The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kru Thanakritz, 2022-06-11 04:01:40

การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

ประวัติศาสตร์ไทย เล่ม 5

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง อาเซียนศึกษา
วิชาประวตั ิศาสตรไ์ ทย 2 (ส 21104) ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1

เล่มที่ 5
เร่ือง การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน

(ASEAN Community)

โดย
นายธนกฤต ปราบสุธา
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการ

โรงเรียนมธั ยมประชานิเวศน์ สานกั งานเขตจตุจกั ร
กรงุ เทพมหานคร

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

คำนำ

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาเซียนศึกษา วิชาประวตั ิศาสตร์ไทย 2 (ส 21105) ช้นั มธั ยมศกึ ษา
ปี ท่ี 1 เล่มน้ีได้จดั ทาข้ึนตามหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
โรงเรียนมธั ยมประชานิเวศน์ พุทธศักราช 2552 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2556) ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยมีเป้าหมายให้ครูและนักเรียนใช้เป็ นส่ือในการจดั การเรียนรู้
เพื่อให้นักเรียนไดม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ประวตั ิศาสตร์ของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้ หรือ อาเซียนมากข้ึน และส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัดที่
หลักสูตรกาหนด มุ่งพฒั นานักเรียนให้มีสมรรถนะตามที่ตอ้ งการท้งั ทางดา้ นการสื่อสารการคิดการแกป้ ัญหาการใช้
ทกั ษะชีวิต และการใชเ้ ทคโนโลยี ตลอดจนพฒั นานกั เรียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามทีไ่ ดก้ าหนดไว้

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาเซียนศึกษา วิชาประวตั ิศาสตร์ไทย 2 (ส 21105) ช้นั มธั ยมศึกษาปี
ท่ี 1 เล่มที่ 5 เรื่อง กำรพัฒนำสู่ประชำคมอำเซียน (ASEAN Community) จดั ทาข้ึนเพื่อใช้เป็ นสื่อประกอบ
การจดั การเรียนรู้ในวิชาประวตั ิศาสตร์ไทย 2 (ส 21105) ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1โดยมีจุดประสงค์เพ่ือให้นักเรียน
มคี วามรู้ความเขา้ ใจเร่ืองการรวมกลุม่ ประชาคมอาเซียน

ผจู้ ดั ทาขอขอบพระคณุ นางสดใส ศรีสวสั ด์ิ ผอู้ านวยการสถานศึกษาโรงเรียนมธั ยมประชานิเวศน์
ผู้เชี่ยวชาญ คณะครู ทุกท่านที่ให้คาแนะนาในการจัดทาบทเรียนสาเร็จรูป เร่ือง อาเซียนศึกษา
วชิ าประวตั ิศาสตร์ไทย 2 (ส 21105) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ตลอดจนนกั เรียนท่ีให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ
กิจกรรมจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผูจ้ ดั ทาหวงั เป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาเซียนศึกษา
วิชาประวัติศาสตร์ไทย 2 (ส 21105) ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1 น้ี จะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรี ยน
วิชาประวตั ิศาสตร์ไทย 2 ให้สูงข้ึน อีกท้ังนักเรียนยงั สามารถนาความรู้ไปใช้ในการศึกษาในระดบั ท่ีสูงข้ึน
ต่อไป

หากเกิดความผิดพลาดประการใดผจู้ ดั ทาขออภยั มา ณ โอกาสน้ี

ธนกฤต ปราบสุธา
ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

สำรบญั

ผงั สาระการเรียนรู้ ................................................................................................................................ หน้ำ
มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั ช้นั ปี ........................................................................................................
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ .......................................................................................................................... ก
คาแนะนาสาหรบั ผใู้ ชบ้ ทเรียน............................................................................................................. ข
แผนผงั แสดงข้นั ตอนการเรียนรู้เอกสารประกอบการเรียน ................................................................. ข
แบบทดสอบก่อนเรียน......................................................................................................................... ค
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน................................................................................................................. ง
กรอบนา .............................................................................................................................................. 1
กรอบท่ี 1 ............................................................................................................................................. 2
กรอบที่ 2 ............................................................................................................................................. 3
กรอบที่ 3 ............................................................................................................................................. 4
กรอบท่ี 4 ............................................................................................................................................. 6
กรอบท่ี 5 ............................................................................................................................................. 8
กรอบที่ 6 ............................................................................................................................................. 11
กรอบท่ี 7 ............................................................................................................................................. 13
กรอบท่ี 8 ............................................................................................................................................. 16
กรอบที่ 9 ............................................................................................................................................. 18
กรอบท่ี 10 ........................................................................................................................................... 20
กรอบท่ี 11............................................................................................................................................ 22
กรอบท่ี 12 ........................................................................................................................................... 25
กรอบท่ี 13 ........................................................................................................................................... 27
กรอบที่ 14 ........................................................................................................................................... 30
กรอบที่ 15 ........................................................................................................................................... 32
กรอบท่ี 16 ........................................................................................................................................... 34
กรอบท่ี 17............................................................................................................................................ 36
38
40

เล่มท่ี 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

กรอบที่ 18 ......................................................................................................................................... 42
กรอบท่ี 19 .......................................................................................................................................... 44
กรอบท่ี 20 ......................................................................................................................................... 47
กรอบที่ 21 ......................................................................................................................................... 49
กรอบท่ี 22 ......................................................................................................................................... 51
กรอบที่ 23 ......................................................................................................................................... 53
กรอบสรุป........................................................................................................................................... 55
แบบทดสอบหลงั เรียน....................................................................................................................... 56
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน ............................................................................................................... 57
บรรณานุกรม...................................................................................................................................... 58

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ก

ผังสำระกำรเรียนรู้

พฒั นาการการต้งั ถ่ินฐาน เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
ของประชากรในเอเชีย ยคุ สมยั ประวตั ศิ าสตร์
ตะวนั ออกเฉียงใต้

กำรพฒั นำ อำเซียนศึกษำ เอเชียตะวนั ออกเฉียง
สู่ประชำคมอำเซียน ใตส้ มยั การขยายอานาจ
ของชาตติ ะวนั ตก
(ASEAN Community)

เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
สมยั ลทั ธิชาตนิ ิยมและ
การตอ่ สู้เพ่อื เอกราช

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ข

มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตวั ชี้วัดช้ันปี

มำตรฐำนกำรเรียนรู้

มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาติ จากอดีตจนถึงปัจจุบนั ในดา้ น
ความสมั พนั ธ์และการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งต่อเนื่อง ตระหนกั ถงึ ความสาคญั และสามารถ
วิเคราะห์สรุปผลท่ีเกิดข้นึ

ตัวชี้วดั ช้ันปี

มฐ. ส 4.2 ม.1/1 อธิบายพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื งของประเทศต่างๆ
ในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

มฐ. ส 4.2 ม.1/2 ระบุความสาคญั ของแหลง่ อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้

1. มีความรู้ความเขา้ ใจเร่ืองการรวมกลุ่มประชาคมอาเซียน (K)
2. อธิบายการรวมกล่มุ ประชาคมอาเซียน (K, P)
3. มีทกั ษะการสืบคน้ ขอ้ มลู สรุปขอ้ มลู การเปรียบเทียบ และการรวบรวมขอ้ มลู (P)
4. สนใจศึกษาเรียนรู้เร่ืองการรวมกล่มุ ประชาคมอาเซียน(A)

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ค

คำแนะนำสำหรับผ้ใู ช้บทเรียน

โปรดอ่ำนให้เข้ำใจก่อนศึกษำบทเรียน

1. บทเรียนน้ีเป็นบทเรียนสาเร็จรูป มี 23 กรอบ
2. ใหศ้ ึกษาบทเรียนแต่ละกรอบตามลาดบั ให้เขา้ ใจ
3. กอ่ นศึกษาบทเรียน ให้ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ให้นกั เรียนทาลงไปในกระดาษขอ้ สอบ
4. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน และตรวจสอบเฉลยคาตอบดว้ ยความซ่ือสัตย์
5. ใหอ้ า่ นบทเรียนทลี ะกรอบ ตามลาดบั ใหบ้ นั ทึกสาระสาคญั
6. เมื่อนกั เรียนศกึ ษาความรู้ในแตล่ ะกรอบเรียบร้อยแลว้ ให้นกั เรียนตอบคาถามใตก้ รอบดว้ ยความ
ซ่ือสตั ยโ์ ดยไม่เปิ ดดูเฉลยคาตอบก่อน และตรวจสอบเฉลยคาตอบดว้ ยตนเองในหนา้ ถดั ไป
7. กรณีคาตอบทน่ี กั เรียนตอบผิด ให้กลบั ไปศึกษาเน้ือหาในกรอบเดิมอีกคร้ัง แลว้ ตอบคาตอบเดิม
ซ้าใหถ้ ูกตอ้ งกอ่ นศกึ ษากรอบต่อไป
8. ศึกษาครบทุกกรอบ และอา่ นกรอบสรุปความรู้ประจาเล่มท่ี 5
9. ทาแบบทดสอบหลงั เรียนดว้ ยความซื่อสัตยโ์ ดยไมเ่ ปิ ดดูเฉลยคาตอบกอ่ น ให้นกั เรียนทาลงไปใน
กระดาษขอ้ สอบ โดยไมเ่ ปิ ดกลบั ไปดเู น้ือหาในกรอบขณะทาแบบทดสอบ
10. ตรวจเฉลยคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน และแจง้ ผลการทดสอบใหค้ รูผสู้ อนทราบ
10. การทดสอบหลงั เรียน จะถอื เป็นเกณฑใ์ นการผ่านผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั นกั เรียนตอ้ งทา
คะแนนให้ไดร้ ้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม จึงจะเรียนเร่ืองถดั ไปได้
11. ถา้ นกั เรียนทาคะแนนไดไ้ มถ่ ึงร้อยละ 80 ของคะแนนเตม็ ตอ้ งเรียนซ่อมเสริมโดยศึกษา
บทเรียนอกี คร้งั แลว้ สอบใหมจ่ นกว่าจะทาคะแนนผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ง

แผนผงั แสดงข้ันตอนกำรเรียนรู้เอกสำรประกอบกำรเรียน

ศกึ ษาจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ของเอกสาร
อ่านคาแนะนาสาหรบั ผใู้ ชเ้ อกสาร

ทาแบบทดสอบก่อนเรียนและตรวจเฉลยคาตอบ
ศึกษาบทเรียนทีละกรอบ

ตอบคาถามใตก้ รอบและตรวจเฉลยคาตอบ

ตอบถกู ศึกษาบทเรียนใน ตอบผดิ
กรอบตอ่ ไป

กรอบสรุปเน้ือหา
ทาแบบทดสอบหลงั เรียนและตรวจเฉลยคาตอบ
ไม่ผ่าน ประเมนิ ผล

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 1

แบบทดสอบก่อนเรียน ได้คะแนน

คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนทาเครื่องหมาย / หลงั ขอ้ ท่ีถกู เขียนเครื่องหมาย X หลงั ขอ้ ความท่ผี ดิ

ใหน้ กั เรียนทาลงไปในกระดาษขอ้ สอบ

ข้อ ข้อควำม ตอบ
1 สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน

(Association of South East Asian Nations) ใชต้ วั อกั ษรยอ่ ใน
ภาษาองั กฤษอยา่ งเป็นทางการว่า “ASEAN”
2 5 ประเทศทร่ี ่วมกนั ก่อต้งั ASEAN ในวนั ท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ก็คือ
ประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ พมา่ และอินโดนีเซีย
3 Asean จะรวมตวั เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและมีผลจริง ๆ จงั ๆ
ณ วนั ที่ 1 มกราคม 2555
4 สญั ลกั ษณ์อาเซียน คอื ตน้ ขา้ วสีเหลือง 10 ตน้ มดั รวมกนั ไว้

5 อาเซียน + 3 โดยจะเพิม่ ประเทศ จีน เกาหลีใต้ และญป่ี ่ นุ เขา้ มาอยดู่ ว้ ย

6 พ้นื ท่ีของประเทศฟิลิปปิ นส์ คดิ เป็น 50% ของประเทศไทย

7 ชาวสิงคโปร์นิยมใชภ้ าษาองั กฤษในการส่ือสารมากทส่ี ุด

8 สานกั งานใหญข่ องอาเซียนต้งั อยทู่ ก่ี รุงจาการ์ตา

9 ปัจจบุ นั ประเทศสมาชิกอาเซียนมี ไทย เมียนมาร์ มาเลเซีย อนิ โดนีเซีย
ฟิลปิ ปิ นส์ สิงคโปร์ เวียดนาม ลาว กมั พูชา บรูไน

10 ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ปกครองดว้ ยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ได้คะแนน

คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนทาเคร่ืองหมาย หลงั ขอ้ ความท่ีถูก เขยี นเครื่องหมาย× หลงั ขอ้ ความที่ผิด
ให้นกั เรียนทาลงในกระดาษขอ้ สอบ

ข้อ ข้อควำม ตอบ

1 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน (Association of /

South East Asian Nations) ใชต้ วั อกั ษรยอ่ ในภาษาองั กฤษอยา่ งเป็นทางการว่า

“ASEAN”

2 5 ประเทศท่รี ่วมกนั กอ่ ต้งั ASEAN ในวนั ท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ก็คือ ประเทศ X

ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ พมา่ และอนิ โดนีเซีย

3 Asean จะรวมตวั เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและมีผลจริง ๆ จงั ๆ X

ณ วนั ที่ 1 มกราคม 2555

4 สัญลกั ษณอ์ าเซียน คือ ตน้ ขา้ วสีเหลือง 10 ตน้ มดั รวมกนั ไว้ /

5 อาเซียน + 3 โดยจะเพิ่มประเทศ จีน เกาหลีใต้ และญปี่ ่ นุ เขา้ มาอยดู่ ว้ ย /

6 พ้นื ท่ีของประเทศฟิลปิ ปิ นส์ คิดเป็น 50% ของประเทศไทย X

7 ชาวสิงคโปร์นิยมใชภ้ าษาองั กฤษในการส่ือสารมากที่สุด /

8 สานกั งานใหญ่ของอาเซียนต้งั อยทู่ ่ีกรุงจาการ์ตา /

9 ปัจจุบนั ประเทศสมาชิกอาเซียนมี ไทย เมยี นมาร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย /
ฟิลปิ ปิ นส์ สิงคโปร์ เวยี ดนาม ลาว กมั พชู า บรูไน /

10 ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ปกครองดว้ ยระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์

เล่มท่ี 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 3

กรอบนำ

เหตกุ ารณ์ทีส่ าคญั ตอ่ โลกของเราอยา่ งหน่ึงทเ่ี กิดข้ึนในปี พ.ศ. 2510 นน่ั คอื การก่อต้งั สมาคมประชาชาติ
แห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน (Association of South East Asian Nations) ซ่ึงใชต้ วั อกั ษรยอ่ ใน
ภาษาองั กฤษอยา่ งเป็นทางการว่า “ASEAN”

5 ประเทศที่ร่วมกนั ก่อต้งั ASEAN ในวนั ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 กค็ อื ประเทศไทย ฟิลปิ ปิ นส์
มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ซ่ึงต่อมาไดเ้ ปิ ดรบั ประเทศสมาชิกเพ่ิมข้นึ อีก 5 ชาติ ซ่ึงไดแ้ ก่ ประเทศบรูไน
(7 มกราคม 2527) เวยี ดนาม (28 กรกฎาคม 2538) ลาวและเมยี นมาร์ (23 กรกฎาคม 2540) และกมั พชู า
(30 เมษายน 2542) เบ็ดเสร็จเป็น 10 ประเทศสมาชิกกระทงั่ ปัจจุบนั

ในเดือนตลุ าคม พ.ศ. 2546 เหลา่ ผนู้ าอาเซียนมีมติใหจ้ ดั ต้งั ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community
หรือ AC) ข้ึนโดยแบง่ งานออกเป็น 3 ดา้ นสาคญั คอื

- ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC)
- ประชาคมการเมอื งและความมนั่ คงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community หรือ

APSC)
- ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community หรือ ASCC)
ซ่ึงกแ็ น่นอนว่า การรวมกลมุ่ กนั เป็นประชาคมอาเซียนน้ียอ่ มจะก่อให้เกิดโอกาสใหม่ ๆ ในการพฒั นา
องคค์ วามรู้และเทคโนโลยตี ่าง ๆ รวมถงึ การพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมให้เจริญกา้ วหนา้ และเตบิ โตไดอ้ ยา่ ง
มน่ั คง ยงั่ ยนื จึงเป็นเร่ืองสาคญั ท่ีคนไทยเราควรจะมีขอ้ มลู ความรู้และเขา้ ใจในหลาย ๆ ดา้ นทสี่ าคญั ๆ ของ
ประเทศสมาชิกของอาเซียนท้งั หมด

ศึกษำรำยละเอยี ดเบือ้ งต้น....
พร้อมแล้วทำกรอบที่ 1 ต่อไป

ได้เลยครับ

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 4

สมำคมประชำชำติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ กรอบท่ี 1
(Association of South East Asian Nations)หรืออำเซียน (Asean)

ที่มา http://www.dmc.tv/pages/ความรู้รอบตัว/อาเซียน-10-ประเทศ.html

AEC หรือ Asean Economics Community คอื การรวมตวั ของชาติใน Asean เพื่อทีจ่ ะให้มผี ล
ประโยชนท์ างเศรษฐกิจร่วมกนั จะมรี ูปแบบคลา้ ยๆ กลุม่ Euro Zone นนั่ เอง จะทาให้มีผลประโยชน์,อานาจ
ต่อรองต่างๆ กบั คูค่ า้ ไดม้ ากข้นึ และการนาเขา้ ส่งออกของชาติในอาเซียนกจ็ ะเสรี ยกเวน้ สินคา้ บางชนิดที่
แตล่ ะประเทศอาจจะขอไว้ ไม่ลดภาษนี าเขา้

Asean จะรวมตวั เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและมีผลจริง ๆ จงั ๆ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558
ณ วนั น้นั จะทาใหภ้ ูมภิ าคน้ีเปลยี่ นไปอยา่ งมาก

ควำมหมำยของสัญลักษณ์และธงอำเซียน
สัญลกั ษณ์อาเซียน คือ ตน้ ขา้ วสีเหลอื ง 10 ตน้ มดั รวมกนั ไว้ หมายถงึ ประเทศสมาชิกรวมกนั เพ่อื มติ รภาพ
และความเป็ นน้ าหน่ึงใจเดียวกนั

สีน้าเงนิ หมายถงึ สันติภาพและความมน่ั คง
สีแดง หมายถงึ ความกลา้ หาญและความกา้ วหนา้
สีขาว หมายถงึ ความบริสุทธ์ิ
สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง

คำถำมกรอบท่ี 1

1. AEC ยอ่ มาจากคาวา่
...........................................................................................................................
2. Asean จะรวมตวั เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและมีผลจริง ๆ จงั ๆ ณ วนั ที่
...........................................................................................................................
3. สัญลกั ษณ์อาเซียน คือ .................................................................................

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 5

เฉลยกรอบที่ 1

1. AEC ยอ่ มาจากคาวา่ ...................... Asean Economics Community...........
2. Asean จะรวมตวั เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและมีผลจริง ๆ จงั ๆ ณ วนั ท่ี
.............................................................วนั ที่ 1 มกรำคม 2558……...................
3. สัญลกั ษณอ์ าเซียน คอื .....ต้นข้ำวสีเหลอื ง 10 ต้นมัดรวมกนั ไว้...................

ตอบถกู ไหมเอย่ ถา้ ขอ้ ไหนตอบไมถ่ ูกลอง
ยอ้ นไปศกึ ษากรอบท่ี 1 ใหม่นะค่ะ
ถา้ พร้อมไปศึกษากรอบท่ี 2 ตอ่ เลยคะ

ควำมรู้เพิม่ เตมิ จำกกำรประชุมสุดยอดอำเซียน คร้ังท่ี 9

เม่ือวนั ท่ี 7 ตลุ ำคม พ.ศ. 2546

ได้มี ก ารจัดทาข้อตก ล งร่ วม กันเก่ี ยว กับ คุ ณ ส ม บัติข องวิชาชี พ ห ลักแรงงาน

เช่ียวชาญ คือผูม้ ีความสามารถพิเศษ เพ่ืออานวยความสะดวกในการเคล่ือนยา้ ย

ไดอ้ ยา่ งเสรี 7 สาขาประกอบดว้ ย

ซึ่งจะเร่ิมได้ในปี พ.ศ. 2558

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 6

กรอบที่ 2

จากการประชุมสุดยอดอาเซียนคร้ังท่ี 9 ที่อินโดนีเซีย เมอ่ื 7 ต.ค. 2546 ผูน้ าประเทศสมาชิกอาเซียน
ไดต้ กลงกนั ท่จี ะจดั ต้งั ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซ่ึงประกอบดว้ ย 3 เสำหลัก คือ

1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community:AEC)
2.ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน (Socio - Cultural Pillar)
3.ประชาคมความมน่ั คงอาเซียน (Political and Security Pillar)
เดิมกาหนดเป้าหมายที่จะต้งั ข้ึนในปี 2563 แต่ต่อมาไดต้ กลงกนั เลื่อนกาหนดให้เร็วข้ึนเป็ นปี 2558
และก้าวสาคัญต่อมาคือการจดั ทา ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Charter) ซ่ึงมีผลใช้บังคับแล้วต้ังแต่เดือน
ธันวาคม ปี 2552 นับเป็ นการยกระดับความร่วมมือของอาเซียนเขา้ สู่มิติใหม่ในการสร้างประชาคม โดยมี
พ้นื ฐานที่แข็งแกร่งทางกฎหมายและมีองคก์ รรองรบั การดาเนินการเขา้ สู่เป้าหมายดงั กลา่ วภายในปี 2558
ปัจจุบนั ประเทศสมาชิกอาเซียนมี ไทย เมยี นมำร์ มำเลเซีย อินโดนเี ซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ เวียดนำม

ลำว กัมพูชำ บรูไน

ทมี่ า http://kaonamsub.blogspot.com/2014/08/blog-post_29.html
สาหรับเสาหลกั การจดั ต้งั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC)
ภายในปี 2558 เพ่ือให้อาเซียนมีการเคลื่อนยา้ ยสินคา้ บริการ การลงทุน แรงงานฝีมืออยา่ งเสรี และเงินทุนท่ี
เสรีข้ึน ต่อมาในปี 2550 อาเซียนไดจ้ ดั ทาพิมพ์เขียวเพ่ือจดั ต้งั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint)
เป็นแผนบรู ณาการงานดา้ นเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่ AEC ซ่ึงประกอบดว้ ยแผนงานเศรษฐกิจ
ในดา้ นต่าง ๆ พร้อมกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการดาเนิ นมาตรการต่าง ๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558
รวมท้งั การให้ความยืดหยนุ่ ตามทป่ี ระเทศสมาชิกได้ ตกลงกนั ลว่ งหนา้
ในอนาคต AEC จะเป็นอาเซียน + 3 โดยจะเพิ่มประเทศ จีน เกำหลีใต้ และญี่ป่ ุน เขา้ มาอย่ดู ว้ ย และ
ต่อไปก็จะมกี ารเจรจา อาเซียน + 6 จะมปี ระเทศ จนี เกำหลใี ต้ ญปี่ ่ ุน ออสเตรเลยี นวิ ซีแลนด์ และ อนิ เดีย

คำถำมกรอบที่ 2

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ประกอบดว้ ย 3 เสาหลกั คือ
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………….

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 7

เฉลยกรอบท่ี 2

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ประกอบดว้ ย 3 เสาหลกั คอื
1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community:AEC)
2.ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน (Socio - Cultural Pillar)
3.ประชาคมความมนั่ คงอาเซียน (Political and Security Pillar)

ตอบถกู อกี แลว้
เก่งจริงๆ ไปศึกษากรอบท่ี 3

ตอ่ กนั เลยคะ

ควำมรู้เพมิ่ เตมิ

ทม่ี า http://aseannotes.blogspot.com/2014/07/blog-post_24.html

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ก่อต้งั ข้ึนอยา่ งเป็นทางการ
เม่ือวนั ท่ี 8 สิงหาคม 2510 ณ วงั สราญรมย์ ซ่ึงเป็ นทตี่ ้งั กระทรวงต่างประเทศ
ในขณะน้นั โดยรัฐมนตรีกระทรวงตา่ งประเทศของ 5 ประเทศในภมู ภิ าค
เอเซียตะวนั ออกเฉียงใต้ ไดก้ ารลงนาม ในปฎิญญาสมาคมประชาชาตแิ ห่ง
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็นทร่ี ู้จกั กนั ใน
อกี ชื่อหน่ึงวา่ ปฏญิ ญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) เพอ่ื จดั ต้งั สมาคมความ
ร่วมมือในระดบั ภมู ภิ าคของประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ภายใตช้ ่ือ
“สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต“้ หรือ “อาเซียน” (ASEAN)

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 8

กรอบท่ี 3

กฎบัตรอำเซียน คืออะไร ?

กฎบัตรอาเซียน คือ ธรรมนูญของอาเซียนที่จะทาให้อาเซียนมีสถานะเป็ นนิติบุคคล เป็นการวาง
กรอบกฎหมายตลอดจนโครงสร้างองคก์ รใหก้ บั อาเซียน มกี ารปรับปรุงแกไ้ ขและสร้างกลไกใหมข่ ้ึนพร้อม
กบั กาหนดขอบเขตหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบขององค์กรสาคญั ในอาเซียน ตลอดจนความสัมพนั ธใ์ นการ
ดาเนินงานขององคก์ รเหล่าน้ี เพื่อให้สอดคล้องกบั ความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน โดยมีเป้าหมายให้
อาเซียนเป็นองคก์ รท่มี ีประสิทธิภาพมากข้ึน

กฎบตั รอาเซียนประกอบดว้ ย บทบญั ญตั ิ 13 บท 55 ขอ้ ครอบคลมุ เป้าหมายและหลกั การ
สมาชิกภาพโครงสร้างองคก์ รของอาเซียนองคก์ รทมี่ คี วามสัมพนั ธ์กบั อาเซียนเอกสิทธ์ิและความคมุ้ กนั
กระบวนการตดั สินใจ การระงบั ขอ้ พิพาท งบประมาณและการเงนิ การบริหารจดั การ เอกลกั ษณแ์ ละ
สัญลกั ษณ์ของอาเซียน และความสัมพนั ธ์กบั ภายนอก

ทมี่ า http://www.uasean.com/kerobow01/6

สำระสำคญั ของกฎบัตรอำเซียน
สรุปสาระสาคญั เป็นหมวดหมตู่ า่ ง ๆ เพอื่ ใหเ้ ห็นภาพรวมชดั ข้นึ วา่ กฎบตั รอาเซียนมวี ตั ถปุ ระสงค์
และสาระสาคญั อยา่ งไรบา้ ง กจ็ ะสรุปไดด้ งั น้ี
ด้ำนเศรษฐกิจ
มีสาระสาคญั คอื เพื่อสร้างตลาดและฐานการผลติ เดียวทีม่ ีเสถียรภาพ มง่ั คง่ั และมีความสามารถใน
การแข่งขนั สูง มกี ารรวมตวั ทางเศรษฐกิจที่มีการเคลอื่ นยา้ ยเสรีของสินคา้ การบริการ การลงทุน และแรงงาน
การเคลอื่ นยา้ ยทุนเสรียงิ่ ข้ึน

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 9

ด้ำนกำรเมืองควำมมน่ั คง
เนน้ การคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพข้นั พ้นื ฐาน เสริมสร้างประชาธิปไตย เพ่ิมพูน
ธรรมาภิบาลและหลกั นิติธรรม ตอบสนองต่อส่ิงทา้ ทายความมน่ั คง เช่น การก่อการร้าย ธารงรกั ษาเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใตใ้ ห้เป็นเขตปลอดอาวธุ นิวเคลยี ร์ และไมม่ อี าวธุ ท่มี ีอานุภาพทาลายลา้ งสูงทกุ ชนิด
ด้ำนควำมมน่ั คงของมนุษย์
เพอ่ื บรรเทาความยากจน และลดช่องวา่ งการพฒั นาภายในอาเซียน โดยผา่ นความช่วยเหลอื ซ่ึงกนั
และกนั และความร่วมมอื พร้อมกบั ส่งเสริมพฒั นาทรัพยากรมนุษยผ์ ่านความร่วมมือดา้ นการศกึ ษา
และการเรียนรู้ตลอดชีวิตในดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือเสริมสร้างพลงั ประชาชน และเสริมสร้าง
ความเขม้ แขง็ แห่งประชาคมอาเซียน
ด้ำนสังคม
ม่งุ ส่งเสริมอาเซียนทม่ี ปี ระชาชนเป็นศนู ยก์ ลาง สร้างสงั คมที่ปลอดภยั มนั่ คงจากยาเสพตดิ เพม่ิ พูน
ความกินดีอยดู่ ีของประชาชนอาเซียน ผา่ นโอกาสท่ที ดั เทียมกนั ในการเขา้ ถงึ การพฒั นามนุษย์
สวสั ดิการสงั คม และความยตุ ิธรรม
ด้ำนวฒั นธรรม
ส่งเสริมอตั ลกั ษณ์ของอาเซียน โดยเคารพความหลากหลายทางวฒั นธรรมและมรดกของภูมิภาค
รวมท้งั ร่วมกนั อนุรักษม์ รดกทางวฒั นธรรม
ด้ำนสิ่งแวดล้อม
สนบั สนุนการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ทีค่ มุ้ ครองสภาพแวดลอ้ ม ความยงั่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติ

คำถำมกรอบที่ 3

1. กฎบตั รอาเซียน คืออะไร
..................................................................................................................
2. กฎบตั รอาเซียนมีเป้าหมายคอื อะไร
...................................................................................................................

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 10

เฉลยกรอบท่ี 3

1. กฎบตั รอาเซียนประกอบดว้ ย
...........................ธรรมนูญของอาเซียนทจ่ี ะทาให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิตบิ คุ คล ..............
2. กฎบตั รอาเซียนมีเป้าหมายคืออะไร
.........................ให้อาเซียนเป็นองคก์ รทม่ี ีประสิทธิภาพมากข้ึน............................................

ถา้ ตอบไมถ่ ูกลองยอ้ นกลบั ไปศกึ ษากรอบท่ี
3 ใหมน่ ะค่ะ

ถา้ พร้อมแลว้ ไปศกึ ษากรอบที่ 4 ตอ่ เลยค่ะ

ควำมรู้เพ่ิมเติม

ประโยชน์ทไี่ ทยจะได้รับจำกกฎบัตรอำเซียน

1. ผลประโยชน์จากความร่วมมือตา่ ง ๆ ของอาเซียนมากข้นึ เน่ืองจากกฎบตั รอาเซียนจะช่วยสร้าง
หลกั ประกนั ว่าประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ ๆ จะปฏิบตั ติ ามพนั ธกรณีท่ไี ดต้ กลงกนั ไวแ้ ลว้

2. ความสามารถรบั มือกบั ภยั คุกคามระดบั โลกทส่ี ่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรงได้ อยา่ งมี
ประสิทธิภาพมากข้นึ ไมว่ า่ จะเป็นไขห้ วดั นก โรคระบาด ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ ปัญหาโลกร้อนหรือ
ปัญหายาเสพตดิ

3. กฎบตั รอาเซียนจะช่วยส่งเสริมค่านิยมของประเทศอน่ื ๆ ในภูมิภาคใหส้ อดคลอ้ งกบั ผลประโยชน์
ของประเทศไทย เช่น การไม่ใชก้ าลงั ในการแกไ้ ขปัญหา การยึดมนั่ ในหลกั ประชาธิปไตย ธรรมาภบิ าล
หลกั นิตธิ รรม และสิทธิมนุษยชน

4. อานาจการตอ่ รองที่เพม่ิ ข้นึ ของประเทศไทยในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียนในเวทโี ลก เน่ืองจาก
กฎบตั รอาเซียนจะช่วยสร้างความน่าเช่ือถอื และกติกาใหแ้ กอ่ าเซียน และให้ประเทศไทยสามารถโนม้ นา้ ว
ใหป้ ระเทศนอกภูมิภาคช่วยแกไ้ ขปัญหาระดบั โลก ที่กระทบความเป็นอยขู่ องประชาชนอาเซียน รวมท้งั
ประชาชนไทยไดอ้ ยา่ งมีน้าหนกั มากยงิ่ ข้ึน

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 11

ควำมรู้เกยี่ วกบั ประเทศต่ำงๆในอำเซียน กรอบท่ี 4
ประเทศไทย

ท่มี ำ http://71104148.thaischool.in.th/data_89801

ข้อมูลพื้นฐำน ที่มา http://www.toasean.com/แผนที1่ 0ประเทศอาเซียน

ช่ือทำงกำร : ราชอาณาจกั รไทย (The Kingdom of Thailand)
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
ศำสนำประจำชำติ : ศาสนาพทุ ธ รองลงมาคือ อิสลาม คริสต์ และฮินดู
ดอกไม้ประจำชำติ : ดอกราชพฤกษ์ (Ratchaphruek)
วนั ชำติ : 5 ธนั วาคม
วันทเ่ี ป็ นสมำชิกอำเซียน : 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 (สมาชิกก่อต้งั )
ภำษำประจำชำติ : ภาษาไทย
ภำษำรำชกำร : ภาษาไทย

คำถำมกรอบที่ 4

1. ช่ือทางการของประเทศไทย คอื
...................................................................................................................................
2. ดอกไมป้ ระจาชาติของประเทศไทย คอื
...................................................................................................................................

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 12

เฉลยกรอบที่ 4

1. ช่ือทางการของประเทศไทย คือ
................ราชอาณาจกั รไทย (The Kingdom of Thailand)................................
2. ดอกไมป้ ระจาชาติของประเทศไทย คือ
...............ดอกราชพฤกษ์ (Ratchaphruek).........................................................

ซ่ือสตั ยต์ อ่ ตนเอง.......หา้ มดคู าตอบ
ก่อนนะเพือ่ นๆ พร้อมแลว้ ศึกษา

กรอบตอ่ ไปเลยคะ่

ควำมรู้เพ่มิ เตมิ

ชื่อเต็มของกรุงเทพมหำนคร
“กรุงเทพมหานคร อมรรัตรโกสินทร์ มหินทรายธุ ยา มหาดิลกภพ
นพรัตนราชธานี บรุ ีรมยอ์ ุดมราชนิเวศน์ มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต
สกั กะทตั ตยิ วษิ ณุกรรมประสิทธ์ิ”

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 13

ประชำกร กรอบที่ 5

มีจานวนประชากร 64,964,189 คน (ขอ้ มูลจาก มิเตอร์ประเทศไทย
http://www.thailandometers.mahidol.ac.th/ ซ่ึงมคี วามหลากหลายทางเช้ือชาติ
โดยเช้ือชาติหลกั คอื ชาวไทย และชาวไทยเช้ือสายต่าง ๆ รองลงมาคอื ชาวจีน
และอน่ื ๆ รวมถึงชนกลมุ่ นอ้ ยต่าง ๆ ดว้ ย

กำรเมืองกำรปกครอง ทม่ี า http://hilight.kapook.com/view/57807

ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุข โดยมรี ฐั สภาทาหนา้ ท่ี
นิตบิ ญั ญตั ิ ประกอบดว้ ยสมาชิกผแู้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหวั หนา้
ฝ่ายบริหาร ที่สังกดั พรรคการเมอื งและมาจากการเลือกต้งั ของประชาชน ประเทศไทยแบ่งการปกครอง
ส่วนภูมภิ าคออกเป็น 76 จงั หวดั ไม่นบั รวมกรุงเทพฯ (จงั หวดั บึงกาฬ เป็นจงั หวดั ล่าสุด เม่อื วนั ท่ี 23 มนี าคม
พ.ศ. 2554)

ทม่ี า http://niramon49.blogspot.com/ ทม่ี า http://niramon49.blogspot.com/
อนุสาวรียป์ ระชาธิประไตย พระมหากษตั ริย์ 9 พระองค์ แห่งราชวงศจ์ กั รี

สถำนทส่ี ำคัญ

ท่ีมา http://www.dhammathai.org/watthai/ ท่ีมา http://www.dhammathai.org/watthai/
วดั พระศรีรตั นศาสดาราม หรือวดั พระแกว้ มรกต นครประวตั ิศาสตร์พระนครศรีอยธุ ยา

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 14

ทีม่ า http://www.skyscanner.co.th/news ท่ีมา http://e-shann.com/?p=6326
อุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั จ.สุโขทยั ปราสาทหินพนมรุ้ง จ.บุรีรัมย์

ท่ีมา http://info.dla.go.th ที่มา http://www.cs.ssru.ac.th/s51122201214/เขาใหญ่.html
แหลง่ โบราณคดีบา้ นเชียง จ.อดุ รธานี อทุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่

บคุ คลสำคัญ ทา่ นพทุ ธทาสภิกขุ
หรือ พระธรรมโกศาจารย์
มหาปราชญแ์ ห่งพุทธธรรม

หม่อมราชวงศค์ กึ ฤทธ์ิ ปราโมช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช
นกั ปราชญ์ นกั เขียน นกั การเมอื งและศิลปิน รชั กาลที่ 9 แห่งราชวงศจ์ กั รี พระมหากษตั ริยผ์ ูเ้ สวยราชย์
แห่งชาติองคก์ ารยเู นสโกยกยอ่ งเป็นบคุ คล นานทีส่ ุดในโลก ทรงเปี่ ยมดว้ ยพระอจั ฉริยะภาพอนั
สาคญั ของโลก หลากหลาย เป็นท่ปี ระจกั ษต์ อ่ ชาวไทยและชาวโลก

คำถำมกรอบท่ี 5

1. ประเทศไทยมกี ารปกครองรูปแบบใด
........................................................................................................................

2. จงั หวดั ใดเป็นจงั หวดั ลา่ สุดของประเทศไทย
........................................................................................................................

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 15

เฉลยกรอบที่ 5

1. ประเทศไทยมีการปกครองรูปแบบใด
............ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุข......................

2. จงั หวดั ใดเป็นจงั หวดั ล่าสุดของประเทศไทย
.......จงั หวดั บึงกาฬ เป็นจงั หวดั ลา่ สุด เม่อื วนั ที่ 23 มนี าคม พ.ศ. 2554.............

ซ่ือสัตยต์ ่อตนเอง.......หา้ มดคู าตอบ
ก่อนนะเพ่อื นๆ

พร้อมแลว้ ศึกษากรอบตอ่ ไปเลยค่ะ

ควำมรู้เพมิ่ เตมิ

พระนำมเต็มของในหลวง คือ

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จกั รีนฤบดินทร สยามินทราธิราช
บรมนาถบพติ ร

ทีม่ า http://peakpakin2.blogspot.com/2013/10/5.html

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 16

ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ กรอบท่ี 6

ท่มี ำ http://71104148.thaischool.in.th/data_89801

ข้อมูลพืน้ ฐำน ทีม่ า http://www.toasean.com/แผนที1่ 0ประเทศอาเซียน

ช่ือทำงกำร : สาธารณรัฐฟิลิปปิ นส์ (Republic of the Philppines)
เมืองหลวง : มะนิลา (Manila)
ศำสนำประจำชำติ : ศาสนาคริสต์ นิกายโรมนั คาทอริก
ดอกไม้ประจำชำติ : ดอกพุดแกว้ (Sampaguita Jasmine)
วันชำติ : 12 มถิ ุนายน
วนั ที่เป็ นสมำชิกอำเซียน : 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 (สมาชิกก่อต้งั )
ภำษำประจำชำติ : ภาษาฟิลิปิ โน ภาษาตากาล็อค
ภำษำรำชกำร : ภาษาฟิลิปิ โน และภาษาองั กฤษ

คำถำมกรอบท่ี 6

ชื่อทางการฟิลิปปิ นส์ คือ
................................................................................................

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 17

เฉลยกรอบท่ี 6

ชื่อทางการของประเทศฟิลิปปิ นส์ คือ
.......สาธารณรฐั ฟิลิปปิ นส์ (Republic of the Philppines)................

เกง่ มากคะ ตอบถูกอกี แลว้
พร้อมแลว้ ศึกษากรอบตอ่ ไปเลยคะ่

ควำมรู้เพิม่ เตมิ

พ้นื ทข่ี องประเทศฟิลปิ ปิ นส์ คดิ เป็นร้อยละ 42 ของประเทศไทย
เป็ นประเทศท่ีมีเกาะน้อยใหญ่ถึง 7,107 เกาะ แต่เกาะท่ีมีผูค้ น
อาศยั อยมู่ ีประมาณ 2,000 เกาะเทา่ น้นั

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 18

ประชำกร กรอบที่ 7

ประชากรมีประมาณ 94 ลา้ นคน ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นชนพ้ืนเมืองของฟิ ลปิ ปิ นส์ท่ีเรียกว่า
“ชาวมลายู” และรองลงมาจะเป็นลูกคร่ึงจีน ลูกคร่ึงสเปน และลูกคร่ึงอเมริกนั

กำรเมืองกำรปกครอง

ปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีท่ีมาจากการเลือกต้งั เป็ นประมุขและเป็ น
หัวหนา้ คณะผบู้ ริหารประเทศ ฟิ ลปิ ปิ นส์จะแบ่งออกเป็น 17 เขต (79 จงั หวดั และ 117 เมือง) โดยแบง่ เป็นหมู่
เกาะวิสายาส์ (Visayas) มี 3 เขต และหมเู่ กาะมินดาเนา (Mindanao) มี 6 เขต

สถำนท่สี ำคัญ

โบสถบ์ าโรกแห่งฟิลิปปิ นส์ นาขา้ วข้นั บนั ไดบานวั

เขตนครประวตั ศิ าสตร์วกี นั ป้อมซานติเอโก

บคุ คลสำคัญ

รำมอน แมกไซไซ (Ramon del Fierro Magsaysay)
ประธานาธิบดีคนที่ 3 ของฟิลิปปิ นส์ ประชาชนยกยอ่ งให้
เป็นวีระบรุ ุษ และจดั ต้งั “มลู นิธิรางวลั รามอน แมกไซไซ”

โฮเซ รีซัล (Jose Rizal)
นกั เขยี นและวีระบุรุษคนสาคญั ในการต่อสู้เพ่อื เรียกร้องเอกราชจากสเปน

คำถำมกรอบที่ 7

1. ประเทศฟิลปิ ปิ นส์มกี ารปกครองรูปแบบใด
........................................................................................................................

2. ใครเป็นผกู้ อ่ ต้งั มลู นิธิรางวลั รามอน แมกไซไซ
......................................................................................................................

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 19

เฉลยกรอบท่ี 7

1. ประเทศฟิลปิ ปิ นส์มกี ารปกครองรูปแบบใด
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีที่มาจากการเลอื กต้งั เป็นประมุข

2. ใครเป็นผูก้ อ่ ต้งั มูลนิธิรางวลั รามอน แมกไซไซ
รามอน แมกไซไซ (Ramon del Fierro Magsaysay)ประธานาธิบดีคนท่ี 3 ของฟิลปิ ปิ นส์

เกง่ มากคะ ตอบถกู อกี แลว้
พร้อมแลว้ ศกึ ษากรอบต่อไปเลยค่ะ

ควำมรู้เพ่มิ เติม

คอรีย์ อากีโน (Cory Aquino)
ประธานาธิบดีคนที่ 11 ของฟิลิปปิ นส์
ประธานาธิบดีหญิงคนแรกของประเทศ
และของทวีปเอเชีย

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 20

ประเทศมำเลเซีย กรอบที่ 8

ที่มำ http://71104148.thaischool.in.th/data_89801

ข้อมูลพื้นฐำน ท่ีมา http://www.toasean.com/แผนท1ี่ 0ประเทศอาเซียน

ชื่อทำงกำร : สหพนั ธรฐั มาเลเซีย (Federation of Malaysia)
เมืองหลวง : กวั ลาลมั เปอร์ (Kuala Lumpur)
ศำสนำประจำชำติ : ศาสนาอสิ ลาม
ดอกไม้ประจำชำติ : ดอกบหุ งารายา (Bunga Raya) หรือดอกชบาแดง
วันชำติ : 31 สิงหาคม
วนั ท่ีเป็ นสมำชิกอำเซียน : 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 (สมาชิกกอ่ ต้งั )
ภำษำประจำชำติ : ภาษามาเลย์ (Bahasa Malaysia) หรือมลายู
ภำษำรำชกำร : ภาษามาเลย์

คำถำมกรอบท่ี 8

ดอกไมป้ ระจาชาติของประเทศมาเลเซีย คือ
................................................................................................

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 21

เฉลยกรอบที่ 8

ดอกไมป้ ระจาชาติของประเทศมาเลเซีย คอื
.......ดอกบหุ งารายา (Bunga Raya) หรือดอกชบาแดง..........

เกง่ มากคะ ตอบถกู อีกแลว้
พร้อมแลว้ ศึกษากรอบต่อไปเลยคะ่

ควำมรู้เพิ่มเตมิ

พ้ืนที่ของประเทศมาเลเซี ยคิดเป็ น 64% ของพ้ืนที่
ประเทศไทย รัฐซาราวกั ของมาเลเซียตะวนั ออก มีพรมแดน
ลอ้ มรอบประเทศบรูไนดารุสซาลามไวท้ ้งั หมด

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 22

ประชำกร กรอบท่ี 9

มจี านวนประชากรประมาณ 28.3 ลา้ นคน โดยมีเช้ือชาตหิ ลกั คือมลายู รองลงมาคอื จีน อินเดีย และ
เช้ือชาตอิ ่ืน ๆ เช่น ไทย ทมฬิ ฮอลนั ดา อาหรับ เป็นตน้ รวมถงึ ยงั มีชนพ้ืนเมอื งด้งั เดิม เช่น โอรงั อสั ลี อบี าน
และคาดาดนุ ซุน

กำรเมืองกำรปกครอง

ปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ เรียกวา่
สมเดจ็ พระรามาธิบดี หรือ ยงั ดี เปอร์กวน อากง (Yang di pertuan Agong) ซ่ึงเลอื กจากเจา้ ครองรัฐต่าง ๆ
ผลดั เวียนกนั ทุก 5 ปี ส่วนระบบรฐั บาล มีท้งั รัฐบาลกลางแห่งสหพนั ธรฐั และรฐั บาลกลางแห่งรัฐ ปกครอง
แบบรัฐสภา ประกอบดว้ ย 2 สภา คือ สภาผแู้ ทนราษฎร และวฒุ ิสภา โดยมนี ายกรัฐมนตรีมอี านาจสูงสุดของ
ฝ่ายบริหาร โดยประมขุ ของประเทศเป็นผแู้ ตง่ ต้งั มาเลเซียแบ่งการปกครองออกเป็น 13 รัฐ ซ่ึงแต่ละรฐั มี
ผปู้ กครองรฐั ของตน และมี 3 เขต ที่อยภู่ ายใตก้ ารปกครองของรฐั บาลกลางแห่งสหพนั ธรัฐ

สถำนที่สำคัญ

เมอื งปุตราจายา

เปโตรนาส ทาวเวอร์

อุทยานแห่งชาติกุนุงมูลู

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 23

บคุ คลสำคัญ

ดร.มหำเธร์ บนิ โมฮัมหมดั (Dr.Mahathir bin Mohamad)
นายกรฐั มนตรีคนที่ 4 ดารงตาแหน่งยาวนานทีส่ ุด เป็น
ผวู้ างรากฐานพฒั นาประเทศในรูปแบบของแผนพฒั นา
ประเทศท่เี รียกวา่ VISION 2020 เป็นผนู้ ามาเลเซีย
สู่ความเจริญทดั เทยี มนานาประเทศ

คำถำมกรอบท่ี 9

1. ประเทศมาเลเซียมีการปกครองรูปแบบใด
........................................................................................................................................

2. ผวู้ างรากฐานพฒั นาประเทศในรูปแบบของแผนพฒั นาประเทศ
ที่เรียกว่า VISION 2020 คือ

..........................................................................................................................................

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 24

เฉลยกรอบที่ 9

1. ประเทศมาเลเซียมีการปกครองรูปแบบใด
......ปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมขุ ..............

2. ผวู้ างรากฐานพฒั นาประเทศในรูปแบบของแผนพฒั นาประเทศ
ทเ่ี รียกวา่ VISION 2020 คอื
……… ดร.มหาเธร์ บนิ โมฮมั หมดั (Dr.Mahathir bin Mohamad) ………………….

เกร็ดควำมรู้ เกง่ มากคะ ตอบถูกอีกแลว้
พร้อมแลว้ ศกึ ษากรอบต่อไปเลยค่ะ

ตนกู อบั ดุล รำห์มำน หรือ ตนกู อับดุล รำห์มนั ปตุ รำ
อลั -ฮจั อิบนิ อัลมรหุม สุลตำน อบั ดุล ฮำมิด ชำห์
เป็นผูน้ าการเรียกร้องเอกราช และนายกรัฐมนตรี
คนแรกของประเทศมาเลเซีย ไดร้ บั ยกยอ่ งเป็นบดิ า
แห่งประเทศมาเลเซียหรือ Bapa of Malaysia

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 25

ประเทศสิงคโปร์ กรอบท่ี 10

ท่ีมำ http://71104148.thaischool.in.th/data_89801

ข้อมูลพื้นฐำน ที่มา http://www.toasean.com/แผนท1่ี 0ประเทศอาเซียน

ชื่อทำงกำร : สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
เมืองหลวง : สิงคโปร์ (Singapore)
ศำสนำประจำชำติ : ไม่มีศาสนาประจาชาติ (ส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาพทุ ธ
รองลงมาคือ อิสลาม คริสต์ ฮินดู และลทั ธิเต๋า)
ดอกไม้ประจำชำติ : กลว้ ยไมแ้ วนดา้ มสิ โจควมิ (Vanda Miss Joaquim)
วนั ชำติ : 9 สิงหาคม
วันท่ีเป็ นสมำชิกอำเซียน : 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 (สมาชิกก่อต้งั )
ภำษำประจำชำติ : ภาษามาเลย์ หรือภาษามลายู
ภำษำรำชกำร : องั กฤษ จีน มาเลย์ และภาษาทมฬิ

คำถำมกรอบที่ 10

สิงคโปร์เขา้ เป็นสมาชิกอาเซียนเมอ่ื ไหร่
................................................................................................

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 26

เฉลยกรอบที่ 10

สิงคโปร์เขา้ เป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อไหร่
.............. 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510.............

ควำมรู้เพ่ิมเตมิ

❖ ชาวสิงคโปร์นิยมใชภ้ าษาองั กฤษในการส่ือสารมากทส่ี ุด
❖ สิงคโปร์เป็นศูนยก์ ลางการเดินเรือท่ีสาคญั ของ
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และเป็นเมอื งทา่ ท่ีสาคญั ท่ีสุดของโลก

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 27

ประชำกร กรอบที่ 11

มจี านวนประชากรประมาณ 5.08 ลา้ นคน เป็นประเทศท่ีมปี ระชากรหนาแน่นมากทีส่ ุดเป็นอนดบั 2
ของโลก และประชากรกม็ ีความหลากหลายของเช้ือชาติ ซ่ึงส่วนใหญจ่ ะเป็นชาวจีน รองลงมาจะเป็น
ชาวมาเลย์ และชาวอนิ เดีย

กำรเมืองกำรปกครอง

สิงคโปร์ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มปี ระธานาธิบดีเป็นประมขุ ของรฐั
(มวี าระดารงตาแหน่ง 6 ปี ) มรี ฐั ธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด และแบ่งอานาจการปกครองออกเป็น 3 ส่วน
คอื สภาบริหาร รัฐสภา และสภาตลุ าการ

สถำนทีส่ ำคัญ

อาคารโรงละครเอสพลานาด เมอร์ไลออน

เกาะเซ็นโตซ่า สวนนกจรู ่ง

เล่มท่ี 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 28

บคุ คลสำคัญ

ลี กวน ยู (Lee Kuan Yew)
นายกรฐั มนตรีคนแรกของสิงคโปร์
ดารงตาแหน่งนานถงึ 31 ปี เป็นผเู้ ปิ ดประเทศ
ทาให้สิงคโปร์มคี วามทดั เทียมกบั นานา
อารยประเทศ เป็นหน่ึงในบุคคลทม่ี อี ทิ ธิพล
ทส่ี ุดของสิงคโปร์และของภมู ิภาคเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้

โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิ ลส์(Thomas Stamford
Bingley Raffles)
ผบู้ ริหารอาณานิคม เป็นผกู้ ่อต้งั เมืองสิงคโปร์ และ
เป็นคนแรกทร่ี ่างรัฐธรรมนูญฉบบั แรกของสิงคโปร์
เม่ือ พ.ศ. 2366 เพ่อื สร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อย
สร้างศลี ธรรม หา้ มการพนนั และการคา้ ทาสใน
ประเทศสิงคโปร์ นอกจากน้ีเขายงั นาบริษทั บริติชอนิ
เดียวเขา้ มาต้งั ด่านสินคา้ ทาใหป้ ระเทศสิงคโปร์
กลายเป็นศูนยก์ ลางทางการคา้ ทีส่ าคญั

คำถำมกรอบที่ 11

1. ประเทศสิงคโปร์มีการปกครองรูปแบบใด
........................................................................................................................................

2. ประมขุ ของรฐั มวี าระดารงคต์ าแหน่งก่ีปี .....................................................................

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 29

เฉลยกรอบที่ 11

1. ประเทศสิงคโปร์มกี ารปกครองรูปแบบใด
....ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมขุ ของรฐั ...

2. ประมขุ ของรฐั มีวาระดารงตาแหน่งกี่ปี
...............มีวาระดารงตาแหน่ง 6 ปี ..............

ไม่ยากเกินไปใช่ไหมคะ
พร้อมแลว้ ศึกษากรอบตอ่ ไปเลยคะ่

ควำมรู้เพิ่มเติม

นำยโทนี ตัน ประธำนำธิบดี

ประเทศสิงคโปร์ ปกครองในระบอบ
สาธารณรัฐประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นประมุข
ประธานาธิบดีคนปัจจุบนั คอื นายโทนี ตนั เค็ง ยมั
ปัจจุบนั อายุ 72 ปี เพ่ิงดารงตาแหน่งประธานาธิบดี เมื่อ
วนั ท่ี 1 กนั ยายน พ.ศ. 2554 หลงั จากทาคะแนนเฉือน
ชนะคู่แข่งในการเลอื กต้งั ประธานาธิบดีสิงคโปร์ ไป
เพียง 0.34% จึงไดด้ ารงตาแหน่งประธานาธิบดี
สิงคโปร์ คนที่ 7 นบั แตน่ ้นั มา

เล่มท่ี 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 30

ประเทศอนิ โดนเี ซีย กรอบท่ี 12

ที่มำ http://71104148.thaischool.in.th/data_89801 ทม่ี า http://www.toasean.com/แผนที่10ประเทศอาเซียน

ข้อมูลพื้นฐำน

ช่ือทำงกำร : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
เมืองหลวง : จาการ์ตา (Jakarta)
ศำสนำประจำชำติ : ศาสนาอสิ ลาม
ดอกไม้ประจำชำติ : กลว้ ยไมร้ าตรี (Moon Orchid)
วนั ชำติ : 17 สิงหาคม
วนั ท่ีเป็ นสมำชิกอำเซียน : 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 (สมาชิกกอ่ ต้งั )
ภำษำประจำชำติ : ภาษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia)
ภำษำรำชกำร : ภาษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia)

คำถำมกรอบท่ี 12

เมืองหลวงของประเทศอนิ โดนีเซีย คือ
................................................................................................

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 31

เฉลยกรอบท่ี 12

เมืองหลวงของประเทศอนิ โดนีเซีย คือ
...........จาการ์ตา (Jakarta)..........

เก่งจงั เลย ตอบถูกอกี แลว้
พร้อมแลว้ ศกึ ษากรอบตอ่ ไปเลยคะ่

ควำมรู้เพม่ิ เติม

❖ อินโดนีเซียมีภาษาพ้ืนเมอื งมากกวา่ 583 ภาษา
และภาษพ้นื เมืองท่นี ิยมใชม้ ากทส่ี ุด คอื ภาษาจาวา

❖ ประเทศอนิ โดนีเซียมีพ้นื ทม่ี ากกว่าประเทศไทยเกือบ 1 เท่า
❖ สานกั งานใหญข่ องอาเซียนต้งั อยทู่ ่ีกรุงจาการ์ตา

เล่มท่ี 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 32

ประชำกร กรอบที่ 13

มีประชากรประมาณ 245 ลา้ นคน ประชากรมคี วามหลากหลายทางเช้ือชาติ ทีม่ ีมากท่สี ุดคอื จาวา
รองลงมาคอื ซุนดา มาดู มาเลย์ และยงั มีชนชาตพิ ้ืนเมืองอ่นื ๆ ท่ีกระจายกนั อยตู่ ามเกาะตา่ ง ๆ

กำรเมืองกำรปกครอง

ปกครองแบบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นประมุข และหัวหนา้ ฝ่ายบริหาร
รวมท้งั เป็นผบู้ ญั ชาการเหล่าทพั โดยมีวาระการบริหารงาน 5 ปี และอยใู่ นตาแหน่งตดิ ตอ่ กนั ไดไ้ มเ่ กิน
2 สมยั สาหรบั รัฐสภา จะประกอบดว้ ยสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร และสมชิกสภาผแู้ ทนระดบั ภาค ซ่ึงการ
ปกครองส่วนทอ้ งถ่ินน้นั จะมีสภาประชาชนระดบั ทอ้ งถ่นิ

สถำนที่สำคญั

อทุ ยานแห่งชาติโคโมโด มหาสถูปบโุ รพุทโธ หรือบรมพุทโธ

บคุ คลสำคัญ

ซูกำร์โน (Sukarno)
ประธานาธิบดีคนแรกของอินโดนีเซีย มีส่วนสาคญั ในการประกาศเอกราชของ
อินโดนีเซียต่อประเทศเนเธอร์แลนด์ ดารงตาแหน่งยาวถึง 22 ปี จนถูกบีบให้
ลงจากอานาจจากนายพลซูฮาร์โต

คำถำมกรอบท่ี 13

1. ประเทศอินโดนีเซียมกี ารปกครองรูปแบบใด
........................................................................................................................................

2. ประชากรของประเทศอินโดนีเซียมีความหลากหลายทางเช้ือชาติ เช่น
...............................................................................................................................................

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 33

เฉลยกรอบที่ 13

1. ประเทศอนิ โดนีเซียมีการปกครองรูปแบบใด
.....ปกครองแบบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย มปี ระธานาธิบดีเป็นประมขุ ....

2. ประชากรของประเทศอินโดนีเซียมคี วามหลากหลายทางเช้ือชาติ เช่น
............จาวา รองลงมาคือ ซุนดา มาดูมาเลย์ และยงั มชี นชาตพิ ้ืนเมืองอ่นื ๆ..........

เกง่ จงั เลย ตอบถกู อีกแลว้
พร้อมแลว้ ศึกษากรอบต่อไปเลยคะ่

ควำมรู้เพม่ิ เตมิ

โมฮัมหมดั ฮตั ตำ (Mohammad Hatta)
ผนู้ าการเคลื่อนไหวและผรู้ ่วมอดุ มการณ์ในการกอบกเู้ อกราชกบั ซูการ์โน
เป็ นนายกรัฐมนตรีคนแรกและรองประธานาธิบดีของประเทศ

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 34

ประเทศบรูไน กรอบที่ 14

ทีม่ ำ http://71104148.thaischool.in.th/data_89801 ทม่ี า http://www.toasean.com/แผนท1่ี 0ประเทศอาเซียน

ข้อมลู พืน้ ฐำน

ช่ือทำงกำร : บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Dasussalam)
เมืองหลวง : บนั ดาร์เสรีเบกาวนั (Bundar Sesi Bagawan)
ศำสนำประจำชำติ : ศาสนาอสิ ลาม
ดอกไม้ประจำชำติ : ดอกซิมปอร์ (Simpor)
วันชำติ : 23 กมุ ภาพนั ธ์
วันท่ีเป็ นสมำชิกอำเซียน : 7 มกราคม พ.ศ. 2527
ภำษำประจำชำติ : ภาษามาเลย์ (Bahasa Melaysia)

ภำษำรำชกำร : ภาษามาเลย์ (Bahasa Melaysia)

คำถำมกรอบท่ี 14

คำชีแ้ จง ใหข้ ดี เสน้ ใตข้ อ้ ความในวงเลบ็ ทีเ่ ป็นคาตอบที่ถูกตอ้ ง
ภาษาใดเป็นภาษาประจาชาติของประเทศบรูไน คอื

(องั กฤษ , มลายู , มาเลย)์

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 35

เฉลยกรอบท่ี 14

คำชี้แจง ให้ขีดเสน้ ใตข้ อ้ ความในวงเลบ็ ทเ่ี ป็นคาตอบที่ถูกตอ้ ง

ภาษาใดเป็นภาษาประจาชาตขิ องประเทศบรูไน คือ
(องั กฤษ , มลายู , มาเลย)์

เกง่ จงั เลย ตอบถกู อีกแลว้
พร้อมแลว้ ศึกษากรอบตอ่ ไปเลยค่ะ

ควำมรู้เพมิ่ เตมิ

❖ พ้ืนที่ของประเทศบรูไน คดิ เป็ นร้อยละ 2 ของพ้นื ท่ีประเทศไทย
❖ พ้นื ท่ีส่วนใหญข่ องประเทศบรูไน เป็นป่ าไมเ้ ขตร้อน

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 36

ประชำกร กรอบที่ 15

มปี ระชากรประมาณ 401,890 คน ส่วนใหญม่ เี ช้ือชาตมิ ลายู รองลงมาคอื จีน และชาวพ้นื เมือง

กำรเมืองกำรปกครอง

ปกครองดว้ ยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ โดยมี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข นายกรัฐมนตรี
และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พระมหากษตั ริย์ของบรูไนจะต้องเป็ นชาวบรูไนเช้ือสายมาเลย์
โดยกาเนิด และนับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ สาหรับพรรคการเมืองจะถูกจากัดบทบาทอย่างมาก
ปัจจุบนั บรูไนแบ่งการปกครองออกเป็น 4 เขต คือ บรูไน-มูอารา เบเลต ตตู ง และเตมบูรง

สถำนท่ีสำคัญ

มสั ยดิ สุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดดิน พระราชวงั อิสตานา นูรัล อีมาน

บุคคลสำคัญ

สมเด็จพระราชาธิบดีฮจั ญี ฮสั ซานลั ลโบลเกียห์ มูอิซซดั
ดิน วดั เดาเลาะห์ (His Majesty Sultan Haji Hassanal
Bolkiah Mu'izzaddin Waddaulah) เป็นหน่ึงในกษตั ริย์
ท่คี รองราชยย์ าวนานทส่ี ุดของโลก โดยข้นึ ครองราชยเ์ มอื่
วนั ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2510

คำถำมกรอบท่ี 15

1. ประเทศบรูไนมกี ารปกครองรูปแบบใด
........................................................................................................................................

2. ปัจจบุ นั บรูไนแบ่งการปกครองออกเป็น 4 เขต คอื
...............................................................................................................................................

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 37

เฉลยกรอบที่ 15

1. ประเทศบรูไนมีการปกครองรูปแบบใด
.......ปกครองดว้ ยระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ โดยมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข......

2. ปัจจุบนั บรูไนแบง่ การปกครองออกเป็น 4 เขต คือ
..............บรูไน-มอู ารา เบเลต ตตู ง และเตมบูรง................

เก่งจงั เลย ตอบถูกอกี แลว้
พร้อมแลว้ ศกึ ษากรอบต่อไปเลยค่ะ

เล่มที่ 5 การพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 38

ประเทศเวยี ดนำม กรอบที่ 16

ท่ีมำ http://71104148.thaischool.in.th/data_89801

ข้อมลู พืน้ ฐำน ทมี่ า http://www.toasean.com/แผนท่ี10ประเทศอาเซียน

ช่ือทำงกำร : สาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม (Sosialist Republic of Vietnam)
เมืองหลวง : ฮานอย (Hanoi)
ศำสนำประจำชำติ : ไมม่ ศี าสนาประจาชาติ ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ และคริสต์
ดอกไม้ประจำชำติ : ดอกบวั (Lotus) หรือดอกไมแ้ ห่งรุ่งอรุณ
วันชำติ : 2 กนั ยายน
วันที่เป็ นสมำชิกอำเซียน : 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
ภำษำประจำชำติ : ภาษาเวยี ดนาม
ภำษำรำชกำร : ภาษาเวยี ดนาม

คำถำมกรอบที่ 16

ชื่อทางการของประเทศเวยี ดนาม คือ
................................................................................................

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 39

เฉลยกรอบที่ 16

ชื่อทางการของประเทศเวียดนาม คือ
........สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม (Sosialist Republic of Vietnam)..............

เกง่ จงั เลย ตอบถกู อีกแลว้
พร้อมแลว้ ศกึ ษากรอบตอ่ ไปเลยค่ะ

ควำมรู้เพม่ิ เติม

บริเวณสามเหล่ยี มปากแม่น้าโขงหรือท่รี ู้จกั กนั ในช่ือ
“ก๋ลู องยาง (Cuu Long Giang)” เป็นแหล่งเพาะปลกู สาคญั
ทมี่ ีขนาดใหญ่ทีส่ ุดของเวียดนาม

เล่มที่ 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 40

ประชำกร กรอบท่ี 17

มจี านวนประชากร 86 ลา้ นคน ส่วนใหญ่เป็นชาวเวยี ด รองลงมาจะเป็นชนกลุ่มนอ้ ย ชาวเขา
และชาวเขมร

กำรเมืองกำรปกครอง

เวียดนามปกครองดว้ ยระบอบสังคมนิยม โดยมพี รรคคอมมวิ นิสตเ์ วียดนาม เป็นพรรคการเมือง

เพยี งพรรคเดียวในประเทศ โครงสร้างการปกครองของเวียดนามแบง่ ออกเป็น 3 ระดบั คือ

สภาแห่งชาติ องคก์ รฝ่ายบริหาร รัฐบาลทอ้ งถิ่น

สถำนที่สำคญั

อา่ วฮาลองเบย์ เมอื งโบราณฮอยอนั สุสานโฮจิมินห์

บุคคลสำคัญ

โฮจมิ ินห์ (Ho Chi Minh)

นกั ปฏวิ ตั ิผูย้ ่ิงใหญ่ของเวยี ดนาม เป็นผูน้ าการยึดครอง
ของฝรงั่ เศสและเรียกร้องเอกราชให้กบั ประเทศเวียดนาม
เป็นผรู้ วมเวียดนามให้เป็นหน่ึงเดียวกนั และหลงั จากสิ้นสุดสงครามเวียดนาม
กม็ ีการเปล่ียนช่ือไซ่งอ่ น(Saigon) เป็นโฮจิมนิ ห์ ซิตี (Ho Chi Minh City)

คำถำมกรอบท่ี 17

1. ประเทศเวียดนามมกี ารปกครองรูปแบบใด
........................................................................................................................................

2. โครงสร้างการปกครองของเวียดนามแบง่ ออกเป็น 3 ระดบั คือ
...............................................................................................................................................

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 41

เฉลยกรอบที่ 17

1. ประเทศเวียดนามมกี ารปกครองรูปแบบใด
ระบอบสังคมนิยม โดยมพี รรคคอมมิวนิสตเ์ วยี ดนาม เป็นพรรคการเมอื ง

เพียงพรรคเดียวในประเทศ
2. โครงสร้างการปกครองของเวยี ดนามแบ่งออกเป็น 3 ระดบั คอื สภาแห่งชาติ

สภาแห่งชาติ องคก์ รฝ่ายบริหาร รัฐบาลทอ้ งถิน่

เกง่ จงั เลย ตอบถูกอีกแลว้
พร้อมแลว้ ศึกษากรอบตอ่ ไปเลยค่ะ

ควำมรู้เพม่ิ เตมิ

นำยพล หวอ เหวียนยำบ
(Vo Nguyen Giap)

นกั การทหารผยู้ ิง่ ใหญข่ องกองทพั เวียดนามและของ
โลก เป็นผบู้ ญั ชาการรบในสงครามและเป็นมือขวาคนสาคญั ของโฮจิมินห์

เล่มท่ี 5 การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 42

ประเทศเมียนมำร์ กรอบท่ี 18

ทม่ี ำ http://71104148.thaischool.in.th/data_89801 ท่ีมา http://www.toasean.com/แผนท1ี่ 0ประเทศอาเซียน

ข้อมลู พื้นฐำน

ช่ือทำงกำร : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์
(Republic of the Union of the Myanmar)
เมืองหลวง : เนปิ ดอร์ (Nay Pyi Taw) เมืองหลวงเดิมคอื ยา่ งกงุ้
ศำสนำประจำชำติ : ศาสนาพทุ ธ
ดอกไม้ประจำชำติ : ดอกประดู่ (Padauk)
วนั ชำติ : 4 มกราคม
วันท่ีเป็ นสมำชิกอำเซียน : 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540
ภำษำประจำชำติ : ภาษาเมียนมาร์
ภำษำรำชกำร : ภาษาเมยี นมาร์

คำถำมกรอบที่ 18

ช่ือทางการของประเทศพม่า คอื
................................................................................................


Click to View FlipBook Version