รายงาน
เรื่อง วงจรการผลติ
จดั ทำโดย
นางสาวนฤมล ศรรี อด รหัส 6442010304
นางสาวกนกวรรณ กญั ธนากร รหัส 6442010309
เสนอ
นางนิพร จุทัยรตั น์
รายงานเล่มนเี้ ป็นส่วนหน่ึงของวิชาปฏิบัตกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการบญั ชี
และดิจติ อลรหสั วิชา 23-4201-8001 เทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาการบญั ชี (ต่อเนอ่ื ง)
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565
สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก
คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีและ
ดิจิตอล รหัสวิชา 23-4201-8001 ระดับชั้นปริญญาตรี ปี 2 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้ท่ี
ไดจ้ ากเรื่องวงจรการผลิต ซึง่ รายงานนม้ี ีเนอ้ื หาเก่ียวกบั วงจรการผลติ ทั้งหมด
คณะผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนี้ในการทำรายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ คณะผู้จัดทำ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน นักศึกษาที่สนใจ หากมีข้อบกพร่อง
ประการใด กรุณาแนะนำให้คณะผ้จู ัดทำทราบเพื่อปรับปรุงแก้ไขต่อไป จกั เป็นพระคุณยง่ิ
คณะผู้จดั ทำ
สารบญั หนา้
เร่ือง ก
ข
คำนำ ค
สารบัญ 1
สารบญั ภาพ 1
กระบวนการปฏบิ ตั งิ านในวงจรการผลติ 3
แผนภาพทางเดนิ ขอ้ มูล (DFD) ระบบการผลติ 12
เอกสารทใ่ี ช้ในระบบการผลติ 12
รายงานทางการเงนิ ของระบบการผลติ เพือ่ การบริหาร 13
การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชใี นระบบการผลิต 13
แนวโน้มระบบการผลติ ในอนาคต 17
ระบบการผลติ โดยอาศยั คอมพวิ เตอรแ์ บบบูรณาการ
บรรณานุกรม
สารบญั ภาพ หน้า
3
เรอื่ ง 4
ระบบการผลิตสามารถดำเนนิ การไดต้ ามแผนภาพทางเดนิ ข้อมลู 5
ตัวอย่างบัตรวตั ถดุ บิ 6
ตัวอย่างใบสงั่ ผลิต 6
ตัวอยา่ งใบเบกิ วัตถุดบิ 7
ตวั อยา่ งใบรายงานการผลติ 7
ตัวอย่างตารางการผลติ 8
ตัวอย่างบตั รบนั ทึกเวลาปฏิบตั งิ าน 9
ตวั อยา่ งใบขอโอนย้ายสนิ คา้ 10
ตัวอย่างใบขอโอนย้ายสนิ คา้ เขา้ คลัง 10
ตวั อยา่ งใบโอนยา้ ยสินค้าออกคลัง 11
ตวั อย่างใบอนุมัติโอนสนิ คา้
ตวั อยา่ งใบตรวจนบั สินคา้
วงจรการผลติ
กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรการผลิต ระบบการผลิต เป็นกระบวนการที่รวบรวมการ
ปฏิบัติงานในด้านการผลิตสินค้า ซึ่งอยู่ในวงจรการแปรสภาพ ดังนั้น ธุรกิจอุตสาหกรรมจำเป็นต้อง
กำหนดนโยบาย รูปแบบของเอกสารและขั้นตอนการดำเนินงานตลอดจนการนำเทคโนโลยีเครื่องมือ
เครื่องใช้ที่ทันสมัยมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต โดยมีวัตถุประสงค์คือ นำวัตถุดิบ
ต่าง ๆ เข้าสู่สายการผลิต การควบคุม การใช้ แรงงานและเครื่องจักร เพื่อแปรรูปสินค้าสำเร็จรูปได้
อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานที่มีหน้าที่สำคัญ ในการวางแผนการผลิต คือฝ่ายการตลาด และฝ่าย
วิศวกรรม โดยฝ่ายการตลาดจะวิเคราะห์ตลาดและวางแผนการขาย ส่วนฝ่ายวิศวกรรมจะออกแบบ
สินค้าต้นแบบจากการกำหนดจำนวนวัตถุดิบ แรงงาน เครื่องมืออุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการผลิต และ
วธิ กี ารผลิตทเี่ หมาะสม
แผนภาพทางเดินข้อมูล (DFD) ระบบการผลิต
ระบบการผลติ (Production Cycle) หมายถงึ การแปลงทรพั ยากรของกิจการ ได้แก่ วตั ถดุ ิบ
ทางตรง แรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายในการผลิต ให้เป็นสินค้าสำเร็จรูปหรือบริการ เพื่อขาย โดย
กิจกรรมในการผลิตจะเป็นกิจกรรมที่ทำซ้ำ ๆ กัน ระบบการผลิตจะแตกต่างกัน ในแต่ละกิจการ
ข้ึนอยกู่ บั วา่ กจิ การนัน้ เป็นกิจการผลติ (Manufacturing Firm) ซื้อมาขายไป (Merchandising Firm)
หรือบริการ (Servicing Firm) โดยวงจรการผลิตจะบันทึกเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจเกี่ยวกับการใช้
แรงงานทางตรง วตั ถุดิบทางตรง และค่าใช้จา่ ยในการผลติ เพ่ือผลติ สินค้าหรอื บริการ
ระบบการผลิต สามารถแบง่ ได5้ ขน้ั ตอน ดงั นี้
ขั้นตอนที่ 1 การออกแบบผลิตภัณฑ์และการก าหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการผลิต วิศวกร
ผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็นผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ต้นแบบ โดยการคำนวณรายละเอียดต่าง ๆ ที่ต้องใช้
ในการผลิต ได้แก่ วัตถดุ ิบ แรงงาน เคร่ืองมือและอปุ กรณใ์ นข้ันตอนนี้ขอ้ มลู ออก คือ
- บิลวัตถุดิบ (Bill of Material- BOM) ระบุจำนวนชนิดของวัตถุดิบที่ต้องใช้ในการผลิต
สินคา้ สำเรจ็ รูป โดยอาศยั ขอ้ มลู เบื้อองตน้ จากแฟ้มหลักวัตถุดบิ (Inventory (RM) Master)
– แฟ้มหลักขัน้ ตอนงาน (Routing Master) แสดงขน้ั ตอนและจำนวนของแรงงานท่ใี ชใ้ น การ
ผลิต
- แฟ้มหลักหน่วยงาน (Work Center Master) แสดงความสามารถสูงสุด ในการทำงานของ
หน่วยงานในกระบวนการผลิต ในการออกแบบผลิตภัณฑ์วิศวกร อาจนำโปรแกรมสำเร็จรูป
2
ประเภท CAD/CAE (Computer Aided Design Computer Aided Engineering) มาช่วยในการ
ออกแบบ
ขัน้ ตอนที่ 2 การจดั ทำแผนการผลิตหลักสินคา้ สำเร็จรปู (Master Production Schedule -
MPS) MPS จะแสดงแผนการผลติ สนิ คา้ สำเรจ็ รปู ในช่วงเวลาหนึง่ ว่า จะสามารถผลิตสินคา้ สำเร็จรปู
ได้ในปริมาณเท่าใด ซง่ึ จะสามารถทราบได้วา่ สินคา้ สำเร็จรปู ตามปรมิ าณการขาย จะเร่ิมผลิตเม่อื ใด
ผลติ เสรจ็ และสง่ มอบไดเ้ ม่อื ใด
ข้นั ตอนท่ี 3 การจดั ท าแผนความตอ้ งการวัตถดุ บิ (Material Requirement Planning
MRP) เมือ่ ทราบวา่ แรงงานของการผลิตสินค้าสำเรจ็ รูป ฝา่ ยผลติ จะรวมข้อมลู จากบิลวตั ถุดิบ ปริมาณ
สินค้าคงคลงั ไดแ้ ก่ สนิ คา้ สำเรจ็ รปู วัตถุดบิ งานระหวา่ งทำ และใบส่ังซือ้ วตั ถดุ ิบทยี่ ังไม่ได้รับสินค้า
เพ่ือจัดทำรายการความตอ้ งการวตั ถุดบิ ทง้ั หมด ในชว่ งเวลาใดเวลาหนง่ึ
ขน้ั ตอน 4 การจัดทำแผนความตอ้ งการทรัพยากร (Manufacturing Resources Planning
– MRP II) MRP II จะประกอบด้วยขอ้ มลู รายละเอยี ด วตั ถุดิบท่ตี ้องใช้ (MRP) เคร่ืองจกั ร ชวั่ โมงการ
ทำงานและเคร่อื งจกั รแต่ละวัน และช่ัวโมงแรงงานท่ตี อ้ งใชใ้ นบางองคก์ ร อาจจัดทำแผนความต้องการ
ใชเ้ คร่อื งจกั รและแรงงานในการผลติ สินค้า (Capacity Requirement Planning – CRP)
ขั้นตอนที่ 5 การบันทกึ รายการเก่ียวกบั การผลติ เมื่อไดอ้ อกแบบผลติ ภณั ฑ์และจัดทำ
เอกสารตา่ ง ๆ ได้แก่
- BOM ซง่ึ ระบุจำนวนวัตถดุ ิบท่ีตอ้ งใชก้ บั ผลติ ภัณฑ์หนงึ่ ช้นิ
- Routing Master ระบุขัน้ ตอนงาน ระยะเวลา และแรงงานท่ตี อ้ งใช้ในการผลติ ผลติ ภัณฑ์
- Work Center Master ระบคุ วามสามารถสงู สุดทเ่ี คร่ืองจักรและแรงงานในหนึ่งหนว่ ยงาน
- Raw Material Requirement ใบขอเบิกวตั ถดุ บิ เพื่อใชใ้ นการผลติ
กระบวนการผลติ จะเกิดข้ึนไดน้ ้นั พนกั งานฝา่ ยการผลติ จะต้องไดร้ ับเอกสารใบส่ังผลติ
(Manufacturing Order- MOs) โดยจดั ทำขนึ้ พร้อมกบั เอกสารใบเคลอื่ นยา้ ยงาน (Moving Ticket)
ซ่ึงจะรวมทรัพยากรต่าง ๆ ทใ่ี บสง่ั ผลิตหนึง่ สะสมไปเร่อื ย ๆ จนกระทงั่ งานผลติ สำเร็จ มีการใช้
เทคโนโลยีระบุรหสั แทง่ (Barcode Tags)
3
ใบสัง่ ผลติ จะมรี ายละเอียด ข้อมลู ของวัตถุดบิ แรงงาน การทำงานของเคร่ืองจักร เม่ืองานส่ง
จากหนว่ ยงานหน่ึงไปยงั อีกหนว่ ยงานหนึง่ พนักงานจะบันทึกการผา่ นขนั้ ตอนนน้ั ๆ ลงในใบ
เคลือ่ นยา้ ยงาน โดยใชป้ ้ายระบรุ หัสแทง่ ซงึ่ ประเทศญ่ปี นุ่ ถอื เปน็ ต้นแบบของการใช้ป้าย ระบุรหสั
แท่งใน กระบวนการผลิตท่เี รยี กวา่ Kanban
ระบบการผลิตสามารถดำเนนิ การได้ตามแผนภาพทางเดนิ ขอ้ มลู
เอกสารทีใ่ ชใ้ นระบบการผลิต
เอกสารทใ่ี ชเ้ พื่อเพมิ่ ประสิทธภิ าพในระบบการผลติ ประกอบด้วย บตั รวัตถุดิบ ใบสั่งผลติ ใบ
เบกิ วตั ถดุ บิ บตั รแสดงการเคลอ่ื นย้ายวตั ถุดบิ ใบรายงานการผลิต ตารางการผลิต บัตรบนั ทกึ เวลา
การปฏบิ ัติงาน และใบโอนสนิ คา้ สำเรจ็ เข้าคลงั
4
ตวั อยา่ งบัตรวตั ถุดบิ
5
ตวั อยา่ งใบส่งั ผลติ
6
ตัวอยา่ งใบเบิกวัตถดุ ิบ
ตวั อย่างใบรายงานการผลติ
7
ตวั อย่างตารางการผลติ
ตัวอย่างบัตรบันทกึ เวลาปฏิบตั งิ าน
8
ตวั อย่างใบขอโอนยา้ ยสินคา้
9
ตวั อยา่ งใบโอนยา้ ยสนิ คา้ เขา้ คลงั
10
ตวั อยา่ งใบโอนยา้ ยสินคา้ ออกคลัง
ตัวอยา่ งใบอนมุ ัติโอนสนิ ค้า
11
ตวั อย่างใบตรวจนบั สินคา้
12
รายงานทางการเงนิ ของระบบการผลิตเพื่อการบริหาร
ระบบการผลิตจะสามารถจัดทำรายงานทางการเงิน เพื่อให้ผู้บริหารได้ใช้ในการวางแผน
ตดั สินใจ แบ่งได้เปน็ 3 ลกั ษณะคอื
1. รายงานการควบคุมค่าใช้จ่าย (Cost Control) นักบัญชีต้องจัดทำรายงานต้นทุนค่าใชจ้ ่าย
ในการผลิต ซึ่งวิธีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิตสามารถใช้วิธีการคิดค่าใช้จ่ายตามระบบต้นทุนงาน
สัง่ ทำและระบบตน้ ทนุ ช่วง
2. รายงานสมรรถภาพในการดำเนินงาน (Performance) เป็นรายงานที่แสดงถึง
ความสามารถในการดำเนนิ งานฝ่ายการผลิต เชน่ รายงานสนิ คา้ ทผี่ ลิตเสร็จเปรียบเทียบกับระดับการ
ผลิตที่กำหนดไว้รายงานการเปรียบเทียบระหว่างวัน เดือน ปีที่สามารถผลิตได้สำเร็จจริง รายงานช่ือ
งานที่ล่าช้า รายงานการใช้แรงงานและเครื่องจักร เปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือปริมาณที่กำหนดไว้
เปน็ ต้น
3. รายงานการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) สินค้าที่ผลิตในแต่ละขั้นตอนจำเป็นต้อง
มีการตรวจสอบคุณภาพ หากในขั้นตอนการผลิตใด มีคุณภาพไม่ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด อาจถูก
ทำลาย จำหน่ายเป็นสินค้าเกรดบีหรือนำกลับไปปรับปรุงแก้ไข นักบัญชีจึงต้องรายงานให้ผู้บริหาร
ทราบถึงปริมาณสินค้า ที่ไม่ผ่านการตรวจสอบและเหตุผลยอดจำหน่ายสินค้าที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ
คุณภาพและเหตผุ ลคำสั่ง การนำสินคา้ กลับไปแกไ้ ขพรอ้ มคา่ ใช้จ่ายเพิ่ม
การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบญั ชใี นระบบการผลิต
การควบคมุ ระบบสารสนเทศทางการบัญชใี นระบบการผลิต สามารถดำเนนิ การได้ ดงั น้ี
1. การตรวจสอบฟิลด์ (Field Check) เป็นการตรวจสอบฟิลด์ว่า ลักษณะของข้อมูลที่นำมา
บันทึกนั้น อยู่ในลักษณะที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ เช่น รหัสสินค้า และรหัสวัตถุดิบ จำนวนหน่วยวัตถุดิบ
จำนวนชั่วโมงแรงงาน เปน็ ตน้
2. การตรวจสอบความถูกต้อง (Validity Check) เป็นการตรวจสอบว่า รหัสเลขที่ที่บันทึก
ตรงกับข้อมูลที่มีอยู่ในระบบหรือไม่ เช่น รหัสของหน่วยงานย่อยที่เบิกวัตถุดิบ เลขที่ใบสั่งผลิต
รหัสวตั ถุดบิ รหสั หนว่ ยงานผลติ เลขประจำตัวพนักงาน รหสั สนิ คา้ เป็นตน้
3. การตรวจสอบป้ายชื่อแฟ้มข้อมูล (Internal Label Check) เป็นการตรวจสอบโดยให้
โปรแกรมอา่ นป้ายขอ้ มลู (Header Label) เพื่อให้แน่ใจว่า เปน็ แฟ้มขอ้ มูลทถี่ กู ต้อง เชน่ การอา่ นป้าย
13
ชื่อแฟ้มข้อมูลเงินเดือน แฟ้มข้อมูลการสั่งผลิตที่ยังผลิตไม่สมบูรณ์แฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือ
แฟ้มข้อมลู การใช้เคร่ืองจักรผลติ แฟม้ ข้อมูลงานระหวา่ งทำ เป็นต้น
4. การตรวจสอบจำนวนเอกสาร (Record Check) เป็นการตรวจสอบจำนวนเอกสารว่า ครบ
ตามที่ได้บันทึกในระบบหรือไม่ เช่น จำนวนใบเบิกวัตถุดิบ บัตรบันทึกเวลาปฏิบัติงาน รายละเอียด
ของวัตถดุ บิ ทีใ่ ช้ในการผลิต รายงานการเบกิ วตั ถุดิบ ใบโอนสินคา้ สำเร็จรูปเขา้ คลงั เปน็ ต้น
5. การตรวจสอบยอดคงเหลือหลังการผ่านรายการ (Posting Check) เป็นการตรวจสอบ
ความถูกต้องของยอดคงเหลือ หลังจากมีการผ่านรายการเรียบร้อยแล้ว เช่น การนำยอดคงเหลือใน
แฟ้มข้อมูลบัญชีแยกประเภททั่วไป แฟ้มข้อมูลเงินเดือน แฟ้มข้อมูลงานระหว่างทำที่ได้ผ่านรายการ
แล้ว เปรียบเทียบกับยอดคงเหลือก่อนการผ่านรายการ เพื่อตรวจสอบว่า ผลต่างมีจำนวนเท่ากับ
ผลรวมของจำนวนเงนิ เดือนที่จ่ายใหแ้ ก่พนกั งานในแผนกผลติ หรอื ไม่ เป็นต้น
แนวโนม้ ระบบการผลิตในอนาคต (Trend of Future Production Systems)
แนวโน้มของระบบการผลติ ในอนาคต เป็นระบบการผลิตโดยปราศจากมนุษย์ เรียกว่า ระบบ
การผลิตโดยอาศยั คอมพวิ เตอร์แบบบรู ณาการหรอื Computer– Integrated Manufacturing - CIM
หมายถึง ระบบการผลิตที่ใช้การควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ทั้งหมด นับตั้งแต่ขั้นตอนแรกสุด (ลูกค้า
สั่งซ้ือสินค้า) ไปจนถึงขัน้ ตอนสุดท้าย (การจัดส่งสินค้า) โดยการควบคุมของระบบคอมพิวเตอร์จะต้อง
อาศัยการทำงานของคอมพิวเตอร์ในแต่ละหน่วยย่อยอีกครั้ง สำหรับการทำงานในแต่ละขั้นตอน การ
ออกแบบผลิตภณั ฑ์ การวางแผนการผลติ การส่งั ซ้ือวัตถดุ ิบ การดำเนนิ การผลิต การจดั เก็บและจัดส่ง
ผลลัพธ์ที่ได้จึงเป็นระบบการผลิตโดยปราศจากมนุษย์เข้าควบคุม ระบบการผลิตโดยอาศัย
คอมพิวเตอร์แบบบูรณาการ ช่วยให้ได้ผลผลิตมากขึ้น ประสิทธิภาพในการผลิตดีขึ้น การจัดส่งที่
รวดเรว็ ย่ิงขน้ึ ความผดิ พลาดลดลง และสนิ คา้ มีคุณภาพสูงอกี ดว้ ย
ระบบการผลิตโดยอาศยั คอมพวิ เตอร์แบบบรู ณาการ มอี งค์ประกอบดงั ตอ่ ไปน้ี
1. คอมพิวเตอรช์ ่วยในการออกแบบ (Computer-aided Design: CAD) คอมพิวเตอร์ช่วยใน
การออกแบบ หรือ CAD คือระบบ คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ออกแบบชิ้นส่วน อุปกรณ์หรือผลิตภัณฑ์
ซึ่งเดิมทีนั้นเป็นงานที่ต้องกระทำด้วยมือ แต่ในระบบ CAD นั้น สามารถช่วยให้เรามองเห็นชิ้นส่วนที่
ออกแบบในรูปแบบ 3 มิติสามารถเห็นรายละเอียดภายในและปรับเปลี่ยนแบบใหม่ได้ภายในไม่กี่
14
วินาที นอกจากนี้ยังสามารถทดสอบชิ้นส่วนที่ออกแบบมาได้อีกด้วย การใช้ CAD ออกแบบจำลอง
ชว่ ยลดค่าใชจ้ า่ ยในการออกแบบแบบด้งั เดมิ ทกี่ ระทำกันอยู่ ช่วยลดระยะเวลาในการออกแบบลงเพอ่ื
สามารถผลิตผลิตภัณฑใ์ หม่ ๆ เขา้ สตู่ ลาดไดเ้ รว็ ขึ้น ลดความผิดพลาดทเ่ี กิดจากการออกแบบ และมผี ล
ทำใหส้ ินคา้ มีคุณภาพสูงขึน้
2. คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต (Computer-aided Manufacturing: CAM) คอมพิวเตอร์
ช่วยในการผลิต คือระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการออกแบบกระบวนการผลิต ตลอดจนควบคุม
เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชข้ ณะผลิตโดยอัตโนมตั ิ อย่างเช่น นักวจิ ยั ทบี่ ริษทั Technology/Clothing Technology
Corporation ในประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถใช้คอมพิวเตอร์ตัดชุดเสื้อผ้าตามสั่ง โดยได้ขนาดของ
ชุดที่ตัดเข้ากันได้อย่างสมบูรณ์แบบกับร่างกายของลูกค้า และขั้นตอนการวัดตัว ออกแบบ ตัดเย็บ
จนได้ชุดสำเร็จรูป ซึ่งกระทำโดยคอมพิวเตอร์ทั้งหมด การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยในการผลิตเชน่ น้ี
จะสามารถลดต้นทุนด้านแรงงานลงได้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับระบบการผลิตแบบสินค้าตามส่ัง
ซึ่งทั่วไปจะมีค่าแรงงานเป็นทุนที่สูงประกอบอยู่ นอกจากนี้ระบบ CAM ยังสามารถผลิตชิ้นงานได้
อยา่ งรวดเรว็ และปราศจากข้อบกพร่อง
3. เครื่องจักรควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ ( Computerized Numerically Controlled
Machines: CNC) ในช่วงทศวรรษ 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งมลรัฐ แมสซาชูเซตส์(MIT) ได้คิดค้น
เครื่องจักรอัตโนมัติที่สามารถรับชุดคำสั่ง เพื่อที่จะผลิตเครื่องยนต์ไอพ่นให้กับกองทัพอากาศสหรัฐได้
อย่างงมีประสิทธิภาพ เครื่องจักรดังกล่าวนั้น เป็นเครื่องจักขนาดใหญ่ท่ีสามารถทำงานได้หลากหลาย
ชนิด เช่น เจาะ กลึง ขัด หมุน เป็นต้น และยังสามารถผลติ ชิ้นงานได้ในหลายขนาดอีกด้วย ต่อมาได้มี
การพัฒนาเครื่องจักรให้สามารถรับชุดคำสั่งที่เป็นโปรแกรมได้โดยผ่านสื่อที่เป็นม้วนเทป หรือใน
ปัจจุบัน เครื่องจักรชนิดนี้สามารถควบคุมได้อย่างสมบูรณ์โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กและเรียก
เปน็ เครอื่ งจักรควบคมุ โดยคอมพวิ เตอร์หรือ CNC
4. หุ่นยนต์สำหรับอุตสาหกรรมการผลิต (Industrial Robots) หุ่นยนต์สำหรับอุตสาหกรรม
การผลิตเป็นเครื่องจักรที่มีลักษณะโดดเด่นกว่า เครื่องจักรควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ความหมายของ
หุ่นยนต์สำหรับอุตสาหกรรมการผลิต มีความหมายที่กว้างมาก โดยทั่วไปแล้วหมายถึงเครื่องจักท่ี
สามารถทำงานได้เองและทำงานได้อย่างหลากหลาย มีความแม่นยำสูงและมีลักษณะการเคลื่อนไหว
ที่มากกว่า เครื่องจักรควบคุมโดยคอมพิวเตอร์หุ่นยนต์สำหรับอุตสาหกรรมการผลิตอาจจะแทนที่
แรงงานมนุษย์ทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากหุ่นยนต์ นั้นมีข้อดีอยู่หลายประการ เช่น ทำงานผิดพลาดน้อย
15
มากได้คุณภาพการผลิตที่คงที่แน่นอน เหมาะสมกับการทำงานแบบซ้ำซากได้โดยไม่เหนื่อยหน่าย
ไม่บน่ ไมป่ ระทว้ งหยุดงาน ไมข่ อข้นึ คา่ แรงและไมเ่ คยหยดุ งาน เป็นต้น
5. พาหนะขนส่งแบบนำทางอัตโนมัติ(Automated Guided Vehicle: AGV) พาหนะขนส่ง
แบบนำทางอัตโนมัติเป็นยานพาหนะขนาดเล็กที่ขับเคลื่อนด้วยพลังไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ มักใช้ในการ
เคล่ือนย้ายชิน้ งานระหวา่ งผลติ จากจุดหนง่ึ ไปยงั อกี จดุ หน่งึ โดยการควบคมุ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ในตัวหรือ
จากห้องควบคุมส่วนกลางก็ได้ พาหนะขนส่งแบบนำทาอัตโนมัติในรุ่นแรก ๆ มักจะเคลื่อนที่ไป ตาม
สายสัญญาณที่ซ่อนอยู่ภายใต้พื้นโรงงาน แต่สำหรับรุ่นใหม่ในปัจจุบัน พาหนะขนส่งแบบนำทาง
อัตโนมัติจะมีดวงตารับแสงทำให้สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระไปได้ทั่วทั้งโรงงาน และสามารถหลบ
หลีกสิ่งกีดขวางใด ๆ ได้สามารถกำจัดจุดคอขวดที่เป็นปัญหาของการไหลเวียนในระบบการผลิตได้
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเคลื่อนย้ายวัสดุไปแบ่งปันยังจุดผลิตอื่น ๆ ในบางครั้งยังสามารถป้องกนั
สายการผลติ ตอ้ งปิดตัวเองลงอย่างล้มเหลวนนั้ เนอ่ื งมาจากการขาดแคลนวัตถดุ ิบอย่างกะทันหัน และ
สามารถเคล่อื นย้ายชนิ้ งานใด ๆ ไปยังจุดทีต่ อ้ งการได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและทันเวลา
6. ระบบรับและจัดเก็บแบบอัตโนมัติ(Automated Storage and Retrieval System: AS/
RS) เป็นระบบรับและจัดเก็บที่ถูกควบคุมโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ในการรับและจัดเก็ บวัสดุและ
เครื่องมือ โดยมีช่องจัดเก็บแบบพิเศษ โดยปกติแล้วระบบรับและจัดเก็บแบบอัตโนมัติมักจะถูกติดต้ัง
ควบคู่กับระบบพาหนะขนส่งแบบนำทางอัตโนมัติ(AGV) เนื่องจากเมื่อทำการติดตั้งสองระบบนี้แล้วก็
จะทำให้การเคลื่อนย้ายวัสดุและจัดเก็บสามารถดำเนินไปได้อย่างอัตโนมัติ โดยไม่จำเป็นต้องมีมนุษย์
เป็นผู้ควบคมุ แต่อยา่ งใด ซ่งึ ธนาคารแหง่ ประเทศไทยไดน้ ำมาใช้ในปจั จบุ นั
สรุปประโยชน์ของระบบการผลิต
• ช่วยให้ธุรกิจมองภาพรวมของการผลิต เพื่อการวิเคราะห์และวางแผนการผลิต
ท้ังทรัพยากรที่ต้องใช้ กระบวนการผลิต เพ่ือผลิตโปรดักต์หนึ่งชิ้นข้ึนมา
• ช่วยให้ธุรกิจมีแนวทางในการควบคุมการผลิต รู้ว่าต้องใช้ทรัพยากรเท่าไหร่ บริหาร
ทรัพยากรต่างๆ ให้เป็นไปตามแผน
• ช่วยให้มีแนวทางในการตรวจสอบ รีวิว และสอบทานข้อผิดพลาด ตลอดจนปรับปรุงและ
พัฒนากระบวนการให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน
• ช่วยให้ธุรกิจสามารถคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ต้นทุน และคำนวณผลประกอบการได้อย่างเป็น
รูปธรรม
16
• ช่วยให้ธุรกิจสามารถวางแผนการผลิตเพ่ือเสนอต่อลูกค้า วางแผนการตลาด การส่งมอบ
งานให้กับลูกค้าได้
บรรณานุกรม
ระบบควบคุมการผลิต http://www.bablog.mju.ac.th/orathai/wp-
content/uploads/2012/10/Chapter_11.pdf [สืบค้นวันท่ี 20 พฤศจกิ ายน 2565]
ระบบการผลติ สินคา้ http://www.academy.rbru.ac.th/uploadfiles/books/133-
2017-07-04-13-11-59.pdf [สืบค้นวันที่ 20 พฤศจกิ ายน 2565]
ประโยชนใ์ นการผลติ https://1stcraft.com/the-component-of-production-system/
[สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2565]