาษาที่เรียนในการสื่อสารทำความเขาใจระหวางกัน และคนสวนใหญมีความเชื่อวา ถาผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับโครงสรางทางภาษาและคำศัพทแลว จะสามารถใชภาษาเพื่อการสื่อสารได (สุมิตรา อังวัฒนกุล, 2540) 2. กิจกรรมกลุม หมายถึง การเรียนการสอนที่นักเรียนทำงานรวมกันเปนกลุม เรียนรูสิ่งตางๆ รวมกัน แบงปนแนวคิดของแตละคน มีการชวยเหลือพึ่งพากันในกลุม รับผิดชอบเนื้อหาที่ไดรับ มอบหมายทั้งของกลุมและสวนของตนเอง ตามวัตถุประสงคของกลุม ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยได ประยุกตขั้นตอนการสอนแบบกระบวนการกลุมของสลาวิน (Slavin, 1995) 3. ทักษะการพูดภาษาจีน หมายถึง การพูดเปนการติดตอสื่อสารระหวางมนุษยดวยการใช เสียง ภาษาและทาทางเพื่อถายทอดความรูสึก ความคิดและเขาใจจากผูพูดไปสูผูฟง เปนกระบวนการ ที่ไมไดดำเนินไปตามระเบียบแบบแผนที่กำหนดไว หรืออาจกลาวไดวาการพูดเปนกระบวนการใส ความหมายเกิดขึ้นควบคูกับการฟง ซึ่งเปนกระบวนการแปลความหมาย (สุภัทรา อักษรานุเคราะห, 2532)


6 ประโยชนที่จะไดรับ การศกึษาวิจัยในครั้งนี้ ประโยชนที่จะไดรับมีดังนี้ 1. นักเรียนไดรับการพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนโดยการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเนน กิจกรรมกลุมไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. ไดทราบถึงความสามารถการพูดภาษาจีนของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูภาษาเพื่อ การสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม 3. นักเรียนไดรับการพัฒนาดานผลสัมฤทธิ์ทักษะการพูดภาษาจีนโดยการสอนภาษาเพื่อการ สื่อสารเนนกิจกรรมกลุมไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเปนแนวทางสำหรับครูผูสอนภาษาจีนโดยนำการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเนน กิจกรรมกลุมมาประกอบกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนของ นักเรียนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 5. เพื่อเปนแนวทางแกผูที่สนใจในการสอนภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุมนำไป ประยุกตใชกับรายวิชาอื่นหรือภาษาตางประเทศอื่นๆ


7 บทท ี่2 ทฤษฎแีละงานวจิัยทเี่กยี่วของ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชา ภาษาจีนเพิ่มเติม ที่ใช แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชภาษาเพื่อการสื่อสารเนนกิจกรรมกลุม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ซึ่งผูวิจัยไดศึกษาเอกสารตำรา งานวิจัยและทฤษฎีตางๆที่เกี่ยวของกับการวิจัย ไดแก 1.ตัวชี้วัดและการเรียนรูภาษาจีนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ 2.การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร 3.กิจกรรมกลุม 4.ทักษะการพูด 5.วิธีการสอนทักษะการพูด 6.รูปแบบของกิจกรรมการฝกทักษะการพูดภาษาจีน 7.งานวิจัยที่เกี่ยวของในประเทศ 8.งานวิจัยที่เกี่ยวของนอกประเทศ โดยมีรายละเอียด ดังตอ ไปนี้ 1.ตัวชี้วัดและการเรียนรูภาษาจีนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ 1.1 บทนำตัวชี้วัดและการเรียนรูภาษาจีนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ความสำคัญของภาษาจีน จุดมุงหมายของการเรียนภาษาจีนคือ การสรางศักยภาพใน การใชภาษาจีนเพื่อสื่อสารกับชาวจีนหรือผูคนที่ใชภาษาจีนดวยวัตถุประสงคตางๆ เชน การทำธุรกิจ การคาระหวางประเทศ การศึกษา การทองเที่ยว การรวมมือกันของภาครัฐและเอกชน การกระชับ ความสัมพันธ และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม แมตนทางของการเรียนรูภาษาตางประเทศคือการศึกษาแต เมื่อเขาสูอาชีพ นั้นคือการดำเนินชีวิตดวยเศรษฐกิจ การมีงานทำพรอมมีรายไดและการเรียนรูตลอด ชีวิตถือเปนการพัฒนาเศรษฐกิจสวนตนใหมีความมั่นคงอันเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจชาติ ความรุงเรืองทางเศรษฐกิจ นำมาซึ่งความมั่นคงในชีวิต ความเปนอยูของประชาชนในสังคมโลก ปจจุบัน และอนาคตทักษความสามารถในการใชภาษาตางประเทศถือเปนปจจัยที่สำคัญของการ สื่อสารแมบุคคลจะมีศักยภาพโดดเดนหลากหลายดานในเชิงวิชาการหรือศาสตรอื่นๆแตหากดอย ความสามารถดานภาษาตางประเทศ ศักยภาพที่มีอยูยอมเสมือนลดทอนลงภาษาตางประเทศที่ สำคัญๆลวนเปนภาษาของประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญซึ่งรัฐตางประเทศตองการรวมทำการคา ดวยอยางเชน สาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งมีเศรษฐกิจเติบโตกาวหนาในประชาคมโลกอยางมั่นคงและ


8 ตอเนื่องภาษาจีนจึงเปนภาษาตางประเทศที่มีความสำคัญตามอิทธิพลทางเศรษฐกิจ ซึ่งคนทั่วโลกนิยม เรียนรูอีกทั้งยังเปนภาษาหนึ่งขององคการสหประชาชาติ การเรียนรูภาษาจีนของคนไทยจึงมีความ จำเปนในการเพิ่มศักยภาพการสื่อสารกับประชากรในประเทศจีน และในประชาคมโลกเพราะ ภาษาจีนมิใชสื่อสารกันเพียงภายในประเทศจีนเทานั้น หากมีผูนิยมใชกันทั่วโลกและมีผูนิยมใชมาก ที่สุด ดวยการสงเสริมใหคนไทยสามารถใชภาษาจีน ไดสงผลตอการเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันของประเทศในเวทีระหวางประเทศแ ละการมีสัมพันธไมตรีอันดีกับสาธารณรัฐประชาชนจีน การจัดการเรียนการสอนภาษาจีน เปนภาษาตางประเทศที่สองในประเทศไทยไดขยายตัวเพิ่มมากขึ้น เมื่อกระทรวงศึกษาธิการประกาศใช หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ซึ่งเปดโอกาสให ผูเรียนไดเพิ่มการเรียนรูภาษาตางประเทศมากขึ้น ทันเหตุการณกับการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็ว ของ โลกาภิวัตน ซึ่งเกิดเสรีนิยมทางการคา การพัฒนาเทคโนโลยีและการไหลเวียนสารสนเทศอยางรวดเร็ว ทันทีที่ประกาศใชหลักสูตรโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งของรัฐและเอกชนจำนวนมาก จัดการเรียนการสอนภาษาจีน เปนวิชาเพิ่มเติม ตั้งแตระดับอนุบาลจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อสรางสังคมฐานเศรษฐกิจที่อาศัยภาษาจีนเปนเครื่องมือของการสื่อสาร แตทวายังไมมีหลักสูตร ภาษาจีนโดยเฉพาะสถานศึกษา ตางจัดทำหลักสูตรของตนเองตามมาตรฐานสาระการเรียนรู ภาษาตางประเทศ จึงไมเปนมาตรฐานเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเปน หนวยงานหลักที่รับผิดชอบ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึง ความสำคัญในการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนใหเปนมาตรฐานเดียวกันและเปนไปตาม มาตรฐานสากลของเจาของภาษา รวมทั้งเพื่อใหการสื่อสารภาษาจีนของคนไทยมีประสิทธิภาพ จึงได จัดทำมาตรฐาน สาระการเรียนรูภาษาจีนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกรอบหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ โดยกำหนดตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูภาษาจีนเปนชั้นป เพื่อเปนแนวทางสำหรับสถานศึกษา ในการนำไปออกแบบ บทเรียน และพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนใหเหมาะสมกับผูเรียน และสภาพการเรียนการสอนใน โรงเรียน 1.2 มาตรฐานการเรียนรูภาษาจีน จุดมุงหมายของการเรียนภาษาจีน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือ พัฒนาผูเรียนใหมีทักษะและสามารถสื่อสารภาษาจีนขั้นพื้นฐานอยางมี ประสิทธิภาพตามสถานการณตางๆ ทั้งการฟง - พูด - อาน - เขียน – และการแสดงออก สามารถใช ภาษาจีนในการแสวงหาความรูศกึษาตอ ประกอบอาชีพ มีความรูความเขาใจเรื่องราวและวัฒนธรรม จีน เพื่อเขาถึงปรัชญา วิธีคดิและวิถีชีวิตของชาวจีน สามารถเปรยบเทียบ และถายทอดความคิดและ ี วัฒนธรรมไทย-จีนดวยภาษาจีนอยางสรางสรรค และมีเจตคติที่ดีตอภาษาจีน ดังนั้น เพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคดังกลาว สาระสำคัญของการเรียนรูภาษาจีน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น


9 พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงประกอบดวยการใชภาษาจีนในการฟง-พูด-อาน-เขียน-การแสดงออก แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเห็น ตีความ สรุปความ นำเสนอขอมูล ความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องตางๆ รวมทั้งสรางความสัมพันธระหวางบุคคลอยาง เหมาะสม การใชภาษาจีนตามแบบแผนและวัฒนธรรมจีน รูและเขาใจความเหมือน และความ แตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของจีนกับของไทย และนำไปใชอยางเหมาะสม การใชภาษาจีน ในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น เปนพื้นฐานในการพัฒนาแสวงหาความรูและเปด โลกทัศนของตน การใชภาษาจีนในสถานการณตางๆทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน ชุมชน และ สังคมโลก เปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลก ทั้งนี้เปาหมายการเรียนรูดังกลาว กำหนดขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรู ภาษาตางประเทศ ดังนี้ มาตรฐาน 1.1 เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆและแสดงความ คิดเห็นอยางมีเหตุผล มาตรฐาน 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารแสดงความรูสึก และความคิดเห็นอยางมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน 1.3 นำเสนอขอมูลขาวสารความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องตางๆโดยการ พูดและการเขียน มาตรฐาน 2.1 เขาใจความสัมพันธระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษาและ นำไปใชไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน 2.2 เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของ ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทยและนำไปใชอยางถูกตองและเหมาะสม มาตรฐาน 3.1 ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นและ เปนพื้นฐานในการพัฒนาแสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน มาตรฐาน 4.1 ใชภาษาจีนในสถานการณตางๆทั้งในสถานศกึษาชุมชนและสังคม มาตรฐาน 4.2 ใชภาษาจีนเปนเครื่องมือพื้นฐาน ในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการ แลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลก ภาษาจีนจัดเปนภาษาตางประเทศในจำนวนหลายภาษา ที่หลักสูตร กำหนดใหผูเรียนเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ ซึ่งแตละโรงเรียนมีระดับความพรอมและ จุดเนนการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนแตกตางกัน จำนวนผูเรียนและจำนวนคาบเรียนในแตละ ระดับชั้นและในแตละโรงเรียนก็แตกตางกัน บางแหงอาจมากบางแหงอาจนอยขึ้นอยูกับความพรอม และจุดเนนของโรงเรียน จากสภาพการณดังกลาว สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึง ออกแบบหลักสูตรภาษาจีนใหสอดคลองและเอื้ออำนวยตอสถานการณดังกลาวรวม 3 หลักสูตร ไดแก


10 1. หลักสูตรภาษาจีนตอเนื่อง 12 ป สำหรับการเรียนตอเนื่องตั้งแตชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปที่ 6 2. หลักสูตรภาษาจีน 6 ป สำหรับการเริ่มเรียนตั้งแตระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และ ตอเนื่องจนถึงชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 6 3. หลักสูตรภาษาจีน 3 ป สำหรับการเริ่มเรียนในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือมัธยมศึกษา ปที่ 4 - 6 เนื้อหาสาระสำหรับการเรียนรูภาษาจีนในแตละมาตรฐานการเรียนรู ไดกำหนดตัวชี้วัดและ สาระการเรียนรูที่สอดคลองตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กลุมสาระการ เรียนรูภาษาตางประเทศ โดยกำหนดขอบขายการเรียนรูเปนรายป เพื่อใหโรงเรียนไดพัฒนาผูเรียนให เพิ่มพูนความรูความสามารถ ทักษะการสื่อสารภาษา และความเขาใจในวัฒนธรรมจีนตามระดับวัย ของผูเรียน ซึ่งซับซอนขึ้นทั้งแนวกวางและแนวลึกและมีความหลากหลายที่ครอบคลุมสาระ รวมทั้ง เปนไปตามหลักการและมาตรฐานสากลของการเรียนรูภาษาจีนในฐานะภาษาตางประเทศ 1.3 จุดประสงคการเรียนรูภาษาจีน การเรียนรูในแตละหลักสูตร เริ่มจากระดับพื้นฐานตามสภาพที่เปนจริงของนักเรียนไทย แลวทวีความซับซอนขึ้น ทั้งแนวลึกและกวางตามระดับวัยของผูเรียนตั้งแตเริ่มเรียนรูและทำความ เขาใจเนื้อหาภาษางายๆ ที่เปนเรื่องใกลตัว แลวคอยๆขยายออกในลักษณะซ้ำๆ แลวผูเรียนจะเขาใจ กลวิธีการเรียนรูแตละเนื้อหาการเชื่อมโยงขามเนื้อหา จนถึงขั้นพัฒนาวิธีการเรียนรูที่เปนของตนเอง สามารถสื่อสารดวยภาษาจีน มีความสนุกสนาน และความมั่นใจในการเรียน และการใชภาษาจีนเมื่อ เรียนรูดวยระยะเวลาที่เพียงพอ และครบถวนตามมาตรฐานในหลักสูตร เมื่อจบหลักสูตรผูเรียนทั้งสาม หลักสูตร จะมีความรูความสามารถและทักษะการสื่อสารภาษาจีนในระดับที่เทาเทียมกัน ครูตองทำ ความเขาใจหลักสูตรและออกแบบบทเรียนโดยบูรณาการกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียน ไดพัฒนาทั้ง ดานความรูทักษะและคานิยมทางวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับระดับวัยและความสามารถของผูเรียน จุดประสงคการเรียนรูที่เรามุงหวัง เพื่อการพัฒนาจะเกิดผลลัพธใน 3 ลักษณะ ไดแก ความรูทางภาษา ทักษะและสมรรถนะและความเขาใจในวัฒนธรรมจีนซึ่งขยายความโดยสังเขปไดดังนี้ 1. รูและเขาใจการออกเสียง – รูพยัญชนะและสระ ในรูปสัทอักษรพินอินพรอม เปรียบเทียบกับอักษรจีน สามารถประสมพยัญชนะกับสระได รูและเขาใจการออกเสียงตอเนื่องและ การเปลี่ยนเสียง การแยกแยะเสียง สามารถสรางความเชื่อมโยงระหวางเสียงตัวอักษรและความหมาย ได รูวาภาษาจีนมีเสียงวรรณยุกต 4 เสียง และเสียงเบา 1 เสียง เมื่อเขาใจหลักการเบื้องตนเชนนี้ จึง สามารถใชเปนฐาน ในการพัฒนาการเรียนรูของตนในขั้นสูงขึ้นเปนลำดับได จนสามารถออกเสียงได อยางคลองแคลวและเปนธรรมชาติ รวมทั้งออกเสียงดวยทำนองเสียงและน้ำหนักเสียงเพื่อสื่อสาร ความหมายพิเศษได


11 2. รูตัวอักษรและคำศัพท – รูตัวอักษรและคำศัพท โดยเริ่มจากสวนที่ใชบอยใน ชีวิตประจำวัน สามารถจำและอานตัวอักษรจีน และคำศัพทสามารถแยกแยะเสียงอาน รูปและ ความหมายของตัวอักษรจีน รูเสนขีดและลำดับขีดของตัวอักษรจีน รูเสนขีดพื้นฐานและเสนขีดพิเศษที่ ใชบอยของตัวอักษรจีน เขาใจความสัมพันธระหวางตัวอักษรกับคำศัพท รูตัวอักษรเดี่ยวและอักษร ประสมรูหมวดคำ และสวนประกอบของตัวอักษรจีน รูวิธีประกอบตัวอักษรและโครงสรางของ ตัวอักษร เขาใจความหมายของคำศัพทในบริบทตางๆ เรียนรูและเพิ่มพูนคำศัพทใหมๆจากเรื่องใกล ตัวและเรื่องราวในชีวิตประจำวัน จนถึงเรื่องในสังคมวงกวางและขามสาระวิชา สามารถเลือกใช คำศัพทเพื่อสื่อสาร และสื่อความหมายในหัวขอตางๆ ในระดับประถมศึกษา ควรรูจักตัวอักษร ประมาณ 200 ตัว คำศัพทพื้นฐานที่เกี่ยวของประมาณ 500-600 คำ สวนระดับมัธยมศึกษาตอนตน ควรรูและใชคำศัพทไมต่ำกวา 1,000 คำ และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายควรรูและใชคำศัพทไมต่ำ กวา 1,500 คำ 3. รูและสามารถใชไวยากรณ - รูและเขาใจหนาที่ของคำที่ใชบอยในชีวิตประจำวัน เพราะคำศัพทแตละคำจะสื่อความหมาย และทำหนาที่ตางกัน เมื่อนำมาเรียงกันตามหลักไวยากรณ จึงจะสื่อความหมายไดครบถวนและกวางขึ้น ผูเรียนจึงตองรูและเขาใจหนาที่ของคำ ไดแก คำนาม ลักษณะนาม สรรพนาม บุพบท สันธาน คุณศัพท คำวิเศษณ คำกริยา กริยาชวย การซ้ำคำกริยาและรู ลำดับของคำโครงสรางและรูปประโยคที่ใชบอย ไดแก ประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ ประโยค คำถาม ประโยคอุทาน ประโยคเปรียบเทียบ ประโยคความรวมประเภทตางๆที่ซับซอนขึ้น เปนลำดับ ในบริบทตางๆ รวมทั้งไวยากรณอื่นๆ ที่เปนแบบแผนสำหรับการสื่อสารที่ถูกตองตามระเบียบวิธีทาง ภาษา เพราะเมื่อผูเรียนรูคำศัพทและความหมายของคำเหลานั้นแลว ไวยากรณจะเปนสวนที่จัด เรียงคำลงในลำดับตามหนาที่ ที่ถูกตองของคำนั้นๆ เพื่อสื่อความหมายทักษะทางภาษา 1. มีสมรรถนะทางภาษา - เขาใจและสามารถใชทักษะการสื่อสารที่คลองแคลวขึ้น เปนลำดับตามวัยและประสบการณที่สั่งสม ไดแก การทักทาย อำลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย อวยพร เชื้อเชิญ แนะนำ สอบถาม เตือน เลาเรื่อง อธิบาย บรรยาย แสดงอารมณความรูสึก ทาที ความ คิดเห็น สนทนาโตตอบพูดคุยเกี่ยวกับการใชชีวิต - การเรียน - สถานการณ - ประเด็นทางสังคมและ วัฒนธรรม 2. เขาใจและสามารถใชประเด็นสนทนาจากเรื่องใกลตัวในชีวิตประจำวันสูเรื่องไกล ตัว เชน ขอมูลสวนตัว งานอดิเรก ครอบครัว โรงเรียน ชีวิตการเรียน การดำเนินชีวิตในสังคม สภาพแวดลอม ขนบธรรมเนียมประเพณี ประเด็นเกี่ยวกับสังคม ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ การเมืองทั้งในระดับชาติและนานาชาติ เรื่องในอดีต - ปจจุบัน - อนาคต


12 3. เขาใจและสามารถสื่อความหมายตรงตัว และความหมายแฝง จับใจความสำคัญ ใชภาษากายหรือสิ่งของ เพื่อชวยในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน เขียนความเรียงและขัดเกลาภาษาได อยางเหมาะสม ความรูและเขาใจทางวัฒนธรรม 4. รูและเขาใจวัฒนธรรมจีนและสามารถเปรียบเทียบความคลายคลึง และความ แตกตางกับวัฒนธรรมไทย เชน ชนชาติ บุคคลสำคัญ เทศกาล ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ศรัทธา มารยาท อาหาร การละเลน สิ่งประดิษฐ วิถีชีวิตในอดีตและปจจุบัน ประวัติศาสตร ภูมิศาสตร ระบอบการปกครองและความเปนไปตางๆ ที่สะทอนถึงความเปนชนชาติและวัฒนธรรมจีน 1.4 ผลลัพธที่ควรเกิดจากการเรียนรูภาษาจีน ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอรอง คำแนะนำในคูมือการใชงานตางๆ คำชี้แจง คำอธิบายและ คำบรรยายที่ฟงและอาน อานออกเสียงคำ ประโยค ขอความ ขาว ประกาศ โฆษณา บทรอยกรองและ บทละครสั้น ตามหลักการอานอธิบายและเขียนประโยคและขอความใหสัมพันธกับสื่อ ที่ไมใชความ เรียงรูปแบบตางๆ รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆใหสัมพันธกับประโยคและ ขอความที่ฟงหรืออานจับใจความสำคัญ วิเคราะหความ สรุปความ ตีความและแสดงความคิดเห็นจาก การฟงและอานเรื่องที่เปนสารคดีและบันเทิงคดี พรอมทั้งใหเหตุผล และยกตัวอยางประกอบสนทนา และเขียนโตตอบขอมูล เกี่ยวกับตนเองเรื่องใกลตัว ประสบการณ สถานการณ ขาว เหตุการณ ประเด็นที่อยูในความสนใจของสังคม และสื่อสารอยางตอเนื่องและเหมาะสม พูดและเขียนแสดง ความตองการเสนอ และใหความชวยเหลือตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือ ในสถานการณ จำลองหรือสถานการณจริงอยางเหมาะสม พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูลบรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคดิเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็นตางๆ ขาว เหตุการณที่ฟงและอาน พูดและ เขียนบรรยายความรูสึก และแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องตางๆ กิจกรรมประสบการณ ขาว เหตุการณอยางมีเหตุผล พูดและเขียนนำเสนอขอมูลเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณขาวเหตุการณ เรื่อง และประเด็นตางๆตามความสนใ จพูดและเขียนสรุปใจความสำคัญแกนสาระที่ไดจากการ วิเคราะหเรื่องกิจกรรม ขาว เหตุการณ และสถานการณตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณทั้งในทองถิ่น สังคมและโลกพรอมทั้งใหเหตุผล และยกตัวอยางประกอบเลือกใชภาษา น้ำเสียง และกิริยาทาทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา โอกาสและสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน อธิบายหรืออภิปรายเกี่ยวกับวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และขนบธรรมเนียมและประเพณีของจีน เขารวมแนะนำ และจัดกิจกรรมทาง ภาษาและวัฒนธรรมอยางเหมาะสม อธิบายเปรียบเทียบความแตกตางระหวางโครงสรางประโยค ขอความสำนวนสุภาษิตและบทกลอนของภาษาจีน และภาษาไทยวิเคราะหอภิปรายความเหมือนและ ความแตกตางระหวางวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของจีนกับของไทย และนำไปใชอยางมีเหตุผล คนควาสืบคน บันทึก สรุปและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขอมูลที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น


13 จากแหลงเรียนรูตางๆ และนำเสนอดวยการพูดและการเขียน ใชภาษาจีนสื่อสารในสถานการณจริง หรือสถานการณจำลองที่เกิดขึ้นในหองเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใชภาษาจีนสืบคน คนควา รวบรวม วิเคราะหและสรุปความรูหรือขอมูลตางๆจากสื่อและแหลงการเรียนรูตางๆในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ เผยแพรประชาสัมพันธขอมูลขาวสารของโรงเรียน ชุมชน ทองถิ่นและ ประเทศชาติเปนภาษาจีน มีทักษะการใชภาษาจีน (เนนการฟง-พูด-อาน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่อง เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธระหวางบุคคล เวลา วางและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟาอากาศ การศึกษาและอาชีพ การ เดินทาง ทองเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและอื่นๆที่จำเปนตาม สถานการณใชประโยคผสมและประโยคซับซอน สื่อความหมายตามบริบทตางๆในการสนทนาทั้งที่ เปนทางการและไมเปนทางการ 1.5 รูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีน การเรียนรูภาษาจีนใหไดผลดี ครูตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนไดฝกฝน ทักษะอยางตอเนื่อง จึงจะเกิดการพัฒนาความรูความสามารถและทักษะในการใชภาษารูปแบบการ เรียนการสอน ควรหลากหลายและดึงดูดความสนใจของผูเรียน การกำหนดหัวขอเปนเรื่องๆและการ กำหนดสถานการณ แลวสอนภาษาใหสอดคลองกับเรื่องหรือสถานการณนั้น จะสงผลใหเรียนรูภาษา แบบสื่อสารไดเร็วขึ้น เพราะสถานการณจะชวยใหเขาใจและจดจำในแตละสถานการณ ครูสามารถ ผสมผสานการสอนทั้งคำศัพท (เสียงและความหมาย) โครงสรางหรือไวยากรณที่เกี่ยวของและ วัฒนธรรมตามบริบทของสถานการณได พรอมฝกทักษะการฟง-พูด-อาน-หรือเขียนใหเหมาะสมกับ บทเรียนสวนวิธีสอนขึ้นอยูกับบริบทของเนื้อหา และจุดประสงคที่ตองการใหผูเรียนเกิดการเรียนรูใน ลักษณะใดบาง ดังนั้นครูควรเลือก หรือกำหนดวิธีสอนใหเหมาะสม เชน อธิบาย ใหฟงเสียงที่คลาย/ ตาง แสดง/ สาธิตใหดู ใหทองจำคำศัพท จำลองสถานการณ ใหฝกซ้ำ/ ทำแบบฝกหัดลักษณะตางๆ ยกตัวอยางใหจดจำลักษณะเฉพาะ หรือขอยกเวนตางๆ เชื่อมโยงและเปรียบเทียบใหอานออกเสียง ถาม-ตอบ ใหพูด+เขียน ตามโครงสรางที่กำหนดและนำขอผิดพลาด มาอธิบายซ้ำเปลี่ยนคำศัพทโดย ใชโครงสรางเดิมใหสืบคนคำศัพทหรือเรื่องใหโตตอบบทสนทนาเปนคูหรือกลุมจากสิ่งพิมพหรือ เว็บไซตภาษาจีน ใชเกม/ เพลงใหอธิบาย/ อภิปรายภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว การเตรียมบทอาน หรือเรื่องใหนักเรียนฟงและอาน ครูควรเตรียมคำถามและคำตอบตามเนื้อหาดวย และอธิบายคำศัพท ยากๆ เพื่อขยายความรูความเขาใจ และใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็น การสรางสิ่งแวดลอมการเรียน ภาษาใหเราใจ มีกิจกรรมเคลื่อนไหวรวมถึงการใชสื่อ ประกอบที่เปนภาพและของจริงตลอดจนจัดการ เรียนรูนอกชั้นเรียนจะเพิ่มบรรยากาศการเรียนรูสูผลลัพธที่ดี การใชสื่อ ICT จะชวยอำนวยความ สะดวกในการสอน และเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู สามารถนำสถานการณเสมือนจริงเขามา ประกอบในบทเรียนได และออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนไดอยางหลากหลาย การจัดเวทีให


14 นักเรียนแสดงออกทางความรู และทักษะภาษาจีน รวมทั้งการสงเสริมกิจกรรมนอกสถานศึกษาจะ ชวยเพิ่มโอกาสใหเด็กไดพัฒนาสมรรถนะและเห็นศักยภาพของตนเองไดชัดขึ้น เชน การประกวดแขงขันพูด-อาน-เขียน-กลาวสุนทรพจนขับรองเพลงจีน ตัดกระดาษ เขียนพูกันจีน และการแสดงทาง วัฒนธรรม เชน นาฏศิลป หัวขอทั่วไปที่นิยมกำหนดในการเรียนรูภาษาตางประเทศตนเอง การศึกษา 教育 บาน - ครอบครัว 家-家庭 อาชีพ 工作 โรงเรียน 学校 การทองเที่ยว 旅游 ธรรมชาติ - สิ่งแวดลอม 周围自然 อาหาร - เครื่องดื่ม 食物 - 饮料 สถานที่ 地方 ลมฟา อากาศ 气候 สุขภาพ - สวัสดิการ 健康 - 福利 เวลาวาง - นันทนาการ 业余时间 - 娱乐 การซื้อขาย 买卖 การบริการ 服务 อารมณ - ความรูสึก 感情- 感觉 ความสัมพันธระหวางบุคคล 人与人关系 ภาษา 语言 วิทยาศาสตร 科学 เทคโนโลยี 科技 1.6 แหลงการเรียนรู สื่อการเรียนการสอนภาษาจีน หลักที่กระทรวงศึกษาธิการไทยจัดทำขึ้นโดยการสนับสนุนของกระทรวงศึกษาธิการจีน เพื่อใชในชั้นเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ไดแก หนังสือเรียนชุด “สัมผัสภาษาจีน” พรอมสื่อประกอบทั้งในรูปสิ่งพิมพและดิจิตอล ที่ใชควบคูกับหนังสือเรียนชุดนี้และ หนังสือเรียนชุด “ภาษาจีนสรางสรรค” นอกจากนี้ยังมีสื่อการเรียนรู ที่ผูเรียนสามารถใชประโยชน เพื่อเพิ่มพูนทักษะทางภาษาไดอีกหลายรายการ ทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา ดังนี้ บุคคล สื่อ หนังสือ เอกสาร สถานที่ ครูผูสอน ครูชาวจีน เพื่อนรวมชั้นเรียน พอแม ผูปกครอง และสมาชิก ในครอบครัว วิทยากรทองถิ่น/ ภูมิปญญาไทย ชาวจีนที่อาศัยอยูในทองถิ่น เพื่อนชาวตางประเทศ หนังสือตำรา (Textbooks) หนังสืออางอิง (Dictionaries) หนังสือสารคดี นิยาย บทละคร สื่อจริง (Authentic materials) ไดแก - แผนพับ - ใบปลิว - โฆษณา - โปสเตอร - แผนที่ แผนภูมิ - สัญลักษณ เครื่องหมาย - รายการวิทยุ ทีวี ภาคภาษาจีน - ภาพยนตร/ เพลงจีน สื่อเทคโนโลยี ไดแก - Computer - DVD/ VDO/ VCD - Software - Interactive media – Online resources เชน http://www.chinesexp.com http://www.hanban.com หองสมุดโรงเรียน หองLapทางภาษา หองสมุดหมวดวิชา มุมภาษาจีน หองศูนยการเรียน (Self access) สถานที่ทำการตางๆทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และรัฐวิสาหกิจ เชน การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ทาอากาศยาน โรงแรมตางๆ กรม ประชาสัมพันธธนาคาร หางราน รานคาบริษัท รานหนังสือ ศูนยหนังสือฯลฯ สถานที่ทองเที่ยวตางๆ ที่ชาวจีนสนใจเขาไปเยี่ยมชมเปนประจำ เชน วัด พิพิธภัณฑ เยาวราช โบราณสถาน วนอุทยาน ฯลฯ สถานทูตประเทศตางๆ องคกรระหวางประเทศ สถาบันขงจื่อ 1.7 การประเมินผลการเรียนภาษาจีน 1. การประเมินผลการเรียนของผูเรียนตองประเมินตามมาตรฐานการวัดระดับความรู และสาระการเรียนรูภาษาจีน เพื่อบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูเพิ่มเติม (ภาษาจีน) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


15 2. ใชรูปแบบวิธีการประเมินที่หลากหลายเหมาะสมกับเนื้อหาวิธีการสอนและสอดคลอง กับตัวชี้วัดตามลักษณะการประเมินผลทางภาษา 3. การประเมินผลการเรียนของผูเรียนตองเปนประโยชนตอการสงเสริมและใหกำลังใจ ผูเรียน พัฒนาการเรียนภาษาจีนโดยพิจารณาจากความรูความสามารถ ความคดิของผูเรียน รวมทั้งมี การวิเคราะหผลการประเมิน เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน สรุปไดวาตัวชี้วัดและการเรียนรูภาษาจีนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือ พัฒนาผูเรียนใหมีทักษะและสามารถสื่อสารภาษาจีนขั้นพื้นฐานอยางมี ประสิทธิภาพตามสถานการณตางๆทั้งการฟง - พูด - อาน - เขียน – และแสดงออก สามารถใช ภาษาจีนในการแสวงหาความรูศกึษาตอ ประกอบอาชีพ มีความรูความเขาใจเรื่องราวและวัฒนธรรม จีนเพื่อเขาถึงปรัชญาวิธีคิดและวิถีชีวิตของชาวจีน สามารถเปรียบเทียบและถายทอดความคิดและ วัฒนธรรมไทย-จีนดวยภาษาจีนอยางสรางสรรคและมีเจตคติที่ดีตอภาษาจีน 2.การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร 21.ความหมายของภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ดังนี้ แนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (Communicative Chinese Language Teaching) จุดมุงหมายของวิธีสอนภาษาจีนเพื่อการสื่อสารคือ มุงใหผูเรียนใชภาษาที่ เรียน ในการสื่อสารทำความเขาใจระหวางกันและคนสวนใหญ มีความเชื่อวาถาผูเรียนมีความรู เกี่ยวกับโครงสรางทางภาษาและคำศัพทแลวจะสามารถใชภาษาเพื่อการสื่อสารได แตขอเท็จจริงแลว พบวาถึงแมผูเรียนจะเรียนรูโครงสรางของภาษาตางประเทศมาแลวเปนอยางดี ก็ยังไมสามารถพูดคุย หรือสื่อสารกับชาวตางประเทศ หรือจะใชไดบางก็จะใชภาษาในลักษณะที่เจาของภาษาไมใชกัน แมจะ เปนภาษาที่ถูกตองตามหลักไวยากรณ ดวยเหตุนี้นักภาษาศาสตรและผูที่เกี่ยวของกับการเรียนการ สอนภาษาตางประเทศ จึงไดพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารขึ้น สุมิตรา อังวัฒนกุล (2540) กลาวถึงการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารวา การสอนภาษาเพื่อ การสื่อสารเปนแนวคิดที่เกิดจากความตระหนักถึงความจริงที่วา ความรูความสามารถทางดานศัพท ไวยากรณและโครงสรางทางภาษาเพียงอยางเดียวไมสามารถชวยใหผูเรียนใชภาษาที่เรียนไดอยางมี ประสิทธิภาพและเหมาะสมในการสื่อสารกับผูอื่น การใชภาษาเพื่อการสื่อสารเปนการใชภาษา ระหวางผูรับสารและผูสงสาร ปจจุบันเปนที่ยอมรับวาวิธีสอนที่ทำใหผูเรียนสามารถนำภาษาไปใชใน การสื่อสารไดจริง (Actual Communication) ไดแก วิธีการสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการ สื่อสาร (The Communicative Approach) เนื่องจากจุดมุงหมายหลักของวิธีการสอนดังกลาว เนน ความสามารถในการสื่อสาร (Communicative Competence) แสงระวี ดอนแกวบัว (2558) ที่วาการใชภาษาเพื่อการสื่อสารใหไดอยางแทจริงนั้นไมได อาศัยความรูความเขาใจในเรื่องตัวเนื้อหาภาษา กฎเกณฑไวยากรณ ศัพทที่ดีพอแตเพียงอยางเดียวนั้น


16 แตนักเรียนตองเขาใจถึงสถานการณในการใชภาษา หนาที่ในการใชภาษาใหเหมาะสมตามกาลเทศะ และเปนที่ยอมรับของสังคมดวย โดยทายสุดเปาหมายของการเรียนการสอนภาษาจีนเปนภาษาที่สอง คือ การฝกใหผูเรียนมีความสามารถในการใชภาษาจีนในการสื่อสาร และใหบรรลุผลการเรียนรูที่ดี ที่สุดในเวลาที่สั้นที่สุด การเรียนภาษาเพื่อการสื่อสารนอกจากเรียนรูภาษา โครงสราง กฎไวยาการณ แลวการเรียนรู และเขาใจวัฒนธรรมของภาษา สำคัญที่สุดการเรียนรูภาษาที่ดีจำเปนตองทำความคุนเคยกับ วัฒนธรรมของประเทศเจาของภาษา เพราะการเรียนรูวัฒนธรรมชวยใหเราเขาใจบริบทวัฒนธรรม บริบทภาษา ทำใหสื่อสารไดดีและใชภาษาไดอยางถูกตองและการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเปนการ จัดการเรียนการสอนที่มีความสำคัญ เพราะเปนการสอนที่มุงเนนใหผูเรียน เรียนตามความสามารถ สื่อสารอยางถูกตองและเหมาะสมกับระดับทางภาษาที่สื่อออกไป เพื่อใหบรรลุเปาหมายการสื่อสาร จะเห็นไดวามีผูเชี่ยวชาญทางดานการสื่อสารไดเสนอแนวคิดและความหมายการสื่อสารไวหลาย แนวทาง ดังตอไปนี้ Byrne (1990) ซึ่งมีขั้นตอนการจัดการเรียนรู 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1.1 ขั้นนำเสนอเนื้อหา (Presentation Stage) เปนขั้นตอนนำเสนอเนื้อหา ผูสอน ตองเสนอในรูปแบบการใชภาษาจีนในบริบทตางๆ เชน ใหผูเรียนพูดตามเนื้อเรื่อง บทสนทนาและให ผูเรียนสังเกต สรุปเกณฑการใชภาษาจีนจากเนื้อเรื่องหรือบทสนทนานั้นๆได 1.2 ขั้นการฝกฝน (Practice Stage) ขั้นนี้จัดเปนการฝกโดยผูสอนเปนผูควบคุมดูแล ผูสอนจึงควรใหผูเรียนมีการฝกใชภาษา เชน ใชรูปภาพ เกม มาเปนสื่อประกอบ เพื่อกระตุนใหผูเรียน ไดฝกใชที่เกิดจากความเขาใจ 1.3 ขั้นการใชภาษา (Produgtion Stage) ในขั้นนี้ผูสอนทำหนาที่เปนเพียงผูแนะนำ หรือใหคำปรึกษา ใหผูเรียนแตละกลุมนำความรูที่ไดเรียนรูมาผลิตภาษาในรูปแบบกิจกรรมกลุม Savignon (1983) กลาววา การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เปนกระบวนการอันตอเนื่องของ การแสดงความรูสึก การแปลความ ตีความและการแลกเปลี่ยนขาวสาร โอกาสของการสื่อสารจะไมมี ที่สิ้นสุดซึ่งประกอบดวยสัญลักษณและเครื่องหมายที่แตกตางกันออกไป เชน สีผิว การแตงกาย ทรง ผม การยืน การฟง การพยักหนาการหยุดชะงักเสียง หรือคำพูดมนุษยเกี่ยวของกับการสื่อสาร ตั้งแต เกิดและเรียนรูที่จะตอบสนองในบริบทใหมๆ เชนเดียวกับการสะสมประสบการณของชีวิตจาก ความคิดและความรูสึกไปสูสัญลักษณในการเขียน การพูด การแสดงทาทาง การเคลื่อนไหว และ น้ำเสียง จึงตองรูจักเลือกสรรสิ่งที่เหมาะสมไปใช Brown (1989) อธิบายความหมายของการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารวา หมายถึง กระบวนการรับและสงสารที่เกี่ยวของระหวางบุคคลอยางนอยตั้งแต 2 คนขึ้นไป ทั้งในดานการฟง การพูด การอานและการเขียน การพูดจะไมมีความหมาย และไมเกิดการติดตอสื่อสารหากผูฟงไม


17 สามารถเขาใจเรื่องราวที่พูด หรือจุดประสงคของการพูดนั้น ฉะนั้นการสื่อสารจะตองมีความหมายทั้ง ตอผูฟงและผูพูดดวย Revell (1979) ไดใหความหมายของการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารวา หมายถึงการ แลกเปลี่ยนความรู ขาวสาร แนวคิด ความเห็นและความรูสึกระหวางบุคคล การติดตอสื่อสารอาจจะ เกิดขึ้นดวยวิธีการตาง ๆ นับตั้งแตตัวหนังสือที่ซับซอน จนกระทั่งความเคลื่อนไหวของดวงตาและสิ่งที่ เกิดจากการสื่อสารที่แทจริงนั้น ควรจะเปนสิ่งที่มีความแปลกใหม หรือเปนความรูใหมแกผูรับ จะตอง ไมใชสิ่งที่ผูรับรูคำตอบลวงหนาวาคูสนทนาของตนจะพูดอยางไร และจะใหคำตอบอะไรเนื่องจาก ภาษาที่เราใชแตละครั้งไมใชเปนเพียงการบอกขอเท็จจริงเทานั้น แตยังเปนสื่อที่ประกอบดวยอารมณ และความรูสึกของผูพูดดวย คำพูดประโยคเดียวสามารถทำใหผูฟงตีความหมายไดหลายอยาง อีกทั้ง แสดงทัศนคติของผูพูดจากการใชระดับเสียง ทาทาง การแสดงสีหนา รวมทั้งวิธีการอื่นที่ไมใชการพูด จากนิยามความหมายของการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ดังกลาวขางตน สรุปไดวาการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เปนการเรียนรูการใชภาษาเพื่อสื่อความหมาย เพื่อ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความรูสึก ระหวางบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป ดวยวิธีการตางๆ ทั้งดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน การสื่อสารจะไมเกิดความหมาย หากผูรับไมเขาใจหรือแปลเจตนา ของผูสงหรือผูพูดไมได การสื่อสารที่ดีจะตองมีความหมายทั้งตอผูฟงและผูพูด การสื่อสารจะประสบ ผลสำเร็จไดนั้น นอกจากจะใชภาษาไดถูกตองตามหลักไวยากรณแลว ยังตองใชภาษาไดเหมาะสมกับ บุคคลและสถานการณนั้น รวมไปถึงหลักการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เพื่อใหผูพูดสามารถใชภาษา ใหเกิดประโยชนสูงสุดทางดานการสื่อสาร 2.2 หลักการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร การสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเนนใหนักเรียนสามารถใชภาษาเพื่อสื่อสารไดอยางถูกตอง ทั้ง 4 ทักษะ ซึ่งมีนักการศึกษาและนักวิจัยหลายทานไดกลาวถึง หลักการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารไว ดังตอไปนี้ Hymes (1979) กลาวถึงหลักการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารวาเนนหลัก สำคัญดังตอไปนี้ 1. ตองใหผูเรียนรูวากำลังทำอะไรเพื่ออะไร ผูสอนตองบอกใหผูเรียนทราบถึงความมุง หมายของการเรียนและการฝกใชภาษา เพื่อใหการเรียนภาษาเปนสิ่งที่มีความหมายตอผูเรียน ให ผูเรียนรูสึกวา เมื่อเรียนแลวสามารถทำบางสิ่งบางอยางเพิ่มขึ้นได นั่นคือสามารถสื่อสารไดตามที่ตน ตองการ เชน ในทักษะพูดผูเรียนสามารถพูดถามทางไปสถานที่ที่ตองการจะไปได 2. การสอนภาษาโดยแยกเปนสวนๆไมชวยใหผูเรียนใชภาษาเพื่อการสื่อสารไดดี เทากับการสอนในลักษณะบูรณาการในชีวิตประจำวัน การใชภาษาเพื่อการสื่อสารหลายทักษะ รวมๆกันไป และในบางครั้งก็ตองอาศัยกิริยาทาทางประกอบ ดังนั้นผูเรียนภาษาก็ควรจะไดทำ พฤติกรรม เชนเดียวกับในชีวิตจริง ผูเรียนควรจะไดฝกใชภาษาในลักษณะของทักษะรวมตั้งแตเริ่มตน


18 3. ตองใหผูเรียนไดทำกิจกรรมการใชภาษา กิจกรรมดังกลาวควรมีลักษณะเหมือนใน ชีวิตประจำวันใหมากที่สุด เพื่อใหผูเรียนนำไปใชไดจริง กิจกรรมการหาขอมูลเพิ่มเติม (Information Cap) เปนกิจกรรมที่เหมาะสมที่สุด เพราะผูเรียนที่ทำกิจกรรมนี้จะไมทราบขอมูลของอีกฝายหนึ่ง จึง จำเปนตองสื่อสารกัน เพื่อใหไดขอมูลตามที่ตองการ นอกจากนี้ในการทำกิจกรรมการใชภาษา ควรให ผูเรียนไดมีโอกาสเลือกใชขอความที่เหมาะสมกับบทบาทและสถานการณดวย นั่นคือผูเรียนตองไดรู ความหมายของสำนวนภาษาในรูปแบบตางๆ ดวยเชนกัน 4. ตองใหผูเรียนฝกการใชภาษามากๆ การที่ผูเรียนจะสามารถใชภาษาเพื่อการสื่อสารได นั้น นอกจากผูเรียนตองทำกิจกรรมการใชภาษาแลว ยังตองมีโอกาสไดทำกิจกรรมในรูปแบบตางๆให มากที่สุดเทาที่จะเปนไปไดดวย เชน เกม (Games) การแกปญหา (ProblemSolving) สถานการณ จำลอง (Simulation) การแสดงบทบาทสมมุติ (Role Play) ยอมมีบทบาทสำคัญที่สุดที่ จะสงเสริมให ผูเรียนไดฝกการใชภาษา 5. ผูเรียนตองไมกลัววาจะใชภาษาผิดแนวการเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารให ความสำคัญกับการใชภาษา (Use) มากกวาวิธีใชภาษา (Usage) ดวยเหตุนี้ ผูสอนจึงไมควรแกไข ขอผิดพลาดของผูเรียนทุกครั้ง ควรแกไขเฉพาะที่จำเปน เชน ขอผิดพลาดที่ทำใหเกิดการเขาใจผิดหรือ ขอผิดพลาดที่เกิดซ้ำบอยๆ มิฉะนั้นอาจทำใหผูเรียนขาดความมั่นใจและไมกลาใชภาษาในการทำ กิจกรรมตางๆ นอกจากนี้การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ควรใหความสำคัญในเรื่อง ความคลองในการ ใชภาษา (Fluency) เปนอันดับแรก ซึ่งภาษาที่ใชอาจไมถูกตองนัก แตสื่อความหมายไดสวนความ ถูกตองของการใชภาษา (Accuracy) ก็ควรคำนึงถึงดวยเชนกัน Littlewood (1985) สรุปหลักสำคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาเพื่อการ สื่อสารวามีสวนชวยในการเรียนรูภาษาดังนี้ 1. ควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดฝกการใชภาษาในลักษณะที่เต็มสมบูรณ ในการฝกใช ภาษานั้น ถานักเรียนไดรับการฝกเฉพาะทักษะแตละทักษะแยกออกจากกัน (Part-Skilled) ยอมไม เปนการเพียงพอ นักเรียนควรจะไดรับการฝกทักษะตางๆ รวมเขาดวยกันโดยสมบูรณ (Total-Sklls) ไมแบงมาฝกเปนทักษะเดี่ยว วิธีการที่จะชวยใหนักเรียนไดมีการฝกการใชภาษาในลักษณะดังกลาวนี้ คือการจัดกิจกรรมเนนงานปฏิบัติหลายประเภทและกิจกรรมนั้น จะตองเหมาะสมกับระดับ ความสามารถของผูเรียนดวย 2. ชวยเพิ่มแรงจูงใจของนักเรียน เปาหมายสูงสุดของผูเรียนภาษาก็คือ สามารถสื่อสาร กับผูอื่นได ดังนั้นถาสภาพในหองเรียนสัมพันธกับความตองการในการเรียนภาษาของเขาก็จะเปน แรงจูงใจใหเขาอยากเรียนมากขึ้น นอกจากนี้แลวผูเรียนภาษาสวนใหญมีความคิดเกี่ยวกับภาษาวา เปนสื่อที่จะนำไปสูการติดตอสื่อสารมากกวาเปนการเรียนไวยากรณโครงสราง เมื่อในหองเรียนมีการ


19 จัดกิจกรรมที่เนนการปฏิบัติงาน เพื่อใหไดฝกใชภาษาจริงๆสอดคลองกับความคิดในเรื่องภาษาเปน การเพิ่มแรงจูงใจใหแกเขา 3. ควรจัดใหการเรียนรูภาษาเปนไปอยางธรรมชาติ การเรียนรูภาษานั้นเกิดขึ้นภายใน ตัวผูเรียนและเปนไปอยางธรรมชาติ ในการสอนนั้นไมอาจทำใหผูเรียนเกิดการเรียนรูภาษาไดอยาง สมบูรณ ดังนั้นการที่ครูจะสอนใหนักเรียนรูภาษาก็จะตองอยูในลักษณะที่เปนกระบวนการตาม ธรรมชาติ คือตองจัดใหนักเรียนไดใชภาษาเพื่อการสื่อสารจริงๆ การจัดกิจกรรมเนนงานปฏิบัติทั้ง ภายในและภายนอกหองเรียน จึงเปนสวนสำคัญในกระบวนการเรียนรูภาษา 4. การสรางบริบท ซึ่งมีสวนสงเสริมสนับสนุนการเรียนภาษา กลาวคือเปนการเปดโอกาส ใหครูกับนักเรียนสรางความสัมพันธที่ดีตอกัน ซึ่งความสัมพันธนี้จะชวยสรางสภาพแวดลอมและ บรรยากาศที่สนับสนุนใหผูเรียนแตละคนพยายามที่จะเรียนรูภาษา Brown (1989) ไดเสนอหลักการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารมีลักษณะ 4 ประการที่เชื่อมโยง สัมพันธกันดังนี้ 1. เปาหมายของการสอนเนนไปที่องคประกอบทั้งหมดของทักษะการสื่อสารและไม จำกัดอยูภายในกรอบของเนื้อหาภาษาหรือไวยากรณ 2. เทคนิคทางภาษาไดรับการออกแบบมาเพื่อนำผูเรียนไปสูการใชภาษาอยางแทจริงตาม หนาที่ภาษาและปฏิบัติจริงโดยมีจุดมุงหมายในการพูดรูปแบบโครงสรางภาษา มิใชเปาหมายหลักแต รูปแบบเฉพาะของภาษาตางหากที่ทำใหผูเรียนสามารถสื่อสารจนสำเร็จตามเปาหมาย 3. ความคลองแคลวและความถูกตองเปนหลักการเสริมที่อยูภายใตเทคนิคการสื่อสารมี หลายครั้งที่ความคลองแคลวอาจจะมีความสำคัญมากกวาความถูกตองเพื่อที่จะทำใหผูเรียนนำภาษา ไปใชไดอยางมีความหมาย 4. ในการเรียนการสอนภาษาตามแนวการสอนภาษาจีน เพื่อการสื่อสารในตอนทายสุด ผูเรียนตองใชภาษาอยางเขาใจและสรางสรรคภายในบริบทที่ไมเคยฝกมากอน สุมิตรา อังวัฒนกุล (2540) เสนอหลักสำคัญของการจัดการเรียนภาษาเพื่อการสื่อสารไว ดังนี้ 1. ตองใหผูเรียนรูวากำลังทำอะไรเพื่ออะไรผูสอนจะตองบอกใหผูเรียนทราบถึงความมุง หมายของการเรียนการฝกใชภาษาเพื่อใหการเรียนภาษาเปนสิ่งที่มีความหมายตอผูเรียนใหผูเรียนรูสึก วา เมื่อเรียนแลวสามารถทำบางสิ่งบางอยางเพิ่มขึ้นไดนั่นคือ สามารถสื่อสารไดตามที่ตนตองการ เชน ทักษะการฟง เมื่อไดเรียนแลวฝกไปแลวผูเรียนตามความสามารถฟงบทสนทนาประโยคตางๆได หรือ ในทักษะการพูด ผูเรียนสามารถพูดถามทางไปสถานที่ที่ตองการจะไปได เปนตน 2. การใชภาษาเพื่อการสื่อสาร ตองใชหลายๆทักษะรวมกัน ผูเรียนภาษาควรจะไดทำ พฤติกรรมเชนเดียวกับในชีวิตจริงการสอนในลักษณะบูรณาการ จะทำใหผูเรียนมีความสามารถในการ ใชภาษาเพื่อการสื่อสารไดดี


20 3. ตองใหผูเรียนไดทำกิจกรรมการใชภาษากิจกรรม ควรมีลักษณะที่เหมือนใน ชีวิตประจำวันใหมากที่สุด เพื่อใหผูเรียนนำไปใชไดจริง ควรใหผูเรียนไดมีโอกาสเลือกใชใหเหมาะสม กับบทบาทและสถานการณ ผูเรียนตองไดเรียนรูความหมายของสำนวนภาษาในรูปแบบตางๆที่ สามารถนำไปใชในชีวิตประจำวัน 4. ตองใหผูเรียนฝกการใชภาษามากๆ นอกจากผูเรียนตองทำกิจกรรมการใชภาษา ดังกลาวแลวยังตองมีโอกาสไดทำกิจกรรมในรูปแบบตางๆใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปไดเชน กิจกรรมที่ เปนงานหมู งานเดี่ยว เกม การแกปญหา การแสดงบทบาทสมมติ เปนตน 5. ผูเรียนตองไมกลัววาจะใชภาษาผิด แนวการจัดการเรียนการสอนเพื่อการสื่อสาร ความสำคัญกับการใชภาษามากกวาวิธีใชภาษา ผูสอนจึงไมควรแกไขขอผิดพลาดของผูเรียนทุกครั้ง ควรแกไขเฉพาะที่จำเปน ควรใหความสำคัญในเรื่องความคลองแคลว ในการใชภาษาเปนอันดับแรก ภาษาที่ใชอาจไมถูกตองนัก แตสื่อความหมายไดจากหลักการสอนดังกลาว แสดงใหเห็นวาในการ จัดการเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารนั้น ผูสอนมีหนาที่สงเสริมใหผูเรียนแสดงออกทางภาษาโดย ใชสถานการณจริงในชีวิตประจำวันใหมากที่สุด ใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูดวยการฝกใชภาษา ในสถานการณจริงที่ใชในชีวิตประจำวัน โดยมีกิจกรรมในรูปแบบตางๆที่ใหผูเรียนไดมีโอกาสเลือกใช ใหเหมาะสมกับบทบาทและสถานการณ 2.3 องคประกอบของความสามารถทางภาษาเพื่อการสื่อสาร ในการเรียนการสอนภาษา จุดมุงหมายที่สำคัญคือ นักเรียนสามารถใชภาษาเพื่อสื่อ ความหมาย ผูฟงเขาใจ มีปฏิสัมพันธทางภาษา จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของไดมีนักการศึกษา กลาวถึงองคประกอบของความสามารถทางภาษาเพื่อการสื่อสาร ไวดังนี้ Hymes (1979) ไดกลาวถึงองคประกอบของความสามารถในการสื่อสารในลักษณะของ การผสมผสานทฤษฎีทางดานภาษาศาสตรกับทฤษฎีของการติดตอสื่อสารและวัฒนธรรมที่มี องคประกอบตอความสามารถในการสื่อสารอันเปนองคประกอบ 4 ประการ ที่เปนพื้นฐานของ พฤติกรรมในการสื่อสาร ดังนี้ 1. รูวาประโยคที่ผลิตออกมานั้นถูกตองหรือเปนไปตามกฎเกณฑไวยากรณหรือไม 2. รูวาประโยคที่ผลิตออกมานั้นมีความหมายที่ใชกันอยูจริงเปนที่ยอมรับหรือไม 3. รูวาประโยดที่ผลิตออกมานั้นถูกตองเหมาะสมกับสภาพสังคมหรือไม คือรูวา ประโยคนั้นควรจะพูดกับใครในสถานการณใด


21 Canale & Swain (1980) กลาวถึงความสามารถในการใชภาษาเพื่อการสื่อสารวาผูเรียน จำเปนตองมีในดานตางๆ ดังตอไปนี้ 1. ความสามารถในการใชภาษาอยางถูกตอง ตามหลักภาษาศาสตรหรือหลัก ไวยากรณ (Grammaticai Competence) กลาวคือ ผูเรียนตองมีความรูเกี่ยวกับระบบเสียงศัพท ไวยากรณรูวาประโยคใดถูก / ผิดตามหลักไวยากรณ และสามารถใชและแกประโยคนั้นๆใหถูกตองได 2. ความสามารถทางภาษาศาสตรเชิงสังคม (Sociolinguistic Competenice) คือ สามารถใชภาษาไดอยางถูกตอง ตามระเบียบปฏิบัติของสังคม ซึ่งไดแกความรูที่ถูกตองเกี่ยวกับ สภาพแวดลอมทางสังคมวัฒนธรรม สภาพทางสังคมและบทบาททางสังคมของบุคคล โดยสามารถ เลือกใชภาษาใหถูกตองและเหมาะสมกับบุคคลและโอกาสตางๆ ได 3. ความสามารถในการใชความสัมพันธของขอความ (Discourse Competence) คือ มีความรูเกี่ยวกับการใชระเบียบวิธีของความสัมพันธระหวางประโยค โดยใชความรูทางไวยากรณ และความสามารถในการเชื่อมโยงความหมายทางภาษาใหเขากันไดอยางถูกตอง 4. ความสามารถในการใชกลวิธีในการสื่อความหมาย (Strategic Competence) คือ มีความรูเกี่ยวกับการปรับตัวเขากับสถานการณตลอดจน การใชกริยาทาทางสีหนาและน้ำเสียงใน การสื่อความหมาย ซึ่งแสดงออกไดทั้งทางคำพูดและไมใชคำพูด Savignon (1983) ไดอธิบายจุดมุงหมายการเรียนการสอนเพื่อการสื่อสารวาสิ่งสำคัญขึ้นอยู กับผูเรียนตองมีความสามารถในการนำภาษาไปใชในการสื่อสารเพื่อใหเกิดปฏิสัมพันธไดอยาง เหมาะสมและถูกตอง โดยแบงความสามารถในการสื่อสาร (Communicative Competence) ออกเปน 4 ดาน ดังนี้ 1. ความสามารถทางดานกฎเกณฑและโครงสรางของภาษา (Linguistic or Grammatical Competence) คือ สามารถเรียนรูที่เกี่ยวกับคำศัพท หนวยคำ โครงสรางหรือ ไวยากรณและการออกเสียง โดยนำความรูเกี่ยวกับกฎเกณฑและโครงสรางไปใชในการพูดคิดตอ สื่อสารได 2. ความสามารถดานภาษาศาสตรเชิงสังคม (Sociolinguistic Competence) คือ ความสามารถในการใชเพื่อการสื่อสารไดถูกตองเหมาะสมตามกฎเกณฑทางสังคมและวัฒนธรรมของ เจาของภาษา เชน รูถึงความเหมาะสมหรือกาลเทศะในการพูดตามสถานการณตางๆโดยคำนึงถึง บทบาทของตนเองและผูรวมสนทนา จุดมุงหมายของการสื่อสารปฏิสัมพันธตลอดจนกฎเกณฑที่เปนที่ ยอมรับในสังคมนั้น 3. มีความรูความสามารถทางดานความสัมพันธของขอความหรือเนื้อหา(Discourse Competence) คือ สามารถวิเคราะหตีความ ความสัมพันธระหวางประโยคตางๆโดยเชื่อมโยง


22 ความหมายและโครงสรางไวยากรณเพื่อพูดสื่อสารสิ่งตางๆที่ตอเนื่องและมีความหมายที่สัมพันธกัน เชน การเลาเรื่องหรือการสนทนาตามสถานการณตางๆ เปนตน 4. มี ค วาม ส าม ารถ ด าน ก ารใช ก ล วิ ธีใน ก ารสื่ อค ว าม ห ม าย (Strategic Competence) คือ สามารถในการใชกลวิธีตางๆ เชน การถอดความ การพูดซ้ำ การพูดออมๆ หรือ การเดา เพื่อชวยในการสื่อความหมาย เมื่อเกิดความไมเขาใจในการสื่อสารหรือไมสามารถสื่อสารให อีกฝายหนึ่งเขาใจความหมายได Hedge (2007) กลาวถึง องคประกอบของความสามารถในการใชภาษาเพื่อการสื่อสารที่มี อยู 5 ดานดังนี้ 1. ความสามารถดานกฎเกณฑไวยากรณ โครงสรางทางภาษา (Linguistic Competence) มีความสามารถในการใชภาษาไดถูกตองในหลักไวยากรณตามรูปแบบของภาษา ออก เสียงไดถูกตอง มีความสามารถในคำศัพท หนวยคำ มีการเนนหนักมีจังหวะเสียงขึ้นลงในการแสดง ความหมายของคำหรือประโยค 2. ความสามารถดานการปฏิบัติทางภาษา (Pragmatic Competence) มี ความสามารถในดานความสัมพันธระหวางโครงสรางทางภาษาและหนาที่ของภาษาสามารถเนนหนัก คำหรือประโยคอยางมีจังหวะในการแสดงทัศนคติและอารมณเลือกรูปแบบภาษาไดอยางเหมาะสมใน การสนทนากับผูฟง 3. ความ สามารถใน การเชื่ อมโยงขอความ (Discourse Competence) มี ความสามารถวิเคราะหตีความความสัมพันธระหวางประโยคและสามารถสื่อความหมายออกมาใน รูปแบบขอ งการเขียนการสนทนา ความสามารถในการที่จะเปนผูเริ่มตนและจบการปฏิสัมพันธ 4. ความสามารถในกลวิธีของการสื่อสาร (Strategic Competence) มีความสามารถ ในดานการตีความ การใชภาษาทาทางในการเดาความหมาย การพูดซ้ำ เพื่อใหเกิดความเขาใจ 5. การใชภาษาไดอยางคลองแคลว (Fluency) มีความสามารถในการใชภาษาโตตอบ ที่อยางทันทีโดยไมลังเล สุมิตรา อังวัฒนกุล (2540) ไดกลาวถึงองคประกอบความสามารถในการสื่อสารนั้นตองสอน ในสิ่ง 4 ประการ ตอไปนี้ 1. ความรูความสามารถทางดานภาษาศาสตรหรือไวยากรณ (Linguistic or Grammatical Competence) ไดแก การใชทักษะทั้ง 4 คือ ฟง พูด อาน และเขียน โดยมี องคประกอบทางภาษา คือ เสียง ศพท โครงสร ั างภาษา เปนเกณฑในการสื่อความหมาย 2. ความสามารถทางภาษาศาสตรสังคม (Sociolinguistic Competence) ไดแก ความสามารถที่จะใชภาษาไดอยางถูกตองเหมาะสมตามระเบียบปฏิบัติของสังคม โดยสามารถเลือกใช ภาษาใหเหมาะกับบุคคลและสถานการณตาง ๆ


23 3. ความสามารถในการใชความสัมพันธของขอความ (Discourse Competence) คือ มีความรูเกี่ยวกับการใชระเบียบวิธีของความสัมพันธระหวางประโยค มีความเขาใจและทำนาย ความขางหนาเกี่ยวกับรูปลักษณะของภาษาที่จะเกิดขึ้นในบริบทไดถูกตอง 4. ความสามารถในการใชกลวิธีในการสื่อความหมาย (Pragmatic Competence or Strategic Competence) คือมีความสามารถในการปรับตัวเขากับสถานการณ รวมทั้งการใชกริยา ทาทาง สีหนา และน้ำเสียงประกอบในการสื่อความหมาย จากที่กลาวมาแลว จะเห็นไดวา องคประกอบของความสามารถทางภาษาเพื่อการสื่อสารประกอบไปดวย ความรูความสามารถ ทางดานภาษาศาสตรหรือไวยากรณ (Linguistic or Grammatical Competence) ความสามารถ ทางภาษาศาสตรสังคมศาสตร (Sociolinguistic Competence) ความสามารถที่จะใชภาษาไดอยาง ถูกตองเหมาะสมตามระเบียบปฏิบัติ ของความสามารถในการใชความสัมพันธของขอความ (Discourse Competence) และความสามารถในการใชกลวิธีในการสื่อความหมาย (Pragmatic Competence or Strategic Competence) 2.4 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารในการจัดการเรียนการสอนภาษาเพื่อ การสื่อสาร เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของหลักสูตร ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนเปนสิ่งสำคัญ ที่จะสามารถชวยใหการจัดการเรียนรูประสบผลสำเร็จได ซึ่งไดมีนักการศึกษาหลายทานไดเสนอ ขั้นตอนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารไวดังตอไปนี้ Scott (1981) ไดแบงขั้นตอนในการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเปนขั้นตอน ดังนี้ การตั้ง จุดประสงค (Setting Objectivs) เปนการตั้งจุดประสงคปลายทางและจุดประสงคนำทาง การ นำเสนอเนื้อหา (Presentation) เปนขั้นที่ผูสอนจะตองใหความชัดเจน และความกระจางในเรื่องที่ สองการฝก (Practice) เปนการฝกดวยภาษาที่สอนไปแลว อาจฝกเปนรายบุคคลหรือเปนกลุม การ ถายโอน (Transfer) เปนการเลือกฝกการใชภาษาผูเรียนอาจมีปฏิสัมพันธ (Interaction) ซึ่งกันและ กันโดยใชภาษาที่เรียนมาแลวอยางเสรี เชน การแสดงบทบาทสมมุติหรือเลนเกมตางๆ เพื่อเปดโอกาส ใหใชภาษาสื่อสารไดเต็มที่หรืออาจจัดใหผูเรียนนำภาษาไปใชในสถานการณตาง Harmer (2000) ไดเสนอขั้นตอนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การแนะนำความรูทางใหม (Introducing New Language) ในขั้นนี้ ครูจะแนะนำ กฎเกณฑทางภาษาที่ผูเรียนไมเคยเรียนมากอน โดยที่ครูจะตองนำเสนอใหผูเรียนเขาใจถึงความหมาย การใช ตลอดจนรูปแบบของโครงสรางนั้นๆ โดยการนำเสนอนั้นควรอยูในรูปของบริบทการใชภาษา เชน ใชสิ่งแวดลอมรอบตัวผูเรียนเลาเรื่อง หรือสถานการณ เปนตน 2. การฝกภาษา (Practice) ในขั้นนี้ครูจะใหนักเรียนไดฝกการใชภาษาแตจะเปนการ ฝกแบบควบคุมการใชภาษาตัวอยางของการฝกประเภทนี้ไดแก การฝกออกเสียงตามครูกิจกรรมเดิม


24 ขอมูลที่ขาดหาย เกมการฝกพูดเรื่องที่เกี่ยวกับตัวผูเรียนโดยใชโครงสรางทางภาษาที่เรียนมากิจกรรม ปฏิสัมพันธอื่นๆ เปนตน 3. กิจกรรมเพื่อการสื่อสาร (Communicative Activities) ในขั้นนี้ผูเรียนจะไดฝกการ ใชภาษาที่มีลักษณะสมจริง ผูเรียนสามารถใชภาษาไดอิสระมากขึ้น ตัวอยางของกิจกรรมเพื่อการ สื่อสาร ไดแก กิจกรรมการแกปญหา การแสดงบทบาทสมมุติ สถานการณจำลองเปนตน Byrne (1990) ไดเสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ซึ่งแบง กิจกรรมการจัดการเรียนรูออกเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1.ขั้นนำเสนอเนื้อหา (Presentation Stage) เปนขั้นตอนที่ผูสอนตองใหความรู ทางดานภาษาซึ่งผูเรียนจำเปนตองเรียนรูเพื่อเพิ่มพูนความสามารถทางดานภาษา การนำเสนอเนื้อหา นี้ ผูสอนตองเสนอในรูปแบบการใชภาษาในบริบทตางๆ เชน ใหผูเรียนพูดตามเนื้อเรื่องบทสนทนา และใหผูเรียนสังเกต ตลอดจนสรุปเกณฑการใชภาษานั้นๆจากเนื้อเรื่องหรือบทสนทนานั้นๆได อยางไรก็ตามผูสอนควรจัดการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความเขาใจเนื้อหาไดเปนอยางดี เพราะผูเรียน จะตองนำความรูเหลานี้ไปใชในการฝกขั้นตอไป 2. ขั้นการฝกฝน (Practice Stage) หลังจากที่ผูสอนไดนำเสนอเนื้อหาในรูปของบริบท แลว ผูสอนควรจะใหโอกาสผูเรียนไดฝกใชภาษา การฝกในขั้นนี้จัดเปนการฝกโดยผูสอนเปนผู ควบคุมดูแล ผูสอนจึงควรใหผูเรียนมีการฝกใชภาษาจีน เชน ใชรูปภาพ เกมมาเปนสื่อประกอบเพื่อ กระตุนใหผูเรียนไดฝกใชภาษาจีนที่เกิดจากความเขาใจ 3. ขั้นการใชภาษา (Production Stage) ในขั้นนี้ผูสอนทำหนาที่เปนเพียงผูแนะนำ หรือใหคำปรึกษาใหผูเรียนแตละกลุมนำความรูที่ไดเรียนรูมาผลิตภาษาในรูปแบบกิจกรรมกลุมดวย การสนทนาหนาชั้นเรียนตามหัวขอของแตละกลุมที่คิดคนขึ้นมาเอง หรืออาจมีความใกลเคียงกับหัวขอ ที่กำหนดใหพรอมนำเสนอหนาชั้นเรียน เพราะการฝกในขั้นนี้นั้นมีจุดประสงคเพื่อฝกความคลองแคลว ของการใชภาษาและความสามารถในการสื่อความหมายเปนสำคัญ จากการศึกษาขั้นตอนการจัดการ เรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารขางตน 4. ขั้นนำเสนอ (Presentation) ขั้นฝกภาษาเปนตน เพื่อใหผูเรียนสามารถนำความรู ทางดานภาษาไปใชในการสื่อสารในสถานการณตางๆไดอยางเปนอิสระดวยตนเองจะเห็นไดวาขั้นตอน การจัดการเรียนการสอนดังกลาว มุงเนนใหผูเรียนไดพัฒนาศักยภาพของตนเองใหสามารถนำความรู ทางภาษาไปใชในการพูดสื่อสารในสถานการณจริงไดอยางถูกตองเหมาะสมและเปนธรรมชาติ 5. กิจกรรมที่ใชในการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารนับเปนกิจกรรมที่ชวยสงเสริมให ผูเรียนสามารถนำความรูทางภาษาไปใชในการสื่อความหมายได แตการสอนใหบรรลุเปาหมายนั้น จำเปนตองอาศัยองคประกอบหลายประการ องคประกอบที่สำคัญประการหนึ่งก็คือการนำกิจกรรม การสอนภาษาเพื่อการสื่อสารไปใชในชั้นเรียนที่ฝกใหผูเรียนไดใชภาษาอยางมีความหมาย อันจะชวย


25 สงเสริมการเรียนภาษาไดเปนอยางดี ซึ่งมีผูเชี่ยวชาญทางดานภาษาไดเสนอรายละเอียดกิจกรรมที่ใช ในการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ดังนี้ Littlewood (1983) เสนอกิจกรรมการใชภาษาเพื่อการสื่อสารไวหลายแบบ โดยแบง กิจกรรมออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ กิจกรรมการใชภาษาเพื่อการสื่อสารตามวัตถุประสงค (Functional Communication Activities) และกิจกรรมการใชภาษาเพื่อการปฏิสัมพันธในสังคม (Social Interaction Activities) กิจกรรมที่ใชภาษาเพื่อการสื่อสารตามวัตถุประสงค (Functional Communication Activities) เปนกิจกรรมที่มุงใหผูเรียนใชภาษาเปนสื่อในการทำกิจกรรมใหบรรลุ วัตถุประสงคที่กำหนดไว โดยผูเรียนจะตองพยายามใชภาษาเทาที่ตนสามารถใชไดเพื่อสื่อความหมาย ใหเขาใจกันไดมากที่สุดในการทำกิจกรรมประเภทนี้ ผูเรียนไมจำเปนตองใชภาษาที่ถูกตองตามหลัก ไวยากรณ หรือเหมาะสมกับสถานการณเสมอไป ความสำเร็จในการทำกิจกรรม จะวัดจากที่ผูเรียน สามารถใชภาษาเปนเคร่อืงมือในการสื่อสารใหบรรลุไดตามวัตถุประสงคทกำหนดไว ี่ กิจกรรมในการใช ภาษาเพื่อการสื่อสารตามวัตถุประสงคอาจจัดไดหลายแบบ แตมีหลักการรวมกัน คือ ครูตองกำหนด สถานการณใหผูเรียนเกิดความจำเปน ที่จะตองใชภาษาเพื่อหาขอมูลที่ตนเองยังขาดอยูหรือเพื่อ แกปญหาอยางใดอยางหนึ่งดังนี้ คือ 1.1 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนขอมูลอยูในวงจำกัด (Sharing Information with Restricted Cooperation) กิจกรรมแบบนี้อาจเปนงานคู (Pair Work) หรืองานกลุม(Group Work) ก็ได ผูเรียนแตละคนหรือแตละกลุมจะไดรับขอมูลเพียงสวนหนึ่งและจะตองแลกเปลี่ยนขอมูลที่ตนมี กับเพื่อนหรือหาขอมูลจากกันและกันดวยการถาม-ตอบ จึงจะมีขอมูลที่ครบถวน 1.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนขอมูลในวงกวาง (Sharing Information with Unrestricted Cooperation) กิจกรรมแบบนี้มีลักษณะคลายคลึงกับกิจกรรมแลกเปลี่ยนขอมูลในวงจำกัด คืออาจ เปนงานคูหรืองานกลุมและนักเรียนจะตองแลกเปลี่ยนหรือหาขอมูลเพิ่มเติม จากเพื่อนเชนเดียวกัน แตในการทำกิจกรรมแบบนี้ นักเรียนจะมีอิสระในการใชภาษามากกวาคือแทนที่จะใชวิธีการถาม-ตอบ ตามที่กำหนดไว นักเรียนสามารถใชวิธีการพูดอยางอื่นไดตามที่คิดวาเหมาะสม เชน พูดบรรยายให ขอเสนอแนะขอใหอธิบายเพิ่มเติม ฯลฯ 1.3 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนขอมูลและหาขอสรุปจากขอมูล (Sharing and Processing Information ) กิจกรรมแบบนี้มีลักษณะคลายกับการเลนตอภาพ (Jigsaw) คือนักเรียน แตละคนหรือแตละกลุมจะไดรับขอมูลคนละสวนซ่ึงแตกตางกันไป ในขั้นแรกนักเรียนจะตอง แลกเปลี่ยนขอมูลกันกอน จนกระทั่งไดภาพรวมของขอมูลทั้งหมด จากนั้นจึงนำขอมูลดังกลาวไปใชใน การแกปญหาหรือหาขอสรุปอยางใดอยางหนึ่ง ตามที่กำหนดไว หลังจากนั้นทุกคนจึงรวมอภิปราย แสดงความคิด


26 1.4 กิจกรรมการหาขอสรุปจากขอมูล (Processing Information) กิจกรรมแบบนี้อาจ เปนงานคูหรืองานกลุมก็ได นักเรียนทุกคนจะไดรับขอมูลครบถวนเหมือนกันหมด จึงไมจำเปนตองมี การแลกเปลี่ยนขอมูลกัน ดังเชน กิจกรรมอื่นๆที่ผานมาแตนักเรียนจะตองรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ขอมูลที่ไดรับหรือประเมินขอมูลนั้น เพื่อนำผลไปใชในการตัดสินใจหรือแกปญหาอยางใดอยางหนึ่ง กิจกรรมแบบนี้มีลักษณะคลายคลึงกับการแกปญหาทั่วๆไปในชีวิตจริง 2. กิจกรรมการใชภาษาเพื่อการปฏิสัมพันธในสังคม (Social Interaction Activities) เปนกิจกรรมที่มีจุดมุงหมายคลายคลึงกับกิจกรรมประเภทแรก ในแงที่มุงใหผูเรียนใชภาษาเปนสื่อใน การทำกิจกรรมใหบรรลุวัตถุประสงคที่กำหนดไว แตกิจกรรมประเภทนี้จะกำหนดสถานการณและ บทบาทของผูเรียนไดดวย ดังนั้นในการทำกิจกรรมนอกจากผูเรียนจะไดฝกใชภาษาเพื่อการสื่อสารให เปนที่เขาใจกันแลว ผูเรียนยังตองเลือกใชภาษาที่ถูกตองเหมาะสมกับสถานการณและบทบาทของ ตนเองดวย ความสำเร็จในการทำกิจกรรมประเภทนี้จึงวัดจากความสามารถ 2 ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสารไดตามวัตถุประสงคและความสามารถในการเลือกใชภาษาไดถูกตอง เหมาะสมกับสถานการณและบทบาทที่ไดรับ ในการจัดกิจกรรมประเภทนี้ ครูอาจนำกิจกรรมการใช ภาษาในประเภทแรกมาใชได โดยกำหนดสถานการณและบทบาททางสังคมของนักเรียนใหชัดเจน อยางไรก็ตามเนื่องจาก นักเรียนสวนมากไมสามารถจัดกิจกรรมที่ใชบริบททางสังคมนอกชั้นเรียนได ทุกกิจกรรม เนื่องจากปจจัยหลายประการ เชนขอจำกัดของเวลา งบประมาณ และการขออนุญาต จากฝายผูบริหารและผูปกครองของนักเรียน ดังนั้นการทำกิจกรรมแบบนี้ในขั้นแรก ครูอาจใช หองเรียนเปนบริบททางสังคมกอน เพื่อใหนักเรียนไดฝกใชภาษาในเรื่องที่ใกลตัวและในสถานการณที่ นักเรียนคนเคย หลังจากนั้นจึงจัดใหนักเรียนไดฝกใชภาษาในบริบทอื่นที่เปนสถานการณนอกชัุ้นเรียน ตอไปในการใชหองเรียนเปนบริบททางสังคมสำหรับนักเรียนไดฝกใชภาษาเพื่อการสื่อสารนั้น Bygate (1995) เสนอกิจกรรมการใชภาษาเพื่อการสื่อสารที่มุงใหผูเรียนมีโอกาสฝกการใช ภาษาในการพูดใหมากที่สุด ดังนี้ 1. กิจกรรมการเติมขอมูลที่หายไป (Information Gap Activity) เปนกิจกรรมคแูตละ คนจะไดรับขอมูลที่ไมสมบูรณและทั้งสองคนจะตองสนทนาเพื่อเติมขอมูลใหสมบูรณเปนการสราง วัตถุประสงคและความจำเปนในการสื่อสาร รวมทั้  งเปดโอกาสใหผูเรียนไดสื่อความหมาย 2. เกมเพื่อการสื่อสาร (Communication Garnes) เชน 2.1 เกมบรรยายภาพและวาดภาพ (Describe and Draw) ไดแก กิจกรรมที่ให ผูเรียนคนหนึ่งเปนผูบรรยายและอีกคนหนึ่งเปนผูวาดภาพ 2.2 เกมบรรยายและจัดเรียงภาพ (Describe and Arange) ไดแก กิจกรรมที่ให ผูเรียนคนหนึ่งเปนผูบรรยายลักษณะของวัตถุและอีกคนหนึ่งจะตองประกอบวัตถุนั้นๆตามคำบรรยาย


27 2.3 เกมหาความแตกตางของภาพ (Find the Difference) ไดแกกิจกรรมที่ให ผูเรียน 2 คน มีภาพคนละภาพที่แตกตางกันเพียงเล็กนอย ผูเรียนจะตองพูดเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลเพื่อ หาความแตกตางของภาพนั้น 2.4 เกมถามคำถาม (Ask the Right Question) ไดแก กิจกรรมที่ผูเรียนคนหนึ่ง จะไดรับบัตรคำศัพท ผูเรียนคนอื่นจะตองตั้งคำถามเพื่อใหตรงกับคำศัพทในบัตรคำ 3. สถานการณจำลอง (Simulation) เปนกิจกรรมการสนทนาตามบทบาทที่กำหนด ทุกคนตองทำงานรวมกันภายใตขอกำหนดของสถานการณท ี่บังคับไว  4. กิจกรรมปฏิสัมพันธเกี่ยวกับโครงการ (Project-Based Interaction Activities) เปนกิจกรรมที่ใหผูเรียนไดทำโครงการ โดยการคนควาและทำงานรวมกันเปนกลุม มีการใชภาษาใน การอภิปรายเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการ การรายงานผล เปนตน สุมิตรา อังวัฒนกุล (2531) กลาววา การใชหองเรียนเปนบริบททางสังคมสำหรับใหนักเรียน ฝกใชภาษาเพื่อการสื่อสารนี้ แมจะมีขอดีอยูมากในแงที่นักเรียนไดฝกใชภาษาในเรื่องที่ใกลตัวและ สถานการณที่นักเรียนคุนเคย แตนักเรียนก็จำเปนตองฝกใชภาษาในบริบทอื่นดวยเพื่อเตรียมสำหรับ การใชภาษาเพื่อการสื่อสารในสังคมภายนอกตอไป การฝกใชภาษาในบริบทอื่นจะกระทำไดโดยใช กิจกรรมประเภทบทบาทสมมุติ (Role Play) สถานการณจำลอง (Simulation) กิจกรรมละคร (Acting) หรือเกม (Game) ซึ่งนักเรียนอาจจะตองสวมบทบาทเปนบุคคลอื่นหรือสมมุติวานักเรียนอยู ในสถานการณอื่นนอกชั้นเรียน การที่นักเรียนไดแสดงบทบาทเปนบุคคลอื่นบาง หรือการสมมุติวา นักเรียนอยูในเหตุการณนอกชั้นเรียนบางนี้ จะทำใหนักเรียนไดมีโอกาสฝกใชภาษาเพื่อการสื่อสารใน ลักษณะที่ใกลเคยีงกบชีวิ ั ตจริงมากที่สุดเทาที่จะทำไดภายในชั้นเรียน อรุณี วิริยะจิตรา (2532) ไดเสนอการจัดกิจกรรมเพื่อการสื่อสารดังนี้ 1.การจัดกิจกรรมแบบทำคนเดียว (Individual Work) เปนการเสริมใหผูเรียนมี ปฏิสัมพันธกับบทเรียน แตผูเรียนจะขาดการปฏิสัมพันธระหวางกันกิจกรรมที่จัด เชน การเขียน อธิบายรูปภาพ การเลนเกมคำศัพท 2. การจัดกิจกรรมแบบคู (Pair Work) เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียน มีปฏิสัมพันธ ระหวางกัน เปนการจัดกิจกรรมที่กอใหเกิดการใชภาษาในสถานการณเหมือนจริง เชน การ แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน 3. การจัดกิจกรรมกลุมใหญ (Group Work) เปนการเพิ่มจำนวนการใชภาษาของ ผูเรียน คือ มีการแสดงความคิดเห็นขัดแยงกัน หรือการตัดสินใจรวมกัน เชน การอภิปรายการสวม บทบาท 4. การจัดกิจกรรมแบบทำรวมกันทั้งชั้น (Class Work) เปนการเสริมผูเรียนใหมี ปฏิสัมพันธกันกับผูสอนเปนกิจกรรมที่ใหผูเรียนรวมกันทำพรอมๆกันทั้งหอง เชน การฝกออกเสียงคำ


28 การปฏิบัติตามคำสั่งของครูผูสอนรูปแบบการจัดกิจกรรมการพูด เพื่อการสื่อสารที่หลากหลายมี จุดหมายเพื่อใหนักเรียนเกิดแรงจูงใจ ในการใชภาษาเพื่อการสื่อสารดวยตนเองไดอยางเปนธรรมชาติ สรุปไดวาหลักการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารคือ ความสามารถของผูเรียนสามารถนำภาษาไป ใชสื่อสารกับบุคคลอื่นในชีวิตประจำวันไดจริงและการสอนภาษาจีนเพื่อการสื่อสารนั้น ไมเนนการ สอนไวยากรณและจะใชกิจกรรมที่หลากหลายอีกทั้งเนนการฝกปฏิบัติทางภาษาเพื่อใหนักเรียนไดใช ภาษาอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ 3.กิจกรรมกลุม 3.1 ความหมายของกิจกรรมกลุม กิจกรรมกลุม เปนการเรียนรูที่มีพื้นฐานของกระบวนการกลุมการเรียนแบบกลุม (Group Activity) นั้นเปนที่รูจักกันโดยทั่วไป ซึ่งมีองคประกอบสำคัญ คือ หัวหนา สมาชิก และกิจกรรมกลุม ถาการทำงานกลุมมีประสิทธิภาพนั้น หมายถึงองคประกอบทั้งสามนั้นตองดี แตโดยธรรมชาติแลวจะ พบวาสมาชิกบางคนมีความรับผิดชอบดีมาก แตสมาชิกบางคนไมมีการไมทำงานตามที่มอบหมาย บางคนละเลยไมใหความสนใจ และความรวมมือในสวนการประเมินผลนั้น แมสมาชิกบางคนจะไม ทำงานตามความรับผิดชอบก็ตาม แตคะแนนที่ไดจะเปนคะแนนรวมของกลุมสมาชิกทุกคนในกลุมได คะแนนเทากับคะแนนของกลุมจึงเกิดความไมยุติธรรม ดังนั้นจึงไดมีความพยายามแกปญหาวิธีการ เรียนแบบกลุมโดยใชวิธีการเรียนรูแบบกระบวนการกลุม นักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของ กิจกรรมกลุมดังนี้ Dorwin and Alvin (1953) กลาววากิจกรรมกลุมเปนการนำเอาวิธีการตางๆ เชน บทบาท สมมุติ สถานการณจำลอง เกม การอภิปรายการสังเกตและการใหขอวิจารณ (Feedback) ซึ่งกันและ กัน เพื่อชวยใหการตัดสินใจรวมกัน และยังใชฝกทักษะเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธหรือการประชุมตางๆ OhIsen (1970) ไดสรุปความหมายของกิจกรรมกลุมไว 2 ประเภท 1. กิจกรรมกลุมที่มีผูนำเปนผูใหขอมูลรายละเอียดดางๆแกสมาชิกหรือผูนำอภิปราย เพื่อที่สมาชิกไดบรรลุถึงความมุงหมายตางๆของกลุม โดยปกติผูนำในกลุมชนิดนี้จะใหขอมูลเกี่ยวกับ การศึกษา อาชีพ หรือสังคม และสงเสริมใหสมาชิกในกลุมนำขอมูลเหลานี้ มาอภิปรายเพื่อประโยชน สำหรับคน เชน การปฐมนิเทศ การปจฉิมนิเทศหรือกิจกรรมตางๆที่จัดขึ้นในชั่วโมง เปนตน ในการทำ กิจกรรมกลุมแบบนี้ ครูจะเปนผูดำเนินการวางแผนงานกลุมใหสมาชิก 2. กิจกรรมกลุมตางๆที่สมาชิกเปนผูดำเนินการ คือ นักเรียนไดวางแผนรวมกันจัดขึ้น เอง เชนกลุมอภิปรายในเรื่องตางๆที่นักเรียนสนใจหรือกิจกรรมเสริมหลักสูตรเปนตน Ragan & Shepherd (1971) กลาววา กิจกรรมกลุมเปนการศึกษาถึงธรรมชาติของกลุม เมื่อ มนุษยมารวมตัวกัน ซึ่งมีการศึกษาพฤติกรรมของสมาชิกแตละคนในกลุม โดยใชวิธีการอภิปรายและ ประเมินผลรวมกัน


29 Gulley (1963) ไดใหความหมายของกิจกรรมกลุมวา กลุมประกอบดวยบุคคลตั้งแตสองคน ขึ้นไปมารวมกันมีการพึ่งพาอาศัยและมีปฏิสัมพันธตอกัน มีผลประโยชนรวมกัน มีความพึงพอใจ มี การยอมรับ และเคารพในความคิดเห็นซึ่งกันและกัน มีความรูสึกวาตนเองเปนสวนหนึ่งของกลุม Kemp (1964) กลาววากิจกรรมกลุม เปนกระบวนการที่ทำใหทุกคนไดมีโอกาสรวมกันเปน กลุม เพื่อแกปญหาหรือเพื่อกระทำการอยางใดอยางหนึ่ง โดยมีการพึ่งพาอาศัยและมีปฏิสัมพันธตอกัน คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546) กลาววา กิจกรรมกลุม หมายถึง การนำเอาประสบการณมา วางแผนแลกเปลี่ยนซ่ึงกันและกัน เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนในสิ่งที่สมาชิกตองการ และการเปลี่ยนแปลง ของกลุมโดยสวนรวม ผูนำจะสามารถทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพก็ตอเมื่อ เขาไดเรียนรูวิธีการที่จะ ชวยอำนวยความสะดวกใหเกิดปฏิสัมพันธอยางสรางสรรคระหวางสมาชิกแตละคน โดยวิธีดังกลาวนี้ ประสบการณดังกลาว จะทำใหเกิดพัฒนาการในตัวบุคคลทุกคน และกลุมก็จะดำเนินไปดวย ความสำเร็จตามจุดมุงหมายที่ตั้งไว กาญจนา ไชยพันธุ (2549) กลาววา การที่บุคคลมารวมกันเพื่อศึกษาประสบการณของกลุม หลายๆฝายศึกษาพฤติกรรมความเปนผูนำ ความคิดฝกปฏิสัมพันธระหวางบุคคล และมีการศึกษาจาก ประสบการณ โดยผูศึกษาจะตองเขาไปมีสวนรวมในประสบการณการเรียนรูที่จัดขึ้น 3.2 จุดมุงหมายของกิจกรรมกลุม นักการศึกษาหลายทานไดกลาวถึงจุดมุงหมายของกิจกรรมกลุม ดังนี้ Traxler & North (1966) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายของกิจกรรมกลุม ดังนี้ 1. เพื่อใหการศึกษาการอบรมแกบุคคลที่ยังไมคุนเคยกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง 2. สถานที่ใดที่หนึ่งโดยการจัดโครงการการปฐมนิเทศนักเรียน หรือนักศึกษาใหมหรือ การนำไปจัดในรูปแบบของการแนะแนวไดตลอดป 3. เพื่อเสริมสรางประสบการณที่แตกตางไปจากประสบการณเดิมที่เคยไดรับ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การจัดกิจกรรมในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการศึกษา 4. เพื่อเปนรากฐานที่จะนำไปสูการใหคำปรึกษาเพื่อใหนักเรียนเกิดความรูสึกคุนเคย กับครูแนะแนวขณะเขารวมกิจกรรม 5. เพื่อการปรับตัว การบำบัดรักษาและความเจริญกาวหนาของบุคคลในกลุมและ กิจกรรมกลุม ยังสามารถนำไปใชในการแกไขขอบกพรองสวนตัวได เชน บุคลิกภาพ ความมีมนุษย สัมพันธเปนตน Button (1974) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายของกิจกรรมกลุมวา เปนการชวยสงเสริมมนุษยใหมี การพัฒนาและเจริญเติบโตอยางงอกงาม พัฒนาทักษะทางสังคม กิจกรรมกลุมเปนการสรางโอกาสให มนุษยไดเรียนรูการติดตอสัมพันธกับบุคคลอื่นในบรรยากาศที่สงเสริมกันในเทคนิคตางๆเพื่อใหสมาชิก กลุมพยายามชวยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งเอาไว


30 3.3 ขั้นตอนการสอนตามรูปแบบของกิจกรรมกลุม กิจกรรมกลุม เปนวิธีการเรียนแบบกิจกรรมกลุมที่เนนการทำงานรวมกันในกลุมเล็กๆ เพื่อ ศึกษาหัวขอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเปดโอกาสใหมีการเลือกเนื้อหา ตัดสินใจในกระบวนการเรียนรู และ สงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนขอมูลใหมอยางเต็มที่ ซึ่งขั้นการสอนแบบกิจกรรมกลุม พบวามีผูเชี่ยวชาญ ทางดานภาษาและนักทางการศึกษา ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวการสอนแบบกิจกรรมกลุมไว ดังนี้ Kagan (1992) ไดสรุปขั้นตอนการสอนแบบกิจกรรมกลุมโดยนำเสนอไว 9 ขั้นตอน เพื่อ มุงเนนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูแบบกิจกรรมกลุมอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ ขั้น ที่หนึ่ง คือ ขั้นการอภิปรายทั้งชั้น (Student-Centered Class Discussion) เปนการสงเสริมให ผูเรียนไดมีโอกาสในการจัดการในเรื่องที่จะเรียนกันเอง แสดงความคิดเห็นในสิ่งที่ไดเรียนรู ขั้นที่สอง คือ ขั้นการเลือกและสรางกลุม (Selection and Student Learning Team Building) ผูเรียนควรมี ความรูเรื่องกิจกรรมกลุม เนื่องจากการทำกิจกรรมรวมมือรวมกลุม ตองใชกิจกรรมกลุมเปนหลัก ขั้นที่ สาม คอืการเลือกหัวขอที่จะศึกษา (Team Topic Selection) ผูเรียนตองเลือกหัวขอที่จะศกึษา อาจ มีการอภิปรายกันภายในกลุม เพื่อเลือกหัวขอที่สนใจรวมกัน ขั้นที่สี่ คือ ขั้นการกำหนดหัวขอยอย (Mini topic Selection) ภายในกลุมจะมีการกำหนดรวมกันในการแบงหัวขอที่จะศึกษาออกเปน หัวขอยอย ๆ เพื่อแบงใหสมาชิกในกลุมแบงกันไปศึกษา ขั้นสี่ คือ ขั้นการเตรียมหัวขอยอย (Mini topic Preparation) หลังจากการแบงหัวขอยอย ผูเรียนแบงหนาที่กันรับผิดชอบในการศึกษาหัวขอ ยอย ขั้นที่หา คือ ขั้นการนำเสนอหัวขอยอยที่ศึกษา (Mini topic Presentation) หลังจากสมาชิกใน กลุมไดศึกษาหัวขอยอยที่ตนรับผิดชอบเรียบรอยแลว ขั้นที่หก คือ นำเนื้อหานั้นนำเสนอใหสมาชิก ภายในกลุมทราบเรื่องราวนั้น และสรางความเขาใจรวมกันภายในกลุม ขั้นที่เจ็ด คือ ขั้นการเตรียม นำเสนอรายงานของกลุม (Preparation of TeamPresentation) ผูเรียนภายในกลุมทำงานรวมกัน ในการสังเคราะหและรวบรวมความรูในหัวขอยอยทั้งหมดเขาใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในหัวขอของ กลุม และเตรียมนำเสนอในนามกลุม ขั้นที่แปด คือ ขั้นการนำเสนอของกลุม (Team Presentation) แตละกลุมนำเสนอผลการการศึกษาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งการบริการจัดการรูปแบบ และเวลาในการนำเสนอที่ตองมีในสวนเรื่องการถามตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น การอภิปราย กับกลุมอื่นๆ ในขั้นนี้ผูสอนอาจตองคอยควบคุมเวลาในการนำเสนอผลการศึกษาของแตละกลุม ทั้งนี้ หลังการกิจกรรมนำเสนอแลว ผูสอนอาจเลือกกลุมที่เหมาะสมในการเปนตัวอยางและทำการ สัมภาษณถ ึงกลวิธีตางๆ ที่อาจเปนประโยชนตอกลุมอื่นๆในการปฏิบัติกิจกรรมในคราวตอไป ขั้นที่เกา คือ ขั้นการวัดและประเมินผล (Evaluation) ซึ่งจะเกิดขึ้นไดใน 3 ระดับคือ 1) การประเมินการนำเสนองานกลุมโดยผูเรียนทั้งชั้น 2) การประเมินการทำงานกลุมโดยสมาชิกภายในกลุมตน


31 3) การประเมินการนำเสนอหัวขอยอยของนักเรียนแตละคนโดยผูสอนซึ่งในเรื่อง เกณฑการประเมินนี้ผูสอนและผูเรียนอาจชวยในการกำหนดก็ได จะเห็นไดวารูปแบบการเรียนแบบ รวมมือรวมกลุมเปนการเนนการทำงานกลุมที่เปดโอกาสใหผูเรียนแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่จะเรียน การเลือกหัวขอสมาชิกในกลุมแบงกันศึกษาเนื้อหาในหัวขอยอยแลวนำเสนอตอกลุมและชั้นเรียนเปน การเปดโอกาสใหผูเรียนไดใชความสามารถของตนในการศึกษาและนำมาถายทอดและแลกเปลี่ยน ขอมูลใหเพื่อนฟงเพื่อใหทั้งกลุมไดรูเนื้อหาอยางครบถวนรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบรวมมือที่กลาว ขางตนจะมีรายละเอียดของวิธีการที่แตกตางกันไปแตทุกรูปแบบจะมีลักษณะที่สำคัญรวมกันคือมีการ จัดแบงนักเรียนเปนกลุมเล็ก สมาชิกทุกคนมีเปาหมายรวมกัน ชวยเหลือกัน มีความรับผิดชอบ มีการ ฝกฝนการทำงานกลุมการมีปฏิสัมพันธที่ดีและยอมรับซึ่งกัน ในแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนแบบรวมมือจะมีขั้นตอนที่แตกตางกันไปตามแตละวิธีการ Slavin (1995) สรุปรายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนการสอนแบบกิจกรรมกลุมโดยแบงออกเปน 6 ขั้นตอนดังรายละเอียดตอไปนี้ ขั้นที่หนึ่ง คือ ขั้นแจงจุดประสงคการเรียนรูเปนตอนการนำเสนอจุดประสงคการ เรียนรูพรอมนำเสนอแนวทางการเรียนรูเกี่ยวกับกิจกรรมกลุมรวมทั้งกำหนดทิศทางในการสอน ขั้นที่สอง คือ ขั้นนำเสนอกิจกรรมกลุมเปนขั้นตอนแบงเนื้อหาหรือหัวขอใหผูเรียนได รับผิดชอบตามกิจกรรมกลุมที่แบงไว ขั้นที่สาม คือ ขั้นปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอนเปนขั้นตอนที่ครูตองนำเสนอ เนื้อหาหรือแนวทางในการปฏิบัติตามกิจกรรมกลุมที่ไดมอบหมายไว เพื่อใหกิจกรรมกลุมดำเนินไป ตามเปาหมายที่ตองเอาไวอยางถูกตองและเหมาะสม ขั้นที่สี่ คือ ขั้นการใชสื่อในการสอนเปนขั้นตอนในการนำเสนอประกอบการเรียน การสอนเพื่อใหผูเรียนไดเกิดการเรียนอยางสูงสุด ขั้นที่หา คอืขั้นปฏิสัมพันธภายในกลมเปุ นขั้นตอนที่ผูเรียนตองแบงหนาที่รับผิดชอบ รวมทั้งใหผูเรียนไดเกิดการปฏิสัมพันธกันภายในกลุมที่รับผิดชอบ ขั้นที่หก คือ ขั้นนำเสนอและสรุปงานกลุมที่ไดรับมอบหมายเปนขั้นตอนที่มอบหมาย ใหผูเรียนสรุปผลงานภายในกลุมดวยการนำเสนอผลงาน Trowbridge & Bybee (1990) ไดเสนอแนะแนวการสอนดวยวิธีการเรียนรูแบบกิจกรรม กลุมสามารถสรุปไดดังนี้ ขั้นที่ 1 คือ ขั้นกำหนดวัตถุประสงคเปนขั้นตอนที่เสนอรายละเอียดเกี่ยวกับ วัตถุประสงคใหชัดเจนและเฉพาะเจาะจง ซึ่งประกอบดวยวัตถุประสงคเชิงเนื้อหาวิชาการและ วัตถุประสงคเกี่ยวกับทักษะความรวมมือ ขั้นที่ 2 คือ ขั้นการวางแผนการสอนซึ่งจะแบงออกเปน 2 ขั้นตอน ดังตอไปนี้


32 1.การกำหนดขนาดของกลุม ควรพิจารณาระยะเวลาที่สอนจำนวนเอกสารบทเรียน เครื่องมือและอุปกรณที่มีเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกขนาดของกลุม 2. การกำหนดผูเรียนที่อยูในแตละกลุมโดยทั่วไปควรใหกลุมมีสมาชิกที่มีความ หลากหลาย (Heterogeneous Group) โดยอาจเลือกจากการสุม อยางไรก็ตามอาจกำหนดใหสมาชิก ของกลุมมีลักษณะเหมือนกันหรือใหผูเรียนเลือกเขากลุมเองได 3. การจัดหองเรียนขึ้นอยูกับเครื่องมือและอุปกรณที่มีเพื่อใหเกิดการรวมมือได ดีที่สุดสมาชิกควรนั่งเปนวงหันหนาเขาหากันและนั่งใกลกันเพียงพอที่จะสื่อสารกันไดดีโดยที่แตละ กลุมอยูหางกันมากพอที่ผูสอนจะสามารถเขาไปดูแลแนะนำแตละกลุมได 4. การกำหนดสื่อการสอนที่สงเสริมการพึ่งพากันระหวางสมาชิกภายในกลุม ในระยะแรกควรใชสื่อการสอนที่ผูเรียนตองพึ่งพากัน เชน ใหผูเรียนใชวัสดุอุปกรณรวมกันโดยที่ผูสอน แจกอุปกรณใหแตละกลุมเพียง 1 ชุดเปนการบังคับใหผูเรียนแบงกันใชวัสดุอุปกรณในการทำงานที่ ไดรับมอบหมายหรือการใหผูเรียนใชวัสดุอุปกรณรวมกันโดยใหสมาชิกแตละคนมีวัสดุอุปกรณที่ไม เหมือนกันแตลวนมีประโยชนตอการทำงานของกลุม 5. การกำหนดบทบาทของสมาชิกในแตละกลุม เพื่อชวยใหผูเรียนพึ่งพากันโดย ผูสอนอาจกำหนดบทบาทของแตละกลุมใหมีผูสรุป ผูแจกวัสดุอุปกรณ ผูเก็บวัสดุอุปกรณและอื่นๆ เพื่อชวยสงเสริมความรวมมือระหวางผูเรียน ขั้นที่ 3 คือ ขั้นการอธิบายและชี้แจงแกผูเรียนโดยแบงขั้นตอนในการอธิบายและ ชี้แจงดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. ควรอธิบายเกี่ยวกับงานที่มอบหมายใหผูเรียนเขาใจ เชื่อมโยงประสบการณ เดิมและมโนคติของบทเรียนเขาดวยกัน ใหคำจำกัดความมโนคติ ที่เกี่ยวของอธิบายวิธีการดำเนินงาน และขอควรระวังในการทำงาน และควรตรวจสอบความเขาใจของผูเรียนกอน ใหผูเรียนเริ่มตนทำงาน 2. ควรอธิบายเปาหมายของการทำงานรวมกันใหผูเรียนเขาใจ วาจำเปนตอง รับผิดชอบในการทำงาน และเรียนรูจากสื่อการสอนรวมกับสมาชิกทุกคนในกลุม 3. ควรอธิบายถึงความรับผิดชอบของแตละคนวาจะตองเรียนรูเปนรายบุคคล 4. ควรอธิบายความรวมมือระหวางกลุม ในบางกรณีจะตองขยายขอบเขต แนวคิดเกี่ยวกับความรวมมือไปถึงระดับชั้นเรียนดวย ซึ่งจะตองกำหนดวิธีการและเกณฑใหชัดเจน 5. ควรอธิบายเกณฑในการประเมินผล แจงใหผูเรียนทราบวางานชิ้นใดบาง ที่ ผูสอนจะประเมิน 6. ควรชี้แจงและแนะแนวทางเกี่ยวกับพฤติกรรมการรวมมือใหชัดเจน ผูเรียน อาจไมเขาใจวา อะไรคือการทำงานแบบรวมมือ ผูสอนตองยกตัวอยางพฤดิกรรมที่ผูสอนคาดหวังให


33 ผูเรียนแสดงออก เชน อยูประจำกลุม พูดเสียงเบาๆ รับฟงความคดิเห็นของเพื่อนสมาชิกแตละคนตอง อธิบายวิธีการไดมาซึ่งคำตอบของคำถาม วิจารณความคิดเห็น แตอยาวิจารณดวยบุคคล เปนตน ขั้นที่ 4 คือขั้นการติดตามดูผูเรียน โดยแบงขั้นตอนในการอธิบาย ดังนี้ 1. คอยดูแลผูเรียนขณะปฏิบัติงานสังเกตการณแตละกลุมและเขาไปชวยแกไข ปญหาที่เกิดขึ้น 2. ใหความชวยเหลือเกี่ยวกับงานที่มอบหมายใหผูเรียนทำ ในกรณีที่เกิดการ ติดขัดผูสอน อาจตองชี้แจงเกี่ยวกับงานที่มอบหมายอีกครั้ง บางครั้งผูสอนอาจตองปรับปรุงสื่อการ สอนเปนตน แบบหรือทำตัวอยางใหผูเรียนบางครั้งผูสอนตองตอบคำถามและนำอภิปรายอีกดวย 3. สอนทักษะการรวมมือ ในกรณีที่ผูเรียนยังไมรูจักการทำงานแบบรวมมือมาก พอผูสอนอาจตองเขาไปในกลุมและชวยชี้แนะบทบาทใหผูเรียนทำ 4. ดำเนินการสรุปบทเรียนในตอนทายของบทเรียนผูสอนอาจตองเขาไปนำสรุป ในสิ่งที่ผูเรียนนำเสนอ ทบทวน มโนมติและทักษะตางๆและใหแรงเสริมในการทำงาน ขั้นที่ 5 คือการประเมินผล 5.1 ประเมินปริมาณและคุณภาพของการเรียนรู ประเมินรายงาน 5.2. ใหผูเรียนประเมินกระบวนการทำงานของกลุมวาดำเนินไปดีเพียงใดเพื่อหา แนวทางในการปรับปรุงการทำงานในคราวตอไป ประนอม สุรัสวดี (2539) เสนอขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการสอนแบบกิจกรรมกลุม ไวดัง รายละเอียดตอไปนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นแนะนำ (Introduction) เปนการเตรียมการกอนการเรียนการสอน มี ขั้นตอน โดยผูสอนเปนผูอธิบายใหผูเรียนทราบถึงจุดประสงค และวิธีการในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ดำเนินการแบงกลุม มอบหมายชี้แจงและกำหนดบทบาทสมาชิกภายในกลุม ดำเนินการ นำเขาสูบทเรียน เพื่อเปนการกระตุนความสนใจและชักนำนักเรียนเขาสูกระบวนการเรียนรู ขั้นที่ 2 ขั้นทำงานกลุม (Group Work) เปนการดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เนนการทำงานแบบกลุมรวมมือที่สมาชิกแตละคนมีหนาที่ความรับผิดชอบ มีปฏิสัมพันธที่ดี ชวยเหลือยอมรับซึ่งกัน มีเปาหมายรวมกันชื่นชมและยอมรับกับความสำเร็จของกลุมรวมกัน ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป (Wrap UP) เปนการทบทวนและสรุปในสิ่งที่ไดเรียนรู ไมวาจะเปน ความรูในเนื้อหาหรือทักษะทางภาษาที่ไดฝกฝนโดยการใหนักเรียนตอบคำถามทำแบบฝกหัดทั้งนี้ ขึ้นอยูกับเนื้อหาที่ไดเรียนรูและกิจกรรมที่ปฏิบัติจากการศึกษาขั้นตอนการสอนตามรูปแบบกิจกรรม กลุมของผูเชี่ยวชาญหลายทาน พบวา รูปแบบและขั้นตอนในการสอน มีความคลายคลึงกันโดยเริ่ม จากขั้นแนะนำกิจกรรมการเรียนการสอน ดำเนินการเขาสูบทเรียน ตอจากนั้นดำเนินกิจกรรมการ


34 เรียนการสอน โดยเนนกิจกรรมแบบกลุมและขั้นสุดทายสรุปทบทวนในสิ่งที่ไดเรียนกระตุนใหผูเรียน ตอบคำถามหรือเกี่ยวกับกิจกรรมที่ปฏิบัติ ดังนั้นผูวิจัยจึงไดนำขั้นตอนการสอนตามรูปแบบกิจกรรมกลุมของ (Slavin, 1995) มา ประยุกตใช เนื่องจากเปนขั้นตอนการสอนที่มีความสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรูทางภาษา ธรรมชาติทางภาษาและสภาพแวดลอมดางๆ ซึ่งเหมาะสมตอการจัดการเรียนของเรียนเปนอยางยิ่ง 3.4 ขนาดของกลุม ขนาดของกลุม คือ จำนวนสมาชิกในการจัดกิจกรรมกลุมไดมีผูใหความคิดเห็นเกี่ยวกับ จำนวนสมาชิกในกลุมไว ดังนี้ Ottaway (1966) กลาววากลุมควรมีขนาดเล็ก เพราะจะชวยใหสมาชิกมีโอกาสแสดงอยาง อิสระไดอยางทั่วถึงกัน โดยสมาธิกไมตองใชเสียงดังมากนัก ทุกคนในกลุมก็จะไดยินอยางทั่วถึงกัน ดังนั้นกลุมควรมีขนาดอยางมากที่สุด 12 คน หรือถามากกวานั้นไมเกิน 15 คน สวนขนาดของกลุมที่มี ความเหมาะสมที่สุดนั้น ควรมีสมาชิก 4 - 6 คน จึงจะทำใหการทำงานบังเกิดผลที่ดีที่สุด Shaw (1981) ไดกลาวถึงขนาดของกลุมวา กลุมยอยควรมีสมาชิก10คน เปนอยางมากแตถา มีสมาชิกจำนวน 30 คนขึ้นไป จะจัดเปนกลุมใหญและถึงแมวากลุมจะมีสมาชิกจำนวน 30 คน ก็อาจ เปนกลุมยอยได จำนวนสมาชิกไมไดเปนปญหาสำคัญแตองคประกอบอื่นๆซึ่งไดแก ความสำคัญของ สมาชิกและความรวมมือในการทำงานของสมาชิกจะมีความสำคัญตอการทำงานกลุมมากกวา ทิศนา แขมมณี (2545) กลาววาขนาดของกลุมจะมีเทาใดนั้นขึ้นอยูกับลักษณะและ จุดประสงคของกิจกรรมกลุม ขนาดเล็กมักจะประกอบดวยสมาชิก 2 - 5 คน ขนาดใหญประมาณ 10 - 20 คน แตขนาดที่นิยมคอื 4 -8 คน คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2546) กลาววา ขนาดของกลุมในการจัดกิจกรรมนั้นไมควรเกิน 15 คน เพราะในกลุมที่มีสมาชิกมากเกินความจำเปน สมาชิกจะตองทำงานซ้ำชอนกัน บางคนอาจจะ รับผิดชอบทั้งหมดในขณะที่คนอื่นๆ รูสึกคับของใจที่มีงานทำในกลุมไมมีโอกาสที่จะใชทักษะที่ตนเองมี อยูแตทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับสถานการณ กาญจนา ไชยพันธ (2549) กลาววา จำนวนสมาชิกของกลุมที่จะจัดเกี่ยวกับการชวยในการ ทำงานหรือการเรียนการสอนที่เหมาะสมคือ 4 - 6 คน โดยครูควรเลือกใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชา และกิจกรรมโดยเฉพาะกลุมเล็กที่สมาชิกไมเกิน 10 คน จะชวยใหเกิดการเคลื่อนไหวไดงาย ถาสมาชิก มากเกินไป อาจมีผลตอการแสดงความคิดเห็นและความตองการไดไมทั่วถึงรวมถึงสมาชิกไมเกิดความ สนใจและอาจออกไปจากกลุมจากเอกสาร ดังกลาว สรุปไดวาขนาดของกลุมนั้นไมมีการกำหนดสมาชิกที่ตายตัวแตควรมีจำนวนไมควรเกิน 10 คนตอหนึ่งกลุม กลุมที่ทำกิจกรรมนั้นควรมีขนาดไมใหญหรือเล็กจนเกินไปและขนาดของกลุมที่นิยม


35 คือ 4 - 6 คนจะชวยใหเกิดการเคลื่อนไหวไดงาย ถาสมาชิกมากเกินไปอาจมีผลตอการแสดงความ คิดเห็นและความตองการไดไมทั่วถึง 3.5 กิจกรรมที่ใชในกิจกรรมกลุม ในการศึกษากิจกรรมที่ใชในกิจกรรมกลุมไดมีผูกลาวถึงเทคนิคที่ใชในการจัดกิจกรรมกลุม ดังนี้ ทิศนา แขมมณี (2545) ไดกลาวถึงเทคนิคการจัดกิจกรรมกลุมซึ่งมีอยูหลายวิธี 1. เกม (Game) กิจกรรมดังกลาวเปนการใหสมาชิกเขาไปรวมในสถานการณที่ผูเลน ยินยอมตกลงกันที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง เพื่อใหไดตามวัตถุประสงคที่ตองการ มักจะมี ผลในรูปแบบของการแพหรือชนะ การเลนเกม จะชวยใหสมาชิกไดเรียนรูยุทธวิธีตางๆที่จะเอาชนะ อุปสรรคในสถานการณตางๆและไดฝกฝนเทคนิคและทักษะที่ตองการ รวมถึงชวยใหเกิดความ สนุกสนาน 2. บทบาทสมมติ (Role-Play) การใชกิจกรรมบทบาทสมมติ เปนกิจกรรมสงเสริมให นักเรียนไดมีโอกาสแสดงออก เกิดความรูสึกความนึกคิดในการแสดงบทบาทของผูอื่นที่ไมใชตนเอง โดยใชตัวละครที่สมมุติขึ้นจากสถานการณใดสถานการณหนึ่งที่ใกลเคียงกับความเปนจริงมาเปน เครื่องมือในการจัดกิจกรรม โดยใหนักเรียนแสดงบทบาทนั้นๆ การแสดงบทบาทสมมติจะทำใหเกิด ความรู ความเขาใจ ความสามารถในการแสดงความรูสึกนึกคิดออกมา วิธีกานี้ชวยใหมีโอกาสศึกษา วิเคราะหถึงความรูสึกและพฤติกรรมของตนเองและผูอื่นไดอยางลึกซึ้ง 3. สถานการณจำลอง (Simulation) เปนการใชสถานการณที่จำลองขึ้น ใหเหมือนจริง หรือใกลัเคียงกับความเปนจริง มาเปนเครื่องมือโดยใหเขาไปอยูในสถานการณเละมีปฏิสัมพันธกับสิ่ง ตางๆในสถานการณที่จำลองขึ้น ทำใหไดทดลองแสดงพฤติกรรมตางๆ ที่ในชีวิตจริงอาจไมกลา แสดงออกการใชสถานการณจำลอง จะชวยใหเกิดความเขาใจลึกซึ้งในองคประกอบที่ซับซอนของ ความเปนจริง 4. กรณีตัวอยาง (Case) เปนการสอนที่สรางขึ้นงายๆ มีสาระนาสนใจ ใหขอคิดเห็นที่ เปนประโยชนตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในการพัฒนาคุณลักษณะทางจริยธรรม โดยครู สามารถใชกรณีตัวอยาง หรือเรื่องราวตางๆที่เกิดขึ้นมาดัดแปลงและใชเปนสื่อ เพื่อใหเกิดการเรียนรู ในลักษณะที่ใกลเคียงกับความเปนจริง โดยการเชื่อมโยงกับสิ่งตางๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันที่ นาสนใจ ชวนติดตามมาปรับปรุงใหเปนตัวอยางแกนักเรียนอยางมีกระบวนการและขั้นตอนที่ เหมาะสม ทำใหนักเรียนเกิดการวิเคราะห แยกแยะและตัดสินใจอยางมีกระบวนการเกิดการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ ความรูสึก เจดคติตอตนเองและตอผูอื่นอีกทั้งไดพัฒนาความ เปนผูนำ การทำงานเปนกลุม การอภิปรายกลุมยอยและมติของกลุม 5. อภิปรายกลุมยอย (Small Group) เปนการใชกลุมยอยเพื่อชวยเปดโอกาสใหสมาชิก ไดมีสวนรวม ในกิจกรรมอยางทั่วถึง รวมทั้งใหสมาชิกเรียนรูจากกันและกันคือไดเรียนรูจากความรูสึก


36 พฤติกรรมการปรับตัว การมีปฏิสัมพันธ การเรียนรูบทบาทหนาที่ การแกปญหาและการตัดสินใจ รวมกัน การใชเทคนิคกลุมยอยมีหลายวิธีดวยกัน แลวแตผูจัดจะคิดคนขึ้นแตที่นิยมใชจะเปนกลุม ระดมสมอง 6. ละคร (Acting or Dramatization) เปนวิธีการที่ใหผูเรียนรูไดทดลองแสดงบทบาท ตามที่เรียนหรือกำหนดไวโดยผูเรียนจะตองพยายามแสดงไดสมบทบาทตามที่กำหนดไว โดยไมนำเอา บุคลิกภาพและความรูสึกนึกคิดของตนเองไปเกี่ยวของวิธีการนี้จะชวยใหผูเรียนมีประสบการณในการ ที่จะเขาถึงความรูสึกเหตุผลหรือพฤติกรรมของผูอื่น ทำใหเกิดความเห็นอกเห็นใจกัน นอกจากนี้ ผูเรียนไดมีโอกาสแสดงละครรวมกัน จะชวยฝกใหผูเรียนเกิดความรับผิดชอบในการเรียนรูรวมกันและ ไดฝกการทำงานรวมกัน สรุปไดวา เทคนิคและวิธีการที่ใชในการจัดกิจกรรมกลุมมีหลากหลาย วิธีที่จะใชในการ จัด เชน เกม บทบาทสมมติสถานการณจำลอง กรณีตัวอยาง กลุมยอยและละคร ซ่ึงแตละวิธีการมี การดำเนินการเฉพาะแบบของแตละวิธี ดังนั้นในการเลือกใชเทคนิคแตละแบบหรือวิธีการอยางใด อยางหนึ่งตองคำนึงถึงหลักการของแตละแบบตามสถานการณที่เกิดขึ้น ความเหมาะสมในทุกดาน รวมทั้งคำนึงถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของกิจกรรมกลุม ในแตละครั้งดวย 3.6 ประโยชนของการใชกิจกรรมกลุม ในการศึกษาประโยชนของการใชกิจกรรมกลุม ไดมีผูกลาวถึงระโยชนของการใช ดังนี้ Rogers (1970) ไดกลาวถึงประโยชนของกิจกรรมกลุม ดังนี้ 1. ทำใหเกิดแนวทางในการสรางแรงจูงใจ เชนการเขาใจตนเอง 2. ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานความรูสึก 3. ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานทัศคติตอตนเองและผูอื่นหมายความวา การ ยอมรับตนเองพัฒนาในเรื่องคณุคาของตนเองเขาใจตนเองและมีความมั่นคงยิ่งขึ้น ลดการสั่งสอนและ ควบคุมผูอื่นมีสวนรวมในกิจกรรมมากขึ้น มีความรูสึกพึ่งพาซึ่งกันและกันเชื่อในความสามารถของ บุคคล มีการแกปญหาในการทำงานภายในกลุมและเปนสมาชิกที่ดีของกลุม 4.เกิดการตระหนักถึงความรูสึกของตนเองและผูอื่นมากขึ้น ตลอดจนเปดเผย ความรูสึกมีความจริงใจและเปนไปอยางธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงทางความสามารถในการควบคุม ความรูสึกตางๆของตนเอง มีการแสดงออกที่ตรงกับความรูสึกของคน บุหงา วชิระศักดิ์มงคล (2535) กลาวถึง ประโยชนของการใชกิจกรรมกลุมวา หลังการ เขารวมกิจกรรมกลุมประเภทตางๆแลว นอกจากจะทำใหไดผลงานตามจุดมุงหมายของกลุม ยังมีผล ทำใหบุคคลที่เปนสมาชิกของกลุม มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นและมีประโยชนตอผูใหบริการแนะแนวใน โรงเรียนและชุมชนอีกดวย


37 1.ประโยชนตอสมาชิกกลุมการเขารวมกิจกรรมกลุม จะมีผลใหนักเรียนไดรับการ ตอบสนองความตองการทางสังคม เปนการกอใหเกิดการพัฒนาในดานตางๆ กอใหเกิดการพัฒนา ทางดานสติปญญา พัฒนาการทางดานเจดคติ มีการเปลี่ยนแปลงตอตนเองและผูอื่น เปนไปในทางที่ สรางสรรคขึ้น และพัฒนาการทางดานทักษะ ไดแก ทักษะทางสังคม ทักษะในการศึกษาคนควา ทักษะทางปญญาและทักษะในการทำงานกลุม 2.ประโยชนตอผูแนะแนวหรือผูนำกลุม ในฐานะผูใหบริการแนะแนว ซึ่งตองจัดบริการ ใหกับนักเรียน เพื่อสงเสริมแลวพัฒนาเพื่อปองกันปญหา แกไขปญหาใหกับผูเรียน เพื่อจะใหบริการ นักเรียนเปนกลุม ใหบรรลุวัตถุประสงคตามจุดมุงหมาย สรุปไดวา ประโยชนของการใชกิจกรรมกลุมนั้น จะชวยใหสมาชิกในกลุมมีการพัฒนาตนเอง ในการอยูรวมกันในสังคมและตัวของสมาชิกเอง ทำใหเกิดความรับผิดชอบมีเหตุผลรวมไปถึงการ พัฒนาทางดานความคิด เจตคติ คานิยม และพฤติกรรม สามารถที่จะเผชิญกับสถานการณตางๆและ เรียนรูที่จะแกไขไดอยางถูกตอง ทำใหมีประสบการณในการดำรงชีวิตไดอยางถูกตองและอิสระ 4.ทักษะการพูด การพูดเปนการติดตอสื่อสารระหวางมนุษยดวยการใชเสียงภาษาและทาทาง เพื่อถายทอด ความรูสึก ความคิดและเขาใจจากผูพูดไปสูผูฟง เปนกระบวนการที่ไมไดดำเนินไปตามระเบียบแบบ แผนที่กำหนดไวหรือ อาจกลาวไดวา การพูดเปนกระบวนการใสความหมายเกิดขึ้นควบคูกับการฟง ซึ่งเปนกระบวนการแปลความหมาย สุภัทรา อักษรานุเคราะห (2532) การพูดเปนทักษะที่สำคัญในการสื่อสารและเปนทักษะ พื้นฐานของการเรียนรูทักษะอื่น เชนเดียวกับการฟง เปนการกลาวออกเสียงเปนถอยคำ วลี หรือ ประโยค รวมถึงการใชกิริยาทาทางเพื่อถายทอดความคิด ความเขาใจ ความรูสึกและความตองการ ของผูพูดใหผูฟงไดรับรูและเกิดการตอบสนอง สุมิตรา อังวัฒนกูล (2540) โดยในการพูดนั้น ผูพูดจะตองเขาใจในสิ่งที่ตนเองพูด และรูจัก เลือกใชถอยคำสำนวนภาษาที่ถูกตอง และเปนที่ยอมรับของเจาของภาษาดวย การพูดเพื่อการสื่อสาร เปนกระบวนการสองทิศทาง และเกี่ยวของกับการฟงโดยตรง โดยผูพูดเปนผูสงขอมูลใหกับผูฟงซึ่ง ตองตีความและทำความเขาใจขอมูลและตอบสนอง มีการแลกเปลี่ยนบทบาทกันเปนผูพูดและผูฟง อยางตอเนื่อง ผูพูดจะตองมีความสามารถในการใชภาษาเพื่อทำใหผูฟงเขาใจได สรุปไดวาการพูดเปนการติดตอสื่อสารระหวางมนุษยดวยการใชเสียงภาษาและทาทางเพื่อ ถายทอดความรูสึก ความคิดและเขาใจ กริยาทาทาง น้ำเสียงจากผูพูดไปสูผูฟงเปนกระบวนการที่ ไมไดดำเนินไปตามระเบียบแบบแผนที่กำหนดไวซึ่งตองผูฟงตองตีความและทำความเขาใจขอมูลและ ตอบสนอง มีการแลกเปลี่ยนโดยผูพูดจะตองใชภาษาเพื่อทำใหผูฟงเขาใจได


38 5.วิธีการสอนทักษะการพูด ทักษะการพูดเปนทักษะดานการแสดงออก (Productive Skill) ซึ่งนอกจากผูพูดจะตองมี ความรูเกี่ยวกับภาษาและสิ่งที่พูดแลว ผูพูดยังจำเปนตองไดรับการฝกเพื่อใหพูดสื่อสารไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการฝกพูดภาษาตางประเทศดวยแลว จำเปนตองใชระยะเวลาในการฝกตอง อาศัยแรงจูงใจและความถนัดของผูเรียน รวมทั้งสภาพการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับผูเรียนดวย การสอนพูดที่ดีตองใชภาษาที่พบจริงในชีวิตประจำวัน และขั้นตอนการฝกพูดเบื้องตนนั้นควรมุงเนน เกี่ยวกับความถูกตองของการใชภาษา (Accuracy) โดยสามารถแบงระดับการฝกทักษะการพูด ออกเปน 2 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับเตรียมตัว เปนการสอนใหพูดเลียนแบบตัวอยาง เชน การเลียนแบบประโยคที่ ถูกตองจากผูสอน หรือเครื่องเลนเทป เสียง และการทองจำประโยคพื้นฐานตางๆ ในระดับนี้ผูเรียน จะตองฟงและฝกออกเสียงตางๆ จนเกิดความคุนเคย (บำรุง โตรัตน, 2524) 2. ระดับการแสดงออก เปนระดับที่ผูเรียนสามารถพูดแสดงความตั้งใจของตนเองออกไป ใหสอดคลองกับสถานการณตางๆได หลังจากที่สามารถจำประโยคไดพอสมควรบทเรียน มักจะเปน บทสนทนาหรือการเลาเรื่อง โดยแบงการสอนออกเปนขั้นตอนตางๆ ตามลำดับความงายไปหายาก กรมวิชาการ (2542) นอกจากนั้น วิไลพร ธนสุวรรณ (2530) ไดใหหลักการทั่วไปเกี่ยวกับการ สอนพูดไวดังนี้ 1. การพูดควรเริ่มจากการฝกบทสนทนาสั้นๆ และประโยคแบบตางๆ 2. หลังจากการสอนบทสนทนา ผูสอนควรโยงเรื่องในบทสนทนาใหสัมพันธกับ สถานการณจริง เชน บทสนทนาเกี่ยวกับเรื่องอาชีพของผูปกครอง 3. กระตุนใหผูเรียนฝกพูดและใชภาษาใหมากที่สุดเทาที่จะมากได สรางความรูสึกที่ดีแก ผูเรียนโดยการใหกำลังใจ ไมใหผูเรียนรูสึกกลัววาจะพูดผิดหรืออายที่จะพูด 4. แกไขขอผิดพลาดในการออกเสียงหรือผิดหลักไวยากรณเฉพาะ ในระหวางการฝก เทานั้น เมื่อถึงขั้นพูดโดยเสรีแลว ควรใหสามารถสื่อสารใหเขาใจเทานั้น 5. เลือกใชเอกสารหรือวัสดุประกอบการสอนใหเหมาะสมกับระดับความสามารถของ ผูเรียน ทั้งนี้การสอนพูดควรเริ่มจากงายไปหายาก จากนั้นเปนการฝกใหเลาเรื่องโดยกำหนดหรือจัดให มีสถานการณขึ้นแลว ใหผูเรียนเลาเรื่อง อาจเปนการเลาคนเดียวหรือผลัด การเลาคนละประโยคก็ได โดยจุดมุงหมายปลายทางของการสอนพูด คือใหผูเรียนสามารถพูดไดอยางถูกตองและคลองแคลว เชนเดียวกับเจาของภาษา สรุปไดวาวิธีการสอนทักษะการพูดคือ การฝกเพื่อใหพูดสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพโดย การสอนพูดที่ดีตองใชภาษาที่พบจริงในชีวิตประจำวันและขั้นตอนการฝกพูดเบื้องตนนั้นควรมุงเนน


39 เกี่ยวกับความถูกตองของการใชภาษา โดยจะเริ่มจากบทสนทนาสั้นๆไปจนถึงการฝกพูดจากความ ตั้งใจโดยจะตองคำนึงถึงความถูกตองไวยากรณเปนหลัก 6.รูปแบบของกิจกรรมการฝกทักษะการพูดภาษาจีน แสงระวี ดอนแกวบัว (2558) ไดกลาวถึง กิจกรรมการฝกทักษะการพูด 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. การฝกพูดระดับกลไก (Mechanical Drills) เปนการฝกตามตัวแบบที่กำหนดใหใน หลายลักษณะ เชน - พูดเปลี่ยนคำศัพทในประโยค (Multiple Substitution Drill) 我想吃汉堡 包 。 Wǒ xiǎng chī hàn bǎo bāo ฉันอยากกิน แฮมเบอรเกอร - พูดตั้งคำถามจากสถานการณ ในประโยคบอกเลา (Transformation Drill) เชน 我爱你。 你爱我吗? Wǒ ài nǐ nǐ ài wǒ ma ฉันรักเธอ เธอรักฉันไหม 我去学校。 你去哪儿? Wǒ qù xuéxiào nǐ qù nǎr ฉันไป โรงเรียน เธอไปที่ไหน – พูดถามตอบตามรูปแบบของประโยคที่กำหนดให (Yes/No QuestionAnswer Drill) เช น A: 你是不是学生? B:是,我是学生。 Nǐ shì bú shì xuésheng? shì , wǒ shì xué sheng เธอเปนนักเรียนใชไหม? ใช ฉันเปนนักเรียน A: 这是不是你的书? B:不是,那不是我的书。 zhè shì bú shì nǐ de shū? búshì , nà bú shì wǒ de shū นี่คือ หนังสือของเธอใชไหม? ไมใช นั่นไมใชหนังสือของฉัน - พูดสรางประโยคตอเติมจากประโยคที่ กำหนดให (Sentence Building) เชน 我叫东东。我是泰国人,我今年十岁,我是学生 Wǒjiàodōngdong, wǒshìtàiguórén, wǒjīnniánshísuì wǒshìxuésheng ฉันชื่อตงตง ฉันเปน คนไทย ปนี้ฉันอายุ 10 ป ฉันเปนนักเรียน - พูดคำศัพท สำนวนในประโยคที่ถูกลบไปทีละสวน (Rub out and Remember) เชน 笨______先 飞。 bèn niǎo xiān fēi นกไมเกงตองบินกอน อุปมา วา คนไมเกงตองลงมือกอนคนอื่น 种 瓜 得______,种 豆 得______。 Zhòng guā dé guā, zhòng dòu dé dòu ปลูกแตงไดแตง ปลูกถั่วไดถั่ว อุปมาวา ทำเชนไรก็ไดผลเชนนั้น - พูดเรียง ประโยคจากบทสนทนา (Ordering dialogues) เชน A: 你 想 喝 什么? B: Nǐ xiǎng hē shénme เธออยากดื่มอะไร - พูดทายเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในบทสนทนา (Predicting dialogue) - พูดตอเติมสวนที่หายไปจากประโยค ( Completing Sentences ) - พูดใหเพื่อนเขียนตามคำบอก (Split Dictation) 2. การฝกพูดอยางมีความหมาย ( Meaningful Drills) เปนการฝกตามตัวแบบที่เนน ความหมายมากขึ้นมีหลายลักษณะ เชน - พูดสรางประโยคเปรียบเทียบโดยใชรูปภาพ - พูดสราง ประโยคจากภาพที่กำหนดให - พูดเกี่ยวกับสถานการณตางๆในหองเรียน สรุปไดวารูปแบบของกิจกรรมการฝกทักษะการพูดภาษาจีน คือการฝกตามตัวแบบที่ กำหนดใหในหลายลักษณะและเปนการฝกตามตัวแบบที่เนนความหมายมากขึ้น 6.1การฝกพูดภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (Communicative Drills) เปนการฝกเพื่อมุงเนน การสื่อสาร เปดโอกาสใหผูเรียนสรางคำตอบตามจินตนาการ เชน - พูดประโยคตามสถานการณที่


40 เกิดขึ้นจริง ( Situation ) - พูดตามสถานการณที่กำหนดให ( Imaginary Situation ) – พูดบรรยาย ภาพหรือสถานการณ แลวใหเพื่อนวาดภาพตามที่พูด ( Describe and Draw) การพัฒนาทักษะการ พูด ในการสงเสริมใหผูเรียนมีพัฒนาการที่ดีเกี่ยวกับทักษะการพูด มีสิ่งสำคัญอยางยิ่งประการหนึ่ง คือ ผูสอนจะตองพยายามสรางบรรยากาศการเรียนการสอนที่เอื้ออำนวยใหผูเรียนไดมีโอกาสใชภาษามาก ที่สุดเทาที่จะทำได โดยมีวิธีการดังตอไปนี้ (กรมวิชาการ , 2542) 1. สรางความเคยชินในการพูดภาษาจีนใหกับนักเรียน 1.1 ทุกครั้งที่เขาชั้นเรียน ครูผูสอนควรเริ่มทักทายเปนภาษาจีนดวยรูปประโยคงายๆ เพื่อเปนการอุนเครื่องที่ดี เมื่อผูเรียนสามารถโตตอบดวยประโยคงายๆได จะมีกำลังใจทำใหกลา แสดงออก กลาพูดภาษาจีนโดยไมรูตัว A:同学们好。Tóngxuémen hǎo สวัสดีนักเรียนทุกคน B: 老师好。Lǎoshī hǎo สวัสดีครับ/คะ คุณครู 1.2 เมื่อออกคำสั่งใหผูเรียนทำอะไรก็ตาม ผูสอนควรเลือกใชคำสั่งภาษาจีนงายๆที่ เหมาะสมกับผูเรียนเพื่อชวยใหผูเรียนกลาพูดไดมากยิ่งขึ้น 跟老师读 gēn lǎoshī dú อานตามครู 大家一起读 dàjiā yìqǐ dú ทุกคนอานพรอมกัน 听懂了吗? Tīng dǒng le ma ฟงเขาใจไหม 1.3 ฝกใหผูเรียนใชคำ หรือ กลุมคำ หรือ ประโยคภาษาจีนที่จำเปน แสดงคำ หรือ กลุมคำ หรือ ประโยคภาษาจีน สรางความสนุกสนานเพลิดเพลิน ผูสอนควรเลือกรูปประโยคให เหมาะสมกับผูเรียน เลือกกิจกรรมการเรียนการสอนใหดึงดูดความสนใจของผูเรียน สรางความถูกตอง แมนยำ นอกจากการสรางความเคยชินและสรางความสนุกสนานแลว สิ่งที่ผูสอนมองขามไมไดก็คือ ความถูกตอง แมนยำ ผูสอน จะตองมีความรูความเขาใจในเรื่องไวยากรณ วิธีการออกเสียงและ สำเนียง มีความรู เรื่องคำศัพทและการนำภาษาจีนไปใชเปนอยางดี เพื่อเปนรูปแบบที่ดีใหแกผูเรียน สรางบรรยากาศ ผูสอนจะตองรูจักสรางบรรยากาศเพื่อกระตุนใหผูเรียนสนใจ มีการเคลื่อนไหว สนุกสนานเพื่อใหนักเรียนสนุกที่จะพูดภาษาจีนไมตองรอใหผูสอนบังคับ สรางความมั่นใจ ผูสอนตอง สรางความมั่นใจใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียน สรางความเปนกันเอง ใหคำชมเชยเมื่อผูเรียนพูดไดถูกตอง ผูสอนควรเลี่ยง บรรยากาศที่เครงเครียด เพื่อสรางเจตคติที่ดีของผูเรียนตอการพูดภาษาจีนแนวทางที่ จะชวยใหผูเรียนเกิดทักษะการพูดภาษาจีนนั้น ผูสอนจะตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถ ใหผูเรียนเกิดความเคยชินและมีโอกาสใชภาษาจีนในการพูดใหมากที่สุด เนนบรรยากาศการเรียนการ สอนที่สนุกสนานไมกอใหเกิดความเครียด และในขณะเดียวกันผูสอนจะตองชวยเหลือใหผูเรียนเกิด ความมั่นใจในการใชภาษาจีนดวย สรุปไดวา การฝกพูดภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร เปนการฝกเพื่อมุงเนนการสื่อสารเปดโอกาสให ผูเรียนสรางคำตอบตามจินตนาการในการสงเสริมใหผูเรียนมีพัฒนาการที่ดีเกี่ยวกับทักษะการพูด สำคัญอยางยิ่งโดยผูสอนเปนผูเอื้ออำนวยความสะดวกใหผูเรียนไดมีโอกาสใชภาษามากที่สุด


41 6.2 การประเมินผลทักษะการพูด การประเมินความสามารถดานการพูด เพื่อการสื่อสารนั้น คือการวัดความสามารถ โดยรวมของผูเรียนในการนำภาษาไปใชเพื่อการสื่อสาร เนนที่ความสามารถของผูเรียนที่จะสื่อสารใน สถานการณเฉพาะ การจะวัดความสามารถมิใชดูจากความถูกตองเกี่ยวกับภาษา แตควรวัด ความสามารถผูเรียนที่จะพูดหรือเขียนหรือเขาใจขอความได สามารถทำไดหลายวิธี เชน การ สัมภาษณ การเลาเรื่องหรือการแสดงบทบาทสมมติจากสถานการณตางๆที่กำหนดไว สอดคลองกับ อัจฉรา วงศโสธร (2544) กลาววา การวัดผลและประเมินผลทักษะการฟงและการพูดอาจวัด รวมกันไดในบางสถานการณ เชน การวัดความสามารถในการสนทนาโดยใชวิธีการวัดทางตรงคือ ให นักเรียนออกมาสนทนากัน โดยไมมีการเตรียมบทสนทนาใหเปนการลวงหนา ดังนั้นคสูนบทนาจะตอง ใชความสามารถในการฟงเปนพื้นฐานและใชความสามารถในการพูดเพื่อสนทนา สื่อความหมายจาก วิธีการตางๆเหลานี้ ครูผูสอนจะตองเปนผูเลือกการทดสอบที่เหมาะสมกับระดับความสามารถของ ผูเรียนและสอดคลองกับแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผูสอน กาญจนา ปราบพาล (2532) ไดสรุปแบบวัดความสามารถทางการพูดไว 3 ประการคือ การ พูดคุย การสัมภาษณ และการแสดงบทบาทสมมติ นอกจากนี้ผูสอนอาจใชขอสอบประเภทเขียนตอบ ซึ่งสามารถวัดทางดานทักษะสัมพันธไดดวย แบบสังเกตกิจกรรมในชั้นเรียน อาจจะสังเกตนักเรียนเปน รายบุคคล กลุมเล็ก หรือกลุมใหญ ไดโดยเนนวัตถุประสงคเชิงปฏิบัติ และมักใชกับหองเรียนที่มีขนาด เล็ก แบบสุดทายคือใหผูเรียนประเมินความสามารถของตนเอง ซึ่งการวัดผลดวยวิธีนี้เปนรูปแบบการ วัดผลที่ทำใหนักเรียนไมตื่นตกใจและไมเครียด เหมือนการวัดผลโดยการสอบ อยางไรก็ตามการให นักเรียนประเมินความสามารถของตนเอง ผูสอนควรระวังในเรื่องของความเชื่อถือไดของคำตอบ ดังนั้น ผูสอนไมควรใชขอมูลจากดานเดียวมาเปนเกณฑในการตัดสิน แตควรประเมินความสามารถ ของนักเรียนจากการสอบ การสังเกตและความเห็นของนักเรียนรวมกัน ซึ่งในการประเมินผลทักษะ การฟง พูดภาษาจีน ครูผูสอนสามารถทำการประเมินไดหลายวิธี ทั้งการพูดคุย การสัมภาษณ การ สังเกต การทำแบบทดสอบหรือการแสดงบทบาทสมมติฯลฯ แตหลักการสำคัญของการประเมิน คือ ผูสอนจะตองเลือกการประเมินใหเหมาะสมกับระดับความสามารถของผูเรียน สอดคลองกับ วัตถุประสงคการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีความหลากหลาย ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางใหผูเรียนมี สวนรวมในการทำกิจกรรมและประเมินตนเอง เพื่อใหผูเรียนรูถึงจุดบกพรองของตนเองเพื่อนำมา ปรับปรุงพัฒนา ตนเองใหดียิ่งขึ้น สรุปไดวา การประเมินผลทักษะการพูดคือ การวัดความสามารถโดยรวมของผูเรียนในการนำ ภาษาไปใชเพื่อการสื่อสาร เนนที่ความสามารถของผูเรียนที่จะสื่อสารในสถานการณเฉพาะ โดย จะตองเลือกการทดสอบที่เหมาะสมกับระดับความสามารถของผูเรียน และสอดคลองกับแนวทางการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผูสอน


Click to View FlipBook Version