1 ใบงานที่ ๒ ทักษะการเป็นผู้นำทางวิชาการในการจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ ผู้เข้ารับการพัฒนา ชื่อ-สกุล นายพงศธร บำรุงบ้าน กลุ่มที่ ๑ เลขที่ ๑ หัวข้องาน ในระหว่างการฝึกงาน/ฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา ให้ผู้เข้ารับการพัฒนาดำเนินกิจกรรมเป็นผู้นำ ในการดำเนินการให้ครูผู้สอนอย่างน้อย ๑ สาขาวิชา ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการออกแบบและพัฒนาการ จัดการเรียนรู้รายวิชาในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ โดยให้เกิดนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ ร่วมกับการบูร ณาการประวัติศาสตร์ชาติไทย และการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสถานศึกษาและทักษะการเป็นผู้นำทาง วิชาการในการจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ สรุปผลรายงานรายละเอียดดังนี้ ๑. การวางแผนพัฒนาครูในการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๑.๑ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการออกแบบและพัฒนาการจัดการเรียนรู้รายวิชาในสาขาวิชาก่อสร้างโยธา และรายวิชางานฝึกฝีมือ แผนกวิชาเทคนิคพื้นฐาน ๑.๒ การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การบูรณาการการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ ร่วมกับการบูรณาการ ประวัติศาสตร์ชาติไทย และการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ๒. กำหนดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กำหนดการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้สาขาวิชาก่อสร้าง – โยธา และ แผนกวิชาเทคนิคพื้นฐาน วันที่ 9 ตุลาคม 2566 เวลา 08.30 น. ถึง 16.00 น. ๓. ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๓.๑ นางสาวชุติมา ตาเดอิน รองผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา ๓.๒ นายพงศธร บำรุงบ้าน ครูชำนาญการพิเศษ (ผู้เข้ารับการพัฒนา) ๓.๓ นายจรินันท์ ชูสกลุวงศ์ ครูชำนาญการพิเศษ หัวหน้าแผนกวิชาก่อสร้าง-โยธา ๓.๕ นายอิซฮาร์ สาและ ครูชำนาญการพิเศษ ๓.๖ นายการุณย์ บุบผะเรณู ครูชำนาญการพิเศษ ๓.๗ นายสัญญา วิบูลย์อรรถ ครูชำนาญการ ๓.๘ นายจักรินทร์ บุญฤทธิ์ ครูชำนาญการ ๓.๙ นางสาวรุ่งรวิน ไชยมุสิก ครู ๓.๑๐ นายคามิน ปิ่นมณี ครูผู้ช่วย ๓.๑๑ นางสาวสาริณี แวกือจิ ครูอัตราจ้าง ๓.๑๒ ว่าที่ร้อยตรีมูฮัมมัดสานูซี สะมะ ครูอัตราจ้าง ๓.๑๓ นายนิอารวี อาบูเด ครูอัตราจ้าง ๓.๑๔ นางสาวประภาพร พรหมจันทร์ ครูอัตราจ้าง ๓.๑๕ นายอำนาจ หวุ่นจันทร ครูชำนาญการพิเศษ หัวหน้าแผนกเทคนิคพื้นฐาน ๓.๑๖ นายธนารักษ์ แสงคง ครูผู้ช่วย ๓.๑๗ นายปิยะบุตร พรหมสุข พนักงานราชการครู ๓.๑๘ นายพิเชษฐ์ ชาญประกอบ ครูอัตราจ้าง
2 ๔. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (รูปภาพประกอบ) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการออกแบบและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ รายวิชาในสาขาวิชาก่อสร้าง-โยธา และการบูรณาการการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ ร่วมกับการบูรณาการประวัติศาสตร์ชาติไทย และการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
3 (ต่อ) ๔. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (รูปภาพประกอบ) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการออกแบบและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ รายวิชางานฝึกฝีมือ แผนกวิชาเทคนิคพื้นฐาน และการบูรณาการการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ ร่วมกับการบูรณาการประวัติศาสตร์ชาติไทย และการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
4 (ต่อ) ๔. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (รูปภาพประกอบ) นิเทศติดตามกระบวนจัดการเรียนรู้สาขาวิชาช่างยนต์และการบูรณาการการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ ร่วมกับการบูรณาการประวัติศาสตร์ชาติไทย และการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
5 (ต่อ) ๔. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (รูปภาพประกอบ) นิเทศติดตามกระบวนจัดการเรียนรู้สาขาวิชาช่างไฟฟ้า และการบูรณาการการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ ร่วมกับการบูรณาการประวัติศาสตร์ชาติไทย และการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
6 (ต่อ) ๔. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (รูปภาพประกอบ) นิเทศติดตามกระบวนจัดการเรียนรู้สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล และการบูรณาการการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ร่วมกับการบูรณาการประวัติศาสตร์ชาติไทย และการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
7 ๕. องค์ความรู้ของท่านที่ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม ๕.๑. เรื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ ๕.๑.๑ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร ๑) การใช้แพลตฟอร์มการเรียนออนไลน์ห้องเรียนเสมือนจริงหรือแอปพลิเคชันการ เรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์การเรียนที่มีประสิทธิภาพและน่าสนใจ ๒) การใช้เทคโนโลยีเสริมเพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนที่ก้าวหน้า เช่น การใช้ เทคโนโลยีเสมือนจริง (VR) หรือ augmented reality (AR) ในการสร้างสถานการณ์การเรียนที่มีความสมจริง ๕.๑.๒ การบูรณาการการเรียน ๑) การผสมผสานการเรียนแบบออนไลน์และออฟไลน์ เพื่อสร้างประสบการณ์การ เรียนที่หลากหลายและตอบสนองต่อความต้องการของนักเรียน ๒) การใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การใช้การเรียนรู้ร่วมกัน การทำโครงงาน หรือการทำงานกลุ่ม ๕.๑.๓ การใช้ข้อมูลเพื่อปรับปรุง ๑) การใช้ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอนเพื่อปรับปรุงกระบวนการการสอน ๒) การใช้เทคโนโลยีเพื่อวิเคราะห์และทำนายความสำเร็จของการเรียนของนักเรียน ๕.๑.๔ การสร้างชุมชนการเรียน ๑) การสร้างพื้นที่ที่สนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างนักเรียนและครูผ่าน พื้นที่ออนไลน์หรือกิจกรรมนอกห้องเรียน ๒) การให้โอกาสให้นักเรียนมีบทบาทในการสร้างเนื้อหาการเรียนรู้และแบ่งปัน ความรู้กับกลุ่มเพื่อสร้างการเรียนรู้ที่แบบสะท้อนการทำงานจริง ๕.๑.๕ การพัฒนาทักษะสู่การใช้งานจริง ๑) การเน้นการพัฒนาทักษะที่สำคัญสำหรับการใช้งานจริง เช่น การคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น ๒) การฝึกงานในสถานประกอบการ ๕.๒ เรื่อง การเป็นผู้นำทางวิชาการ ปัจจัยที่ควรพัฒนางาน ดังนี้ ๕.๒.๑ ทีมงานที่มีคุณภาพ : สร้างบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและความประสบการณ์ การส่งเสริมการทำงานร่วมกันและการแบ่งปันความรู้ในทีม. ๕.๒.๒ สนับสนุนทางวิชาการ : สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ให้ทุนการวิจัยและส่งเสริม กิจกรรมวิจัย ๕.๒.๓ การสร้างเครือข่าย : สร้างและรักษาความสัมพันธ์ทางวิชาการกับหน่วยงานภายนอก และเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการและการประชุม ๕.๒.๔ สนับสนุนการฝึกอบรม : ฝึกอบรมและพัฒนาทักษะของบุคลากร ส่งเสริมการศึกษา และการเรียนรู้ต่อเนื่อง ๕.๒.๕ การจัดการเทคโนโลยีและข้อมูล : การทำให้เทคโนโลยีที่ใช้ในงานวิชาการทันสมัยและ มีประสิทธิภาพ. ๕.๒.๖ การแข่งขันทางวิชาการ : การเข้าร่วมการแข่งขันทักษะ ระดับภาค ระดับชาติ โดย การสร้างผลงานที่มีคุณภาพ
8 ๕.๒.๗ การปรับตัวต่อเทคโนโลยีใหม่ : การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น อย่างรวดเร็ว การพัฒนาทักษะใหม่และการปรับตัวต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงทางวิชาการ ๖. ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / นวัตกรรมการเรียนรู้ที่ได้ ส่งเสริมสนับสนุนการนำนวัตกรรมไปประยุกต์ใช้ดังนี้ การนำเข้านวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานทางวิชาการ จะสามารถช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทำงานได้ดียิ่งขึ้น ดังต่อไปนี้ ๑) เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) : การนำ AI เข้ามาช่วยในการ ประมวลผลข้อมูลทางวิชาการและการสร้างระบบที่สามารถเรียนรู้ได้เอง ๒) การให้บริการคลาวด์: เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล การจัดการข้อมูล และการแบ่งปันข้อมูล ๓) การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแบบเสมือนจริง : การใช้ VR เพื่อสร้างประสบการณ์การ เรียนที่มีความสมจริงในการศึกษา ๔) การใช้งานแอปพลิเคชันและแพลตฟอร์มการเรียนการสอนออนไลน์ : การพัฒนาแอป พลิเคชันที่สนับสนุนการเรียนการสอนแบบออนไลน์และการนำแพลตฟอร์มการเรียนรู้ออนไลน์ที่สามารถปรับ ให้เหมาะกับความต้องการของผู้เรียน