The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by econmass, 2024-05-21 05:16:17

รายงานประจำปี 2566

Econmass Annual Report 2566

Keywords: Annual Report

รายงานประจำป สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ ป 2566 ECONMASS ANNUAL REPORT 2023


ECONMASS ANNUAL REPORT 2023 สารบัญ


ECONMASS ANNUAL REPORT 2023 สารบัญ 04 : ประวัติความเปนมา สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ 08 : คณะกรรมการบริหาร 10 : ประกวดบทความ 22 : กิจกรรมตลอดป 2566 68 : ทำเนียบสมาชิก 125 : งบสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ 138 : สวัสดิการสมาชิก 06 : สารจากนายกสมาคม


4 จุดประกายความคิดกอตั้ “ชมรมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ” เกิดขึ้นในวงสนทนากลุมเพื่อนพองนักหนังสือพิมพ ใตตนจามจุรี สวนลุมพินีของนักหนังสือพิมพ 5 ทาน อันประกอบดวย ศุภเกียรติ ธารณกุล ในสมัยนั้นอยูหนังสือพิมพเดลิไทม แตปจจุบันอยูไทยรัฐ ปรีชา จิรวงศไพโรจน แหงไทยรัฐ เจียม จีระรมย แหงขาวพาณิชย ภาษิต สุขสวาง แหง ประชาธิปไตย และวิฑู รักมาก แหงเดอะเนชั่นรีวิว ดวยความคิดที่วา “ขาวเศรษฐกิจเปนเพียงขาวแทรก อยูในหนาการเมือง ในกรณีที่ขาวการเมืองไมพอปดหนาเทานั้น จึง ถึงเวลาแลวที่ตองยกระดับการทำขาวเศรษฐกิจเสียที” จากคำพูด และแนวคิดของ ศุภเกียรติ ธารณกุล หนึ่งในผูกอตั้งชมรมผู สื่อขาวเศรษฐกิจ ที่เคยกลาวไว การพบปะระหวางคนทำหนังสือพิมพ 15 ชีวิตจาก หนังสือพิมพ 9 ฉบับในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2519 ซึ่งถือเปน จุดเริ่มตนครั้งสำคัญเพราะสามารถเรียกการรวมตัวครั้งนี้ไดอยาง เต็มปากเต็มคำวา “ชมรมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ”โดยมี บัณฑิต รัช วัฒนะธานินทร แหงบางกอกโพสต ซึ่งเปนผูอาวุโส ไดบุกเบิก ขาวดานเศรษฐกิจมานานและยังเปนประธานชมรมคนแรก และเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2521 ชมรมผูสื่อขาว เศรษฐกิจ ไดพัฒนาขึ้นเปน "สโมสรผูสื่อขาวเศรษฐกิจ" จึงยึดเอา วันนี้ เปนวันกอตั้งอยางเปนทางการ ซึ่งเปนวันที่นายทะเบียนสมาคม กรุงเทพมหานคร และกองบังคับการตำรวจนครบาลอนุมัติการจด ทะเบียนกอตั้ง กระทั่งในป 2539 ไดยกระดับฐานะของสโมสร ผู สื่อขาวเศรษฐกิจขึ้นเปน"สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ" ที่มาของสัญลักษณ สมาคมฯ นั้น เปนการนำเอา “เรือสำเภาจีนและฟนเฟองครึ่งซีก” มาผนวกเขาดวยกัน เนื่องจากเรือสำเภาจีนนั้น มีความสำคัญตอการพาณิชยในระยะ บุกเบิกของธุรกิจระหวางประเทศ ซึ่งมีเรือสำเภาจีนเขามาคาขาย กับไทยตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 3 และเรือยังเปนสัญลักษณของการ พาณิชยตาง ๆ แมกระทั่งกระทรวงพาณิชย , คณะพาณิช ยศาสตรและการบัญชี ก็ใชเรือเปนสัญลักษณมาชานานแลว สวนฟนเฟองนั้น ถือวาเปนเครื่องมือสำคัญของการ อุตสาหกรรมจึงนำเอาสองอยางนี้ ผสมเขาดวยกันเปนตนแบบ เขียนชื่อภาษาไทยและอังกฤษ ของสมาคมฯ ลอมรอบ ประวัติความเปนมา สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ


5 คณะกรรมการบริหารสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ จะตองไมต่ำกวา 7 คน แตไมเกิน 11 คน โดยการคัดเลือกจากสมาชิกสามัญ สมาคมฯ ในการประชุมใหญสามัญประจำปของแตละป และอยูในตำแหนง คราวละ 1 ป ซึ่งประกอบดวย อยางไรก็ตาม ไมวาเศรษฐกิจจะเปนอยางไร สมาคมฯ ก็ยังคงเดิม ตามแนวทางหลักอันประกอบดวย 3 สวนคือ 1. การพัฒนาวิชาชีพใหแกผูสื่อขาวสายเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง 2. การบริการดานสวัสดิการแกสมาชิก 3. การบริการสังคมเพื่อเปนตัวกลางสื่อความถูกตองอันเปนธรรม ของสังคม การเดินทางอันยาวนานขึ้นปที่ 30 ของสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ บนเรือสำเภาจีนและฟนเฟองครึ่งซีก อันเปนสัญลักษณของสมาคม จึงเปนการรวมกันสานฝน และสืบทอดเจตนารมณการทำขาวดานเศรษฐกิจใหเติบโตและได ยืนยาวตามความคิดของผูกอตั้งมาจนถึงบัดนี้ได วัตถุประสงคสมาคม 1. นายกสมาคม 2. อุปนายก 3. เลขาธิการ 4. เหรัญญิก 5. นายทะเบียน 6. ปฏิคม 7. ประชาสัมพันธ 8. กรรมการวิชาการ 1. เพื่อสงเสริม สนับสนุน และชี้แนะใหการประกอบวิชาชีพของผูสื่อขาวเศรษฐกิจเปนไปโดยถูกตองตามหลัก วิชาการและมีจรรยาบรรณ โดยคำนึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติเปนหลัก 2. เพื่อชวยเหลือมวลสมาชิกของสมาคมฯ แกไขอุปสรรคขอขัดของตาง ๆ ในการประกอบวิชาชีพ และใหความ ชวยเหลือสวัสดิการแกสมาชิก 3. เพื่อเปนสื่อกลางในการประสานความรวมมือกับรัฐบาลและองคกรโดยชอบดวยกฏหมายของเอกชน และเปน ศูนยกลาง ที่จะประสานความรวมมือกับภาครัฐบาล ในการแกไขปญหาเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนติดตามขาวสาร ความเคลื่อนไหวของสภาวะเศรษฐกิจ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพื่อประโยชนในทางเศรษฐกิจ 4. เพื่อสงเสริมความสามัคคีในมวลสมาชิกสมาคมฯ และการประนีประนอมขอพิพาทที่เกิดขึ้น ระหวางสมาชิก นอก จากนี้ไมมีวัตถุประสงคในการจัดตั้งโตะบิลเลียดและการพนันทุกชนิด ตลอดจนไมมีวัตถุประสงคเกี่ยวกับการเมือง


6 สารจาก นายกสมาคม กฤษณะพงศ พงศแสนยากร นายกสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ 2566 จะเดินหนาดูแล “สวัสดิการ สุขภาพ องคความรู คุณคาวิชาชีพ” ตามที่คณะกรรมการสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ ประจำป 2566 ไดประกาศ นโยบายในโอกาสรับตำแหนง พรอมทีมกรรมการรวม 11 คนวา จะเดินหนาดูแล “สวัสดิการ สุขภาพ องคความรู คุณคาวิชาชีพ” ให แกสมาชิก เปนที่มา ซึ่งตลอดทั้งป 2566 จนถึงตนป 2567 สมาคมฯผลักดันโครงการดีๆ กวา 20 โครงการ ใหแกสมาชิก ที่สอดคลองกับนโยบายของคณะกรรมการ เริ่มตันจากโครงการ โครงการ DLT-ECO DRIVE ขับขี่ปลอดภัยอุนใจผูใชถนน ซีซั่น 2 นับเปนโครงการ แรกที่กรรมการสมาคม รวมกับกรมการขนสงทางบก เพื่ออำนวยความสะดวกใหสมาชิก เขาสูการอบรมความ ปลอดภัยในการขับขี่รถ และสอบใบอนุญาต อยางครบ ถวน ตามตอดวยโครงการสำคัญ สอดคลองกับวาระ ประเทศในป 2566 ที่ประเทศไทย มีการเลือกตั้งใหญ ทั่วไป สมาชิกสภาผูแทนราษฎร การจัดงานสัมมนาโคง สุดทาย เลือกตั้ง 66 ดีเบต…นโยบายเศรษฐกิจ กับ 9 พรรคการเมือง จึงเปนหนึ่งในกิจกรรม ที่มุงยกระดับ คุณคาวิชาชีพ ผูสื่อขาวเศรษฐกิจ ของสมาคมฯ เปนที่ ยอมรับตอสังคมภายนอก


7 โครงการที่มุงดูแล สวัสดิการ ชองทางเพิ่มรายไดชวยคา ครองชีพสมาชิก เชน โครงการทุนการศึกษาบุตร-ธิดาและสวัสดิ การสมาชิกสมาคม, โครงการคนขาวขายของ “ตลาดนัดนักขาว #5” กลุมโครงการที่พุงเปา เพิ่มทักษะความสามารถแกสมาชิก เชน โครงการเสริมสรางบุคลิกภาพ “ปรับลุค เปลี่ยนบุคลิก พลิก ชีวิตสูความสำเร็จ” โครงการพัฒนาศักยภาพผูสื่อขาวเศรษฐกิจ ระดับสูงหรือพศส. ประจำป 2566 โครงการอบรม “สุดยอดนักขาวสายพันธุดิจิทัล #1” เพื่อยกระดับองคความรูกาวสูยุคดิจิตอล ใหแกสมาชิกพัฒนา ตนเองจากผูสื่อขาว สูผูสรางคอนเทนทในโลกออนไลน ตอยอด วิชาชีพ สรางรายไดที่ยั่งยืน โครงการประกวดบทความขาวเชิง วิเคราะหชิง “รางวัลบทความปวย อึ๊งภากรณ” และทุนปริญญาโท จากสถาบันการจัดการปญญาวิวัฒน ทุนปริญญาโท มหาวิทยาลัย หอการคาไทย การสนับสนุนทุนการศึกษาอบรมอาชีพเสริม ใน โครงการ “ทุนอบรมเสริมสรางอาชีพ Upskill Reskill” โครงการสัมมนาใหญประจำป 2566 โครงการคัดเลือกสุด ยอดผูนำองคกรภาคเอกชนหรือสุดยอดซีอีโอ ประจำป 2023 เปนอีกหนึ่งโครงการวิชาการสำคัญ ที่สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ แสดงถึงคุณคาวิชาชีพ อันเปนที่ยอมรับ ในการรวมกับพันธมิตร ทั้งคณะกรรมการรวมภาคเอกชน 3 สถาบันหรือกกร. มหาวิทยาลัย หอการคาไทย สรางดัชนีชี้วัดแกผูนำองคกรธุรกิจภาคเอกชน กลุมโครงการเพื่อสวัสดิการ สันทนาการใหแกสมาชิก เชน โครงการแรลลี่การกุศล “ESG ECONMASS RALLY” ประจำป 2566, กิจกรรม One Day Trip Econmass x GSB เพื่อสังคม โครงการอบรมหลักสูตรการดูแลผูสูงอายุขั้น เบื้องตน CAREGIVER TRAINING COURSE จนถึงกลุมโครงการที่มุงดูแลสุขภาพใหสมาชิก โครงการ Econmass Health & Sports Day 2023 / โครงการ “ECONMASS FIT HERO #2” และเพื่อใหสอดคลองกับ นโยบายของคณะกรรมการในการดูแล สุขภาพที่ดี แกสมาชิก ได มีจัดสวัสดิการตรวจสุขภาพฟรี กับคลินิกแพทยไทยประกันชีวิตฉีด วัคซีนปองกันไขหวัดใหญในงานกีฬา การทำประกันกลุมใหแก สมาชิกกับเมืองไทยประกันชีวิต ความพิเศษในปนี้ เพื่อใหการดูแลประกันสุขภาพแกสมาชิก …ครอบคลุมคาใชจายในการเขาตรวจรักษาและพบแพทยใน โรงพยาบาล,สถานพยาบาล,เครือขายประกันสุขภาพ รองรับคา ใชจายในการตรวจรักษา พบแพทยในโรงพยาบาลเอกชน ที่สถานการณปจจุบันสูงขึ้นตามคาครองชีพ และภาวะเศรษฐกิจ คณะกรรมการปวาระ 2566 ไดอนุมัติการตอประกันสุขภาพให สมาชิก โดยปรับเพิ่มความคุมครองประกันสุขภาพ OPDหรือ ประกันที่คุมครองคาใชจาย ในการรักษาพยาบาลของผูปวยนอกที่ ไมตองนอนพักฟนที่โรงพยาบาล จากเดิมครั้งละ 1,000 บาทเปน ครั้งละ 1,500บาท เพื่อใหสมาชิกมีหลักประกันคุมครองสุขภาพ ที่ดีมากยิ่งขึ้น และอีกหนึ่งภารกิจสำคัญที่คณะกรรมการศ วาระป 2566 ดำเนินการไปคือการเปลี่ยนผานการบริหารจัดการฐานขอมูลของ สมาชิกฯ โดยนำเทคโนโลยีมาใชในการจัดทำฐานขอมูลกลาง ผาน แอพพลิเคชั่น เพื่อใหสามารถอัพเดทฐานขอมูลอยางสม่ำเสมอ สามารถสงตอการบริหารจัดการฐานขอมูลจากกรรมการชุดหนึ่ง ไปสูอีกชุดหนึ่งไดอยางคลองตัว จนทำใหเกิดแอพพลิเคชั่น “ECONMASS” ในเฟสที่ 1 สามารถนำไปตอยอดพัฒนาใน กรรมการชุดตอๆ ไปในอนาคต ซึ่งผลงานการขับเคลื่อนโครงการแกสมาชิกนี้ คณะกรรมการ สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ ตองขอขอบคุณพันธมิตร สปอนเซอร ผูสนับสนุนที่เหนี่ยวแนน และสมาชิกสมาคมทุกทาน ที่เขารวม กิจกรรม เผยแพรขาวสารของสมาคมตลอด 1 ปที่ผานมา กฤษณะพงศ พงศแสนยากร นายกสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจวาระ 2566


8 คณะกรรมการ บริหารป 2566 1.นายกฤษณะพงศ พงศแสนยากร นายกสมาคมฯ สำนักขาวไทย อสมท 2.นางสาววิภาพร จิตสมบูรณ อุปนายก 1 โทรทัศนเนชั่นทีวี 3.นางสาวกษมา ศิริกุล อุปนายก 2 หนังสือพิมพประชาชาติธุรกิจ 4.นางสาวประอร นพคุณ อุปนายก 3 หนังสือพิมพไทยรัฐ 5.นางสาวชมพูนุช ภัทรขจี เลขาธิการ สถานีโทรทัศน ชอง 3 6.นางสาวมยุรี ไพบูลยกุลกร เหรัญญิก สถานีโทรทัศน ชอง 7 7.นางสาววชิราภรณ นาสวน นายทะเบียน สถานีโทรทัศน MONO29 8.นางสาวสิริมา ทรงกลิ่น ประชาสัมพันธ สถานีโทรทัศนไทยพีบีเอส 9.นายศักดิ์ชัย อินทรจันทร กรรมการวิชาการ หนังสือพิมพเดลินิวส 10.นายณภัทร พรสินเจริญ กรรมการวิชาการ สถานีโทรทัศน TNN16 11.นายปริวัฒน หินพลอย กรรมการวิชาการ สำนักขาวอีไฟแนนซไทย คณะกรรมการบริหารสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจป 2566


ÕøăòÕĉŝòÕƣþØÓþØûĂÞÞăčïąĕòčæąòæŝþØđòŜčÒąêƣāóāčøöăčþăìƣāÒĂêñĂóÓþØÒƣòƤƣƣòŠìƣāÒĂêÛĆøąæèĆĕûĂÞÞăčïąĕòčæąòêĆĖĎêëèŝăó ďìƣåùćÒúăƣăóöāčþĆóåÕøăòÕĉŝòÕƣþØčØĈĕþêđÓĎöāÓŝþóÒčøŝêÒŜþêæĂåûąêĐÙèĚăìƣāÒĂêñĂó œÞÈÓĦ´Ú£×£ħ͟ĦË ŸÓħ¼ŸƠÈ¢ŸĦÍƠ̜ÄÍ°Ìà¢Ø°Ħ 2 - 100 ØÅ´ ÀħÍ´µÍ² 90 ż̟ƠÛ¯ħ±Ñ¢ÈÍ½Ó ¶Ğ 99 ¯ÔØÀ½Í±ѢÈÍ½Ó ¶Ğ ×ƼͣĦͽExtra Û¼ĦÂĦͥͰϻ¹Ú¯ ÈÈ×£ħͼПÂͼŸÓħ¼ŸƠÈ¢Åӝ»Í¹ÛÂħ


10 จัดโดย สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ รวมกับธนาคาร แหงประเทศไทย จัดตอเนื่องเปนปที่ 17 โดยมี วัตถุ ประสงคเพื่อพัฒนาทักษะในการนำเสนอขาวดานเศรษฐกิจ เพื่อคนในสังคมสวนใหญไดหันมาใหความสนใจกับขาว เศรษฐกิจมากขึ้น โดยบทความที่ไดจากโครงการนี้จะได รับการเผยแพรผานชองทางสื่อตางๆ ทั้งในสวนทีดำเนิน การโดย สมาคมฯ และสื่อตนสังกัดของสมาชิก ซึ่งจะทำ ใหสังคมไดรับรูเกี่ยวกับขาวเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น โครงการดังกลาวทางสมาคมฯ ไดรับการสนับสนุน จากธนาคารแหงประเทศไทย และจากสถาบันปวย อึ๊งภา กรณ ในการใชชื่อ “รางวัลปวย อึ๊งภากรณ” ซึ่งเปนการ เชิดชูเกียรติประวัติ ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ในฐานะที่เปน ปราชญทางเศรษฐกิจ โครงการประกวด “บทความขาวเชิงวิเคราะห” (ลับคมความคิด) ประจำป 2566 รายละเอียดของรางวัล รางวัลที่1 เงินสด 2 หมื่นบาท พรอมโลเกียรติคุณ รางวัลที่2 เงินสด 1 หมื่นบาท พรอมโลเกียรติคุณ รางวัลที่3 เงินสด 7 พันบาท พรอมโลเกียรติคุณ รางวัลชมเชย เงินสด 5 พันบาท พรอมโลเกียรติคุณ สำหรับผลงานที่สงเขาประกวด ในป 2566 มีจำนวน 20 บทความ แบงเปน - สื่อพิมพ จำนวน 9 บทความ - สื่อโทรทัศน จำนวน 6 บทความ - สื่อเว็บไซต จำนวน 5 บทความ


11 คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ 5 ทาน รวมตัดสิน ประกอบดวย ดร.ชญาวดี ชัยอนันต ผูชวยผูวาการ สายองคกรสัมพันธ และโฆษกธนาคารแหงประเทศไทย ดร.มานะ ตรีรยาภิวัฒน รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยหอการคาไทย คุณบัญญัติ คำนูณวัฒน ที่ปรึกษาคณะเจาหนาที่บริหาร บริษัท ซีพี ออลล จำกัด (มหาชน) คุณสุภิญญา กลางณรงค อดีต กสทช. และประธานคณะอนุกรรม การดานการสื่อสารฯ สภาผูบริโภค รศ.ดร.นิพนธ พัวพงศกร นักวิชาการเกียรติคุณสถาบันวิจัยเพื่อ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI)


12 ผลการประกวดบทความป 2566 รางวัลบทความปวย อึ้งภากรณ ประเภทสื่อสิ่งพิมพ รางวัลที่ 1 ไดแก เรื่อง หนี้สาธารณะ พุงสวนทาง พื้นที่การคลัง หดแคบ เมื่อนโยบายประชานิยม เพิ่มความเสี่ยงใหเศรษฐกิจไทย โดย นายนครินทรศรีเลิศ หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ เงินรางวัล 20,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ รางวัลที่ 2 ไดแก เรื่อง เดิมพันชาติดวย ‘ดิจิทัล วอลเล็ต’ ‘โอกาสใหม’ บน ‘กับดัก’ เศรษฐกิจไทย โดย นายพรเทพ อินพรหม หนังสือพิมพขาวสด เงินรางวัล 10,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ รางวัลที่ 3 ไดแก เรื่อง เจาะลึก “Rainbow Economy” เครื่องยนตสีรุงหนุนเศรษฐกิจไทยบานฉ่ำ โดย นายประวิทย พัดลม นิตยสาร Banking & Insurance เงินรางวัล 7,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ ชมเชย ไดแก เรื่อง “ระบบตั๋วรวม” นโยบายขายฝนสูความเหลื่อมลา การใชบริการรถไฟฟาสารพัดสี โดย นางสาวอนัญญา จั่นมาลีหนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจ เงินรางวัล 5,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ ชมเชย ไดแก เรื่อง หนี้ครัวเรือนไทยวาระแหงชาติจับตาผลงานรัฐบาลเศรษฐา แกไขตรงจุดหรือไม โดย นางสาวณัฐชนัน ฐิติพันธรังสฤต หนังสือพิมพมติชน เงินรางวัล 5,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ ประเภทสื่อโทรทัศน รางวัลที่ 1 ไดแก เรื่อง ยุทธการปราบ “บัญชีมา” ตัดแขนขา “แกงคอลเซนเตอร โดย ทีมขาวเศรษฐกิจ สถานีโทรทัศน MONO29 เงินรางวัล 20,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ รางวัลที่ 2 ไดแก เรื่อง ของมันตองมี” กอหนี้ครัวเรือน ฉุดเศรษฐกิจไทย โดย ทีมขาวเศรษฐกิจ สถานีโทรทัศน PPTV HD 36 เงินรางวัล 10,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ รางวัลที่ 3 ไดแก เรื่อง มหากาพยหมูเถื่อนบอนทำลายระบบเศรษฐกิจ โดย นายธนนชัย กุลสิงห์ สถานีโทรทัศน ThaiPBS เงินรางวัล 7,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ ชมเชย ไดแก เรื่อง จี้รัฐแกระเบียบโซลารภาคประชาชน ทางเลือกลดคาไฟแพง โดย นางสาวเยาวลักษณโบราณมูล สำนักขาวไทย อสมท. เงินรางวัล 5,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ ชมเชย ไดแก เรื่อง ทางออกแกปญหาหนี้ครัวเรือน-หนี้เกษตร โดย นางสาวขนิษฐา อมรเมศวรินทร สำนักขาวไทย อสมท. เงินรางวัล 5,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ ประเภทสื่อเว็บไซต รางวัลที่ 1 ไดแก เรื่อง หนี้ครัวเรือนไทย แกไดอยางยืน ดวยการวางแผนการเงิน โดย นายณัฐเศรษฐ ตุยดา สำนักขาวอีไฟแนนซไทย เงินรางวัล 20,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ รางวัลที่ 2 ไดแก เรื่อง รูทัน ภัยไซเบอรทางการเงิน โดย นางสาวกรณัช พลอยสวาท สำนักขาวอีไฟแนนซไทย เงินรางวัล 10,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ รางวัลที่ 3 ไดแก เรื่อง ขาวไทย นาหวง หยุดพัฒนา ชาวนาใชพันธุเพื่อนบานปลูกแทน โดย นางสาวศรีอรุณ จังติยานนท์ สถานีโทรทัศน ThaiPBS เงินรางวัล 7,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ ชมเชย ไดแก เรื่อง หางฯลน คนกระจุก สถานการณสังคมเมืองที่กรุงเทพ ไรทางเลือก โดย นางสาวรัสรินทรอรุณอิทธิวิทย์ เว็บไซต www.branbuffet.in.th เงินรางวัล 5,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ ชมเชย ไดแก เรื่อง มูแลนด Soft Power แสนลาน แหลงทองเที่ยวเชิงศรัทธา วิน วิน ถวนหนา ตองไปทางไหน โดย นางสาวพารนีปทมานันทนิตยสาร เสนทางเศรษฐีออนไลน เงินรางวัล 5,000 บาท พรอมโลเกียรติคุณ


14 หนี้สาธารณะ พุงสวนทาง พื้นที่การคลัง หดแคบ เมื่อ นโยบายประชานิยม เพิ่มความ เสี่ยงใหเศรษฐกิจไทย ป 2566 เปนปที่ประเทศไทยมีการเลือกตั้งทั่วไปพรรค การเมืองสวนใหญหาเสียงกันอยางเขมขนดวย “นโยบาย ประชานิยม” มีขอเสนอจากพรรคการเมืองในการใชงบ ประมาณจำนวนมหาศาลเพื่อทำโครงการแจกเงินรวมทั้งเพิ่ม สวัสดิการประชาชน แตพรรคการเมืองสวนใหญไมไดชี้แจง ที่มาที่ไปของงบประมาณรายจายที่เพิ่มขึ้น ในงานวิจัยเรื่อง “ขอสังเกตและขอหวงใยตอนโยบายดานเศรษฐกิจและสังคม ของพรรคการเมืองในการเลือกตั้งทั่วไปป 2566” เผยแพร โดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอารไอ) (28 ก.พ.2566) ระบุวามี 2 พรรคการเมืองที่อาจตองใช เงินงบประมาณเพิ่มขึ้นอีกกวา 2 ลานลานบาทตอป เพื่อดำเนิน นโยบายที่ประกาศไว และหากรวมตนทุนดานการคลังของ นโยบายของทั้ง 9 พรรคการเมืองจะตองใชงบประมาณเพิ่มขึ้น อีก 3.14 ลานลานบาทตอปเพิ่มขึ้น เกือบเทาตัวเมื่อเทียบกับ งบประมาณรายจายป 2566 รางวัลที่ 1 ประเภทสื่อสิ่งพิมพ หนี้สาธารณะ พุงสวนทาง พื้นที่การคลัง หดแคบ เมื่อ นโยบายประชานิยม เพิ่มความเสี่ยงใหเศรษฐกิจไทย นายนครินทร ศรีเลิศ หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ วงเงินงบประมาณรายจายที่พรรคการเมืองตางๆ หาเสียงในการเลือกตั้งทั่วไปป 2566 ที่มา : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอารไอ)


15 ตองดึงเอา “ทรัพยากร” ในอนาคตมาใชผานการสราง “หนี้สาธารณะ” เพิ่มเติมซึ่งเปนการบั่นทอนเสถียรภาพทาง การคลังในระยะยาว” (สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ ปวย อึ๊งภากรณ, 4 เม.ย.2566) กอนหนาที่จะเกิดวิกฤติโควิดในป 2563 - 2565 รัฐบาลไดกำหนดเพดานหนี้สาธารณะตอจีดีพีไวที่ไมเกิน 60% ตอจีดีพีและใชมาตอเนื่องยาวนาน แตเมื่อเกิดการ แพรระบาคของโควิด-19 เพดานหนี้สาธารณะในระดับ เดิมไมสามารถรองรับสัดสวนการกอหนี้ใหมไดอีกตอไป ในป 2564 รัฐบาลในขณะนั้นมีการขยายเพดานหนี้สาธารณะ จากระดับไมเกิน 60% ตอจีดีพีมาอยูที่ไมเกิน70% ตอ จีดีพี รัฐบาลใชอำนาจฝายบริหารในออก พระราชกำหนด (พ.ร.ก.) ใหอำนาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อ แกไข ปญหาเยียวยา และฟนฟูเตรษฐกิจและสังคมที่ไดรับผลกระ ทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2363 และฉบับเพิ่มเติมป 2564 รวม 2 ฉบับวงเงินรวม 1.5 ลานลบ. แมวาการขยายเพดานหนี้สาธารณะเพิ่มจาก 60% ตอจีดีพีเปน 70% ตอจีดีพี ในป 2564 จะเปนเรื่องที่ เขาใจไดถึงเหตุผล และความจำเปนในชวงที่เกิดวิกฤติ หาก แตขอเท็จจริงที่มองขามไมได คือประเทศไทยมีระดับหนี้ สารารณะตอจีดีพีเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วมาก จากขอมูล ของสำนักบริหารหนี้สารารณะ (สบน) พบวาในชวงป พ.ศ. 2555 - 2565 หนี้สาธารณะไทยเพิ่มขึ้นจาก 4.9 ลานลบ. เปน 10 ลานลบ. โดยหนี้สาธารณะแตละปเพิ่มขึ้น เฉลี่ยกวา 6.8% (กษิดิ์เคช คำพุช,ก.พ.2566) โดย ขอมูลระดับหนี้สาธารณะของไทยลาสุด ณ เดือน ต. ค. 2566 อยูที่ 11.12 ลานลบ. คิดเปน 62.12%ตอจีดีพี (สบน,ธ.ค.2566) ขณะที่ในเดือนกันยายน 2562 ซึ่ง เปนชวงเวลาที่ยังไมเกิดวิกฤติโควิด-19ขึ้นนั้น หนี้สาธารณะ ของไทยในตอนนั้นมีเพียง 69 ลานลบ. หรือคิดเปน 41.06% ตอจีดีพีเทานั้นแตเมื่อเกิดวิกฤติหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นมา เกิน 10 ลานลบ. สะทอนวาเมื่อเกิดภาวะวิกฤติขนาดใหญ ระดับหนี้สาธารณะตอจีดีพีจะพุงขึ้นอยางรวดเร็วกระทบ กับกรอบความยั่งยืนทางการคลังของประเทศที่คณะกรรม การนโยบายการเงินการคลังรัฐกำหนดไว ทั้งนี้ในระยะ 3 - 5 ปขางหนาระดับหนี้สารารณะตอ จีดีพีของไทยยังไมลดต่ำลงจากระดับปจจุบัน แมเศรษฐกิจ จะขยายตัวไดในะ ระดับ 3 - 5% ตามแผนการคลังระยะ เมื่อมีการจัดตั้งรัฐบาลแลวเสร็จในเดือน ก.ย. 2566 นโยบายประชานิยมที่ไดหาเสียงไวบางนโยบายได กลายมาเปนนโยบายเศรษฐกิจหลักของรัฐบาล พรรคเพื่อ ไทยในฐานะแกนนำจัดตั้งรัฐบาลประกาศเดินหนาโครงการ เติมเงิน 10,000 บาท ผานกระเปาเงินดิจิทัลวอลเล็ต (โครงการดิจิทัลวอลเล็ตฯ) ใหกับคนไทยทุกคนที่มีอายุ 16 ปขึ้นไป ครอบคลุมกลุมเปาหมายประชากร 50 ลานคน นายเศรษฐา ทวีสินนายกรัฐมนตรีและรมว.คลัง แถลงขาว ที่ทำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 10 พ.ย. 2566 วาแหลงที่มา ของเงินที่จะนำมาใชในโครงการนี้ รัฐบาลจะออก พ.ร.บ. เงินกูวงเงิน 5 แสนลานบาท ทำใหเกิดเสียงวิพากษ วิจารณอยางกวางขวาง ทั้งในแงของประสิทธิภาพ ของ นโยบายนี้ในการกระตุนเศรษฐกิจ รวมทั้งยังทำใหสังคม เกิดคำถามตามมาวานโยบายประชานิยมในลักษณะนี้จะ กระทบกับ “ความยั่งยืนทางการคลัง” ของประเทศมาก นอยเพียงใด เครื่องมืออยางหนึ่งที่ใชวัดเสถียรภาพทางกาคลัง คือการประเมิน “พื้นที่การคลัง” หรือ “Fiscal Space” ของประเทศ โดยใชวิธีการคำนวณหาสวนตางระหวางระดับ หนี้สาธารณะตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ที่ เกิดขึ้นในปจจุบัน กับระดับเพดานหนี้สาธารณะตอจีดีพีของ ประเทศ วิธีการนี้ใชแพรหลายมากขึ้น กองทุนการเงิน ระหวางประเทศ (IMF) ใชขอมูลเรื่องพื้นที่การคลังเปน เครื่องมืออยางหนึ่งที่ใชประเมินความเสี่ยง และความยั่งยืน ทางการคลังของประเทศตางๆในโลก (นรพัชร อัศววัลลภ,2556) ขอพิจารณาที่นาสนใจอยางหนึ่งคือพื้นที่การคลัง ของประเทศไทยหดแคบลงมีความสัมพันธกับ“ความเสี่ยง” ทางเศรษฐกิจของประเทศที่เพิ่มขึ้นดวย เนื่องจากการมี พื้นที่การคลังที่จำกัด ขัดกับหลักการความยั่งยืนทางการ คลังที่ระบุวา “..ภาครัฐตองมีการดำเนินนโยบายและการ จัดการพื้นที่ทางการคลังของประเทศอยางเหมาะสมรัฐตอง ลดภาระคาใชจายหรือหาชองทางเพิ่มรายได ไมเชนนั้นรัฐ คุณสมบัติผูไดรับเงินในโครงการเติมเงิน 10,000 บาทผานดิจิทัล วอลเล็ต ที่มา :การแถลงขาวนโยบายโครงการเติมเงินในกระเปาเงินดิจิทัล 10 พ.ย.2567


16 ปานกลางพ.ศ. 2568 - 2571ที่ผานความ เห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี (ครม.) ระบุวหนี้สาธารณะตอจีดีพีของไทย จะอยูที่ 62.719 - 64.23% ตอจีดีพี ซึ่งหากเกิดวิกฤติ ขึ้นก็อาจตองมีการขยายเพดานหนี้สาธารณะออกไปอีก นอกจาก ความเสี่ยงจาก "ภาวะวิกฤติ" ที่อาจเกิด ขึ้น "นโยบายประชานิยม" ก็ เปนอีกปจจัยที่เพิ่มความเสี่ยง ทางการคลังของประเทศได เนื่องจากการใชนโยบายประชา นิยม โดยเฉพาะการกูเงินมาแจกจายเปนการลดพื้นที่การ คลังของประเทศใหเหลือนอยลง นาคารแหงประเทศไทย (ธูปท.) เปดเผยวาหากมีการทำโครงการ ดิจิทัลวอลเล็ตฯ ดวยการกูเงิน สาธารณะตอจิดีที่ของไทยจะเพิ่มขึ้นไปอยู ที่ประมาณ64% ตอจีดีพี (ไทยรัฐออนไลน, 15 พ.ย .2566) “ดนุชา พิชยนันท” เลขาธิการสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคม (สศช.) กลาววาหากระดับหนี้สาธารณะ ของไทยหลังจากการทำโครงการดิจิทัลวอลเล็ตฯขยับไป อยูที่ 64% ตอจีดีพีตามที่ ธปท.ประเมินนั้น สศช.มองวา พื้นที่การคลังที่เหลืออยูในระดับนี้อาจไมเพียงพอที่จะรอง รับวิกฤติ โดยเฉพาะวิกฤติขนาดใหญ เชน ความขัดแยง ทางภูมิรัฐศาสตรที่อาจลุกลามกระทบกับเศรษฐกิจในวง กวาง รวมไปถึงวิกฤติเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้นจากปจจัย ภายนอกประเทศ หรือโรคระบาดที่มีความเสี่ยงจะเกิดถี่ มากขึ้นได เลขาธิการ สศช.ยังชี้ใหเห็นถึงความสำคัญของพื้นที่ การคลังดวยวาเปนเรื่องสำคัญที่จะตองรักษาไวใหเพียง พอ เปน “พื้นที่” (Space) ในการรองรับวิกฤติ เนื่องจาก กอนหนาที่ประเทศไทยจะเจอกับวิกฤตโควิด-19 หนี้ สาธารณะตอจีดีพีของไทย อยูที่ประมาณ 44%ตอจีดีพี เทานั้น ในขณะนั้นยังมีพื้นที่ทางการคลังที่จะรองรับวิกฤติ อยูถึง 16% แตเมื่อเกิดวิกฤติโควิดขึ้นมานั้นจะเห็นวาตอง มีการขยายเพดานหนี้สาธารณะจาก 60% เปน 70%ตอ จีดีพี ขณะที่หากมีการใช พ.ร.บ.กูเงินฯ 5 แสนลานบาทเพื่อ แจกเงินดิจิทัลวอลเล็ต หนี้สาธารณะจะเพิ่มขึ้นเปน 64% ตอจีดีพีซึ่งเทากับวาพื้นที่การคลังของประเทศจะเหลือ เพียง 6% เทานั้นหากเกิดวิกฤติขึ้นแลวรัฐบาลมีความจำ เปนที่จะตองกูเงินมาใชเพื่อรับมือกับภาวะวิกฤติอีก ก็อาจ ตองขยายเพดานหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นจากในระดับปจจุบัน อีก (กรุงเทพธุรกิจ, 21 พ.ย.2566) ไมเพียงแตภาวะวิกฤติที่ทำใหภาครัฐตองกูยืมเงินมา ใชดูแลเศรษฐกิจ และสังคม ที่ทำใหพื้นที่การคลังหดแคบ ลง ในภาพรวมการจัดทำงบประมาณรายจายของประเทศ ในปจจุบันมีโครงสรางที่ทำใหพื้นที่การคลังของประเทศหด แคบลงดวย สวนหนึ่งมาจากรายจายประจำที่เปนงบ ประมาณผูกพันของภาครัฐมีการจัดสวัสดิการทางสังคม ใหแกประชาชนอยางหลากหลาย และตองใชงบประมาณ จำนวนมาก และงบประมาณมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในอนาคต ขอมูลจากรายงานเรื่อง “Social Budgeting : เครื่องมือในการวิเคราะหจัดสวัสดิการทางสังคม” เผยแพร โดย สศช. ระบุวารายจายงบประมาณดานสังคมของไทย มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามแนวโนมนโยบายรัฐในการสรางหลัก ประกันทางสังคมใหกับประชาชน ตัวอยางเชนในป 2564 รัฐบาลมีรายจายดานสังคมมีมูลคากวา 1.16 ลานลาน บาท คิดเปน 7.15% ตอจีดีพี ซึ่งปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอ เนื่องจากระดับ 4.97% ตอจีดีพีในป 2555 โดยเมื่อ พิจารณางบประมาณโครงการดานสังคมของประเทศพบ วาสวนใหญเปนการใหเงินชวยเหลือ และเงินทดแทนราย ได โดยในป 2564 รายจายดังกลาวมีสัดสวนสูงถึง 57% ของรายจายงบประมาณดานสังคมทั้งหมด (สศช.,พ.ย.2566) หากพิจารณาตามสิทธิประโยชนพบวารายจาย ของงบประมาณดานสังคมที่รัฐใหการชวยเหลือมากที่สุด คือการเกษียณอายุ และชวยเหลือกรณีเสียชีวิต โดยมี สัดสวนรายจายอยูที่ 41% รองลงมาเปนรายจายดาน สุขภาพและดานความยากจนที่มีสัดสวนประมาณ 33.7% และ 8.4% ตามลำดับ นอกจากนั้นรายจายของโครงการดานสังคมที่เปน ตัวเงินนอกเหนือจากดานการเกษียณอายุและเสียชีวิตมี แนวโนมเพิ่มขึ้นอยางชัดเจนตลอดระยะเวลา 10 ปที่ผาน มา โดยในป 2555 มีมูลคารวมประมาณ 6 พันลานบาท เพิ่มขึ้นเปน 63,500 ลานบาทในป 2561 ภายหลังจาก การริเริ่มบัตรสวัสดิการแหงรัฐ และปรับตัวสูงขึ้นเปน 1.33 แสนลานบาท ในป 2564 (ภาคผนวกที่6) ชี้ใหเห็น วางบประมาณความชวยเหลือในลักษณะนี้ของภาครัฐมี มากขึ้น และรายจายของโครงการงบประมาณลักษณะนี้ที่มา : รายงานภาวะสังคมไทยไตรมาส 3/2566 สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) โครงสรางรายจายงบประมาณดานสังคม จำแนกตามสิทธิประโยชนป 2564


17 เปนงบประมาณผูกพันคาใชจายภาครัฐในระยะยาว สงผล ใหการขาดดุลงบประมาณเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และสงผล ใหพื้นที่การคลังของประเทศยิ่งหดแคบลง หากภาครัฐไม สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายไดหรือการขับ เคลื่อนใหจีดีพีของประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นไดก็จะยิ่งทำให พื้นที่การคลังลดนอยลงเรื่อยๆ จากการที่ภาครัฐจะตอง ใชงบประมาณขาดดุลตอเนื่องทุกปงบประมาณ ทั้งนี้การมีพื้นที่การคลังหดแคบลงจะสงผลตอการ บริหารเศรษฐกิจของรัฐบาลได เนื่องในปจจุบันจากการ บริหารงานของรัฐบาลจำเปนตองมีความยืดหยุน (Resilience) เพียงพอที่จะรองรับวิกฤติที่จะเกิดขึ้น ใน รายงานเรื่อง “การคลังจะยั่งยืนหรือไม หากนโยบาย เศรษฐกิจไทยยังประชานิยม” ของศูนยวิจัยเศรษฐกิจและ ธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย (SCBEIC) (สมประวิณ มัน ประเสริฐ,มี.ค.2566 ) ระบุวาเมื่อเศรษฐกิจไทยมีพื้นที่ การคลังในการกอหนี้ใหมลดลง ภาครัฐจะขาดความยืด หยุนในการใชจายเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ทำ ใหระบบเศรษฐกิจไทยเปราะบางตอ “ปจจัยเชิงลบ” ที่อยู แวดลอมมากขึ้น ขณะเดียวกันหากมีหนี้สาธารณะในระดับ สูงจะสงผลให ประเทศไทยอาจสูญเสียขอไดเปรียบเทียบ ในการกอหนี้ ณ ตนทุนที่ต่ำ เนื่องจากอัตราดอกเบี้ย พันธบัตรรัฐบาลไทยอางอิงกับผลการจัดอันดับความนา เชื่อถือ (Credit Rating) ซึ่งขึ้นกับระดับหนี้สาธารณะ และความสามารถในการชำระหนี้ของภาครัฐในมุมมองของ นักลงทุนในตางประเทศดวย ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1.ภาครัฐควรลดขนาดนโยบายประชานิยมลง รวม ทั้งลดการใชนโยบาย “อุดหนุน” ที่จะเกิดภาระการคลังระยะ ยาว เชน การอุดหนุนราคาพลังงาน คาไฟฟาหรืออุดหนุน รายไดเกษตรกรผานโครงการตางๆ ทั้งนี้หากจำเปนตอง ใหความชวยเหลือประชาชนดวยการแจกเงิน ไมควรใช นโยบายแบบหวานแหที่ตองใชงบประมาณจำนวนมาก หาก มีความจำเปนตองใชนโยบายลักษณะนี้ควรจำกัดความชวย เหลือเพียงชั่วคราว เปนมาตรการระยะสั้น และชวยเหลือ เฉพาะ “กลุมเปราะบาง” เทานั้น 2.เรงทำโครงการพัฒนาอาชีพ และเพิ่มรายไดผู มีรายไดนอยอยางจริงจัง โดยอาจมุงไปที่กลุมเปาหมายที่ เปนผูไดรับบัตรสวัสดิการแหงรัฐ ซึ่งยังไมไดเขาโครงการ อบรม เพิ่มทักษะอาชีพมากนัก ทั้งนี้ขอมูลจากกระทรวง แรงงานระบุวาโครงการเพิ่มศักยภาพผูมีรายไดนอยที่ลง ทะเบียนในโครงการสรางงาน สรางอาชีพ เพิ่มรายไดและ ความมั่นคงในในชีวิต มีผูมีรายไดนอยที่เขารวมเพียง 2.8 แสนคน จากจำนวนผูถือบัตรสวัสดิการทั้งหมด 13.4 ลานคน (ขอมูล ณ วันที่ 10 พ.ค. 2566) 3.ใหความสำคัญกับการสรางการเติบโตของ เศรษฐกิจอยางยั่งยืน ภาครัฐควรใหความสำคัญกับการขับเคลื่อน การดึงดูดการลงทุนในอุตสาหกรรมเปาหมายที่ไทยมี ศักยภาพ เรงการเปดตลาดการคาใหมๆ เพิ่มการเจรจา เขตการคาเสรี (FTA) ควบคูกับการแกปญหาอุปสรรค ในการทำการคา และการทำธุรกิจ โดยการยกเลิกกฎหมาย ที่เปนอุปสรรคและลาสมัย เพื่อใหจีดีพีขยายตัวตอเนื่อง ชวยใหระดับหนี้สาธารณะตอจีดีพีคอยๆลดลง 4.เพิ่มความสามารถในการจัดหารายไดของภาค รัฐเพื่อรองรับรายจายที่เพิ่มขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะราย จายที่จะเพิ่มขึ้นจากโครงสรางประชากรที่มีผูสูงอายุมาก ขึ้น และประชากรวัยแรงงานลดลง โดยเฉพาะรายไดจาก ภาษีที่อาจจะตองหาฐานภาษีใหม ๆ เขามาเพิ่มรายไดจัดเก็บ เพื่อใหเพียงพอตอลดขนาดการขาดดุลการคลัง เชน ภาษี จาก ฐานสินทรัพย เปนตน ขณะเดียวกันตองปรับปรุง ประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีใหมีประสิทธิภาพ ขณะที่การ กูยืมเงินของภาครัฐที่จะเพิ่มหนี้สาธารณะควรเปนการกู เงินเพื่อลงทุนในโครงสรางพื้นฐานหรือพัฒนา “ทุนมนุษย” ไมใชการกูยืมเงินเพื่อนำมาแจกเพื่อหวังคะแนนเสียง หรือ คะแนนนิยมในระยะสั้น 5.สงเสริมและผลักดัน ใหประชาชนสรางหลักประกัน เพื่อชีวิตในยามเกษียณ โดยการวางแผนการออมและลง ทุนอยางเหมาะสมในชวงที่เพิ่มเริ่มเขาสูวัยแรงงาน เพื่อที่ จะชวยใหภาครัฐสามารถลดรายจายในการดูแลผูสูงอายุ ที่มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นได และ 6. จัดทำฐานขอมูลขนาดใหญ (Big Data) โดยรวบรวมขอมูลของผูไดรับสวัสดิการตางๆ ทั้งงบ ประมาณที่ใชและผูไดรับประโยชน ซึ่งจะชวยใหภาครัฐ สามารถออกแบบมาตรการไดอยางตรงจุด ลดการตก หลนของกลุมเปาหมายและการรั่วไหลของงบประมาณ ทำใหการจัดสรรงบประมาณไปสูเปาหมายไดตรงจุด และ สามารถลดภาระดานงบประมาณของประเทศใหอยูในระดับ ที่เหมาะสมในที่สุด


18 หนี้ครัวเรือนไทย แกไดอยางยืน ดวยการวางแผนการเงิน รางวัลที่ 1 ประเภทสื่อเว็บไซต หนี้ครัวเรือนไทย แกไดอยางยืน ดวยการวางแผนการเงิน “หนี้ครัวเรือน” เปนปญหาใหญที่สะสมมานาน ตัวเลข ลาสุด ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 2566 ครัวเรือนไทยมีหนี้ในระบบ สูงถึง 15.96 ลานลานบาท1 คิดเปน 90.7% ของ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) และหากนำหนี้นอก ระบบ 5.22 ลานลานบาท2 คิดเปนสัดสวนราว 30% ของ จีดีพีมารวมกัน (ป 2565 ตัวเลข GDP ไทยอยูที่ 17.4 ลาน ลานบาท) เทากับวาครัวเรือนไทยมีหนี้มหาศาลถึง 21.18 ลาน ลานบาท คิดเปนสัดสวนสูงถึง 120.7% ของจีดีพี นายณัฐเศรษฐ ตุยดา สำนักขาวอีไฟแนนซไทย


19 ธนาคารแหงประเทศไทยระบุถึงขอเท็จจริง 8 ขอ กับการเปนหนี้ของคนไทย5 ดังตอไปนี้ 1. เปนหนี้เร็ว วัยเริ่มทำงาน (อายุ 25–29 ป) มากกวา 58% เปนหนี้ และมากกวา 25% เปนหนี้เสีย (non-performing loan : NPL) ซึ่งสวนใหญเปนหนี้ บัตรเครดิต หนี้สวนบุคคล และหนี้รถยนต/มอเตอรไซค 2. เปนหนี้เกินตัว เกือบ 30% ของลูกหนี้บัตร เครดิตและหนี้สวนบุคคล มีหนี้เกิน 4 บัญชีตอคน วงเงิน รวมตอคนสูงถึง 10 – 25 เทาของรายไดในแตละเดือน ซึ่งสูงกวาเกณฑของตางประเทศที่หามไมใหมีหนี้เกินกวา 5 – 12 เทาของรายไดตอเดือน จนทำใหรายไดเกินกวา ครึ่งตองเอาไปจายคืนหนี้ 3. เปนหนี้โดยไมไดขอมูลที่ครบถวนหรือถูกตอง ลูกหนี้มักไดรับขอมูลไมครบถวนและไมถูกตอง ทำใหไมรู และไมเขาใจเงื่อนไขการไดรับสินเชื่อ โดยเฉพาะดอกเบี้ย คาธรรมเนียม ทั้งกรณีปกติและกรณีผิดนัดชำระ อีกทั้ง ลูกหนี้บางสวนยังไดรับขอมูลดานเดียว เชน โปรโมชัน ผอนนอย แตไมระบุใหชัดวาตองผอนนาน เปนตน 4. เปนหนี้เพราะมีเหตุจำเปน กวา 62% ของครัว เรือนไทยมีเงินออมเผื่อฉุกเฉินไมเพียงพอ และหากเกิดเหตุ ที่ทำใหรายไดลดลง 20% จะมีครัวเรือนเกินครึ่งที่มีเงิน ไมพอจายหนี้ ทำใหตองไปกูจากทั้งในและนอกระบบเพื่อ ดำรงชีพ และสวนใหญไมสามารถจายคืนไดเพราะรายได ไมแนนอน 5. เปนหนี้นาน มากกวา 1 ใน 4 ของคนอายุเกิน 60 ป ยังมีภาระหนี้ที่ตองผอนชำระ โดยมีหนี้เฉลี่ยสูงกวา 415,000 บาทตอคน ซึ่งสวนใหญเปนหนี้ในภาคเกษตร ที่ไดรับการพักชำระหนี้เปนเวลานาน รวมทั้งหนี้บัตรเครดิต และหนี้สวนบุคคลที่ลูกหนี้มักผอนจายขั้นต่ำ (เกือบ40%) ทำใหหนี้หมดชา หนึ่งในสาเหตุหลักของเหตุการณรุนแรงที่เกิดขึ้น ในครอบครัวมาจากปญหาหนี้ครัวเรือน โดยเฉพาะหนี้ นอกระบบ ซึ่งมักจะเห็นขาวความรุนแรงออกมาอยางตอ เนื่อง กรณีตัวอยางที่สรางความความสะเทือนใจตอคน ไทยคือเหตุการณที่คูสามีภรรยาสูงวัยไดกูเงินนอกระบบ แตสุดทายไมสามารถจายหนี้คืนได จนทำใหผูเปนสามีตอง ตัดสินใจจบชีวิต เพื่อนำเงินกองทุนฌาปนกิจศพมาใชหนี้3 ดานปญหาหนี้ในระบบก็สรางแรงกระเพื่อมตอ สังคมไมแพกัน เชน กรณีหนี้ครู โดยครูไทยราว 9 แสนคน เปนหนี้ในระบบรวมกุนเกือบ 1.4 ลานลาน4 โดยเจาหนี้ รายใหญสุดคือสหกรณออมทรัพยครู ดวยยอดหนี้เกือบ 9 แสนลานบาท คิดเปนสัดสวนถึง 64% สะทอนใหเห็นวา ครูเปนหนึ่งในอาชีพที่เขาถึงแหลงเงินกูไดงาย แตสุดทาย ก็นำมาซี่งปญหาหนี้เกินตัว เพราะขาดความรูและการวาง แผนการเงินที่ดี เขาทำานอง “กำงาย จายตลอดชีวิต”


20 6. เปนหนี้เสีย ลูกหนี้ 10 ลานบัญชีที่เปนหนี้เสีย เกือบครึ่งหรือ 4.5 ลานบัญชี เพิ่งเปนหนี้เสียในชวงโควิด 19 (คิดเปนลูกหนี้ 3.1 ลานคน และมียอดหนี้รวม 4 แสนลานบาท) แบงเปนบัญชีหนี้เสียที่สถาบันการเงิน เฉพาะกิจ (SFIs) 70% ผูใหบริการที่ไมใชสถาบันการ เงิน (นอนแบงก) 20% และธนาคารพาณิชย (ธพ.) 10% ซึ่งสวนใหญเปนหนี้สวนบุคคล และหนี้ในภาคเกษตร 7. เปนหนี้ไมจบไมสิ้น เกือบ 20% ของบัญชีหนี้ เสียถูกยื่นฟอง โดย 1 ใน 3 ของลูกหนี้ในคดีที่จบดวย การยึดทรัพยมาขายทอดตลาดแลวก็ยังปดหนี้ไมได และ อาจถูกอายัดทรัพยเพิ่มเติม 8. เปนหนี้นอกระบบ 42% ของกวา 4,600 ครัว เรือนทั่วประเทศที่ขอรับความชวยเหลือแกหนี้ มีหนี้นอก ระบบเฉลี่ยคนละ 54,300ะ บาท จากการเขาไมถึงหนี้ใน ระบบเพราะมีรายไดไมแนนอน เจาหนี้ไมเห็นขอมูลรายได จึงไมกลาปลอยสินเชื่อ บางสวนเลือกกูนอกระบบเอง เพราะสะดวก ไดเงินเร็ว ไมตองมีหลักประกัน แมดอกเบี้ย จะแพง ตลอดจนใชหรือขอสินเชื่อในระบบเต็มแลว จนตองหันมากูหนี้นอกระบบ จากขอเท็จจริง 8 ขอของการเปนหนี้ของคนไทย โดยภาพรวมจะเห็นวาเบื้องหลังที่แทจริงของการเปนหนี้ มาจากการขาดความรูดานการวางแผนการเงิน โดยเฉพาะ การวางแผนเรื่องหนี้ ขณะที่การแกไขปญหาหนี้ครัวเรือนไทย ไมวาจะผาน มากี่ยุคกี่สมัย มักจะถูกแกปญหาที่ปลายเหตุเปนหลัก สะทอนไดจากตัวอยางดังตอไปนี้ กระทรวงการคลัง ธนาคารแหงประเทศไทย และเจา หนี้มากกวา 60 ราย รวมกันจัด “มหกรรมรวมใจแกหนี้ มีหนี้ตองแกไข เริ่มตนใหมอยางยั่งยืน” ดวยการชวย เหลือลูกหนี้เจรจาไกลเกลี่ยกับเจาหนี้ผานชองทาง ออนไลน6 การจัด “มหกรรมรวมใจแกหนี้สัญจร” ที่นำโดย กระทรวงการคลัง และธนาคารเฉพาะกิจของรัฐ ในทุก ภาคทั่วประเทศ ซึ่งเปนมาตรการไกลเกลี่ยหนี้เชนกัน6 การแกไขหนี้ทั้งระบบของรัฐบาล7 ผานมติความเห็น ชอบของคณะรัฐมนตรี เมื่อ 19 ธ.ค. 2556 มีแนวทาง การแกไขปญหาหนี้ครัวเรือนโดยสรุป ดังนี้ -การไกลเกลี่ยหนี้ -การปรับโครงสรางหนี้ -การใหธนาคารเฉพาะกิจของรัฐปลอยกู เพื่อเพิ่ม การเขาถึงสินเชื่อในระบบ -การสนับสนุนใหเจาหนี้นอกระบบเขามาอยูใน ระบบ จากตัวอยางขางตน จะเห็นวาการแกไขหนี้ครัว เรือนไทยก็ยังเปนการแกไขปญหาที่ปลายเหตุ เชน การพัก ชำระหนี้ การไกลเกลี่ยหนี้ การใหสินเชื่อใหม เปนตน ซึ่งการ แกไขปญหาเหลานี้ไมไดทำใหโครงสรางหนี้ครัวเรือนไทย เปลี่ยนไปจนนำไปสูการแกไขที่ยั่งยืน


21 วิธีการที่จะแกปญหาหนี้ครัวเรือนไทยไดอยางยั่ง ยืน คือการใหความรูเกี่ยวกับการวางแผนการเงินกับคน ไทย ซึ่งการวางแผนการเงินสามารถเริ่มตนไดงาย ๆ ดวย “พีระมิดการเงิน” พีระมิดการเงิน เปนการวางแผนการเงินสวนบุคคล ออกมาในรูปแบบของพีระมิด เพื่อใหเห็นถึงการวางราก ฐานที่เปนสวนสำคัญ แลวไลเปนไปจนถึงจุดสุดทายของ การวางแผน นับเปนหลักการสากลในการวางแผนการเงิน สวนบุคคลที่ใชกันอยางแพรหลายทั่วโลก ขั้นตอนการวางแผนการเงินจากพีระมิดการทางเงิน จะ แบงอออกเปน 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 รูจักตัวเองจากการทำบัญชีรายรับ-รายจาย ขั้นตอนที่ 2 วางแผนจัดการหนี้ไมใหเกินตัว ขั้นตอนที่ 3 เงินสำรองฉุกเฉินสำหรับเหตุการณไมคาดฝน ขั้นตอนที่ 4 สงตอความเสี่ยงดวยการทำประกัน ขั้นตอนที่ 5 วางแผนเกษียณเพื่อชีวิตปนปลายที่มีความสุข ขั้นตอนที่ 6 วางแผนลงทุน “เงินตอเงิน” ใหเงินทำงาน จะเห็นวา 3 ขั้นตอนแรกเปนรากฐานสำคัญของการ วางแผนการเงินที่ทุกคนเขาใจเปนความรูพื้นฐานในการใช ชีวิต โดยเฉพาะขั้นตอนที่ 2 วางแผนจัดการหนี้ไมใหเกิน ตัว หากคนไทยรู เขาใจ และนำไปใชไดอยางถูกตอง เราจะ สามารถแกปญหาหนี้ครัวเรือนไดอยางยั่งยืน การวางแผนจัดการหนี้ไมใชเรื่องยาก หากทุกคน ตระหนักและใหความสำคัญ นอกจากจะชวยแกปญหาหนี้ ไดแลว ยังชวยปองกันไมใหเกิดปญหาหนี้ใหม หรือปญหา หนี้เกินตัวไดอีกดวย สามารถตรวจสอบไดจากอัตราสวน เรื่องหนี้เบื้องตน 3 ขอได โดยจะเห็นวาไมใชเรื่องยากเลย หากคนไทยมีความรูและเขาใจอยางถูกตอง คนไทยจะระวัง การกอหนี้เกินตัว การจัดการหนี้จะอยูบนพื้นฐานที่ถูก ตอง ในระดับที่เหมาะสมตามฐานะการเงินของแตละคนสุด ทายแลวจะชวยแกปญหาหนี้เกา ปองกันปญหาหนี้ใหมจน นำไปสูการแกปญหาหนี้ครัวเรือนไดอยางยั่งยืน การวางแผนการเงินเปนเรื่องพื้นฐานที่สามารถให ความรูไดตั้งแตเด็ก ในหองเรียนมัธยมก็สามารถบรรจุ เปนวิชาพื้นฐานไดแลว หรืออยางนอยก็ควรสอนใน หองเรียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญาตรี เพราะคนกลุม นี้คือกลุมคนที่กำลังจะออกมาใชชีวิตทำงาน เปนกำลังที่ สำคัญของชาติ ในชีวิตการทำงานของทุกคนมีเรื่องเงินที่ เปนคาจางเขามาเกี่ยวของโดยตรง ฉะนั้น ความรูการ วางแผนการเงินจึงเปนเรื่องสำคัญ แมการแกปญหาหนี้ครัวเรือนดวยมาตรการตาง ๆ เชน การพักชำระหนี้ การรีไฟแนนซ การไกลเกลี่ยกับเจา หนี้ จะเปนการแกปญหาเรงดวนที่พอจะบรรเทาปญหาได บาง แตก็เปนการแกปญหาที่ปลายเหตุ หากจะแกปญหา หนี้ครัวเรือนก็ตองใหความรูดานการวางแผนการเงิน เพราะถึงจะใชเวลานาน แตในวันที่ความรูดานการเงินถูกนำ ไปใชอยางถูกตองและแพรหลาย จะชวยแกปญหาหนี้ครัว เรือนไดอยางยั่งยืน


พบปะพันธมิตร สวัสดิการสมาชิก โครงการ พศส. กิจกรรมตลอดป 2666 22


29 คนขาวขายของ แรลลี่การกุศล อบรมใหความรู สัมมนาใหญ


พบปะพันธมิตร คณะกรรมการสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ ประจำป 2566 โดยนายกฤษณะพงศ พงศแสนยากร นายกสมาคมฯ ไดประกาศ นโยบายในโอกาสรับ ตำแหนง พรอมทีมกรรมการรวม 11 คนวา จะเดิน หนาดูแล “สวัสดิการ สุขภาพ องคความรู คุณคา วิชาชีพ” ใหแกสมาชิก เปนที่มา ซึ่งตลอดทั้งป 2566 จนถึงตนป 2567 สมาคมฯผลักดันโครงการดีๆ กวา 20 โครงการใหแกสมาชิก ที่สอดคลองกับนโยบาย ของคณะกรรมการ 24


25


สวัสดิการสมาชิก สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ พรอมพันธมิตร จัดพิธีมอบทุนการศึกษาแกบุตร-ธิดา ของสมาชิกสมาคมฯ ประจำป 2566 เพื่อสงเสริม การศึกษาและแบงเบาภาระคาใชจายใหกับผูปกครองในยุคคาของครองชีพพุงสูง สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ รวมกับผูบริหารองคกรชั้นนำ 41 องคกร รวมมอบทุนการศึกษาใหแกบุตร – ธิดา ของสมาชิกสมาคมฯ เพื่อเปนสวัสดิการประจำป 2566 โดยมีตัวแทนจากองคกรชั้นนำทั้งภาครัฐและเอกชน คณะกรรมการสมาคมฯ บุตรธิดาสมาชิกฯ เขารวม ในพิธี ที่โรงภาพยนตร เมเจอร ซีนีเพล็กซ รัชโยธิน นายกฤษณะพงศ พงศแสนยากร นายกสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ กลาววา โครงการ มอบทุนการศึกษาบุตร-ธิดา สมาชิกสมาคมผู สื่อขาวเศรษฐกิจประจำป 2566 เปนโครงการที่จัดตอเนื่องเพื่อ เปนสวัสดิการใหแกสมาชิกสมาคม โดยในปนี้ มีผูเขารับผลจำนวน 68 ทุน ทุนละ 6,000 บาท แบงเปนระดับอนุบาล 7 ทุน ระดับประถมศึกษา 30 ทุน และระดับมัธยมศึกษา 31 ทุน เพื่อชวยแบงเบาภาระคา ใชจายในการศึกษาเลาเรียนแกบุตรธิดาของครอบครัวคนขาว ในยุคคาครองชีพปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่อง สงผลตอรายไดผูปกครองที่ตองแบก รับเพิ่มขึ้นตอเนื่อง และชวยยังใหเด็ก เยาวชนของชาติ มีความรับผิดชอบตอครอบครัว ตอสังคมในการตั้งใจเรียน และเรียนรูการเปนผูให ตอไปในอนาคต 26


27


โครงการพัฒนาศักยภาพ ผูสื่อขาวระดับสูง (พศส.) สมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ รวมกับ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย จัดอบรมในโครงการ พัฒนาศักยภาพผูสื่อขาวเศรษฐกิจระดับสูง(พศส.)ป 66 ระหวาง วันเสารที่ 15 กรกฎาคม – วันเสารที่ 26 สิงหาคม 2566 รวม 6 สัปดาห โดยไดรับเกียรติจาก ดร.กอบศักดิ์ ภูตระกูล กรรมการรองผูจัดการใหญ และเลขานุการบริษัท ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) กลาวเปดโครงการอบรมพรอมมอบงบประมาณสนับสนุนโครงการ 28


29


30


31


32


33


34


35


36


37


คนขาวขายของ “ตลาดนัดนักขาว” 38 หลักการและเหตุผล จากภาวะปญหาเศรษฐกิจ และความไมแนนอนในอาชีพสื่อ สารมวลชน การชวยแบงเบาภาระใหกับสมาชิกถือเปนอีกหนาที่ของ สมาคมที่จะเขามาชวยสนับสนุน โดยการเปดพื้นที่ ใหสมาชิกเขามามี สวนรวมในการขายของ ยอมเปนกิจกรรมที่เชื่อวา จะสรางประโยชน ทั้งในแงความสัมพันธ และ ชวยเสริมรายได ใหกับสมาชิก และรวมถึง การใชเวลาวางใหเกิดประโยชน ดวยสมาคมผูสื่อขาวเศรษฐกิจ ไดจัดกิจกรรม “ตลาดนัดนักขาว” ตอเนื่องมาหลายป โดยมีสมาชิกสมาคมฯที่เปนผูสื่อขาวเศรษฐกิจและ ผูสื่อขาวที่สนใจเขารวมจำหนายสินคา โดยมีวัตถุประสงคคือเปนการ ชวยแบงเบาภาระใหกับสมาชิกสมาคมฯ ซึ่งเปนอีกหนาที่ของสมาคมฯ ที่จะเขามาชวยสนับสนุนสมาชิก โดยการเปดพื้นที่ใหสมาชิกเขามามี สวนรวมในการจำหนายสินคาในงานดังกลาว


39


40


41


42 โครงการแรลลี่การกุศล กิจกรรมแรลลี่การกุศล “ESG Econmass ป66” ในเสนทาง กรุงเทพฯ – หัวหิน ระหวางวันที่ 25 – 26 พฤศจิกายน 2566 ที่ผานมา โดยมีสมาชิกสมาคมฯ และ ครอบครัว พรอมดวยตัวแทนองคกรภาคธุรกิจรวม กิจกรรมดังกลาวอยางคับคั่งกวา 500 คน โดยมีไฮไลทที่ สำคัญคือการรวมทำกิจกรรมเพื่อสังคมแกโรงเรียนการ ศึกษาเด็กตาบอดพิการซ้ำซอน อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี


43


44


45


46


47


48


49


50


Click to View FlipBook Version