The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาการจัดการ การป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cph64-01, 2022-12-27 03:33:39

การป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

การศึกษาการจัดการ การป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

Keywords: ไข้หวัดใหญ่

บทวจิ ยั

การศึกษาการจดั การ การปอ้ งกัน ควบคมุ โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009
ในศนู ยไ์ ข้หวดั ใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 โรงพยาบาลรามาธิบดี

A Study of Management, Prevention and Control of Influenza A (H1N1) in
Influenza A (H1N1) Center at Ramathibodi Hospital

นฏั ยา พรมาลัยรุ่งเรือง*
เกษร สาเภาทอง**

1

บทคดั ยอ่

การศึกษาคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Study) เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน
พฤศจิกายน 2552 ถึง เดือนกุมภาพันธุ์ 2553 เพ่ือศึกษาการจัดการ ป้องกัน ควบคุมโรค ในศูนย์ไข้หวัดใหญ่สาย
พันธ์ุใหม่ 2009 โรงพยาบาลรามาธิบดี กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรซ่ึงเคยปฏิบัติงานภายในศูนย์ไข้หวัดใหญ่สาย
พันธ์ุใหม่ 2009 ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2552 ถึงเดือนตุลาคม 2552 จานวน 60 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธี
สุ่มแบบง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบ
บันทึกสรุปรวบรวมข้อมูลจากเอกสารท่ีผู้ศึกษาสร้างข้ึน สถิติท่ีใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่า
เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)

ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการดาเนินงานของศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ 2009 ใน
โรงพยาบาลรามาธิบดี ประกอบด้วย นโยบายการป้องกันการแพร่กระจายเช้ือไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 ซ่ึง
กาหนดโดยคณะทางานไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ของโรงพยาบาลรามาธิบดี และปัจจัยด้าน Human
resource, Material, management และ Budget จากการศึกษา ช่องทางการสื่อสารพบว่า บุคลากรได้รับรู้เร่ือง
ไขห้ วดั ใหญ่สายพันธใ์ุ หม่ 2009 มากที่สุดจากป้าย บอร์ด โปสเตอร์ และช่องทางสื่อสารซึ่งทางบุคลากรได้รับรู้น้อย
ทสี่ ุดเรื่องไข้หวดั ใหญส่ ายพนั ธ์ุใหม่ 2009 คือ การอบรม ความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัญหาและอุปสรรค ด้านการ
จัดการ การปอ้ งกนั และควบคมุ ไข้หวดั ใหญส่ ายพันธ์ใุ หม่ 2009 ส่วนใหญ่เห็นว่า การจัดสรรบุคลากรลงตรวจที่ศูนย์
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และ การมอบขวัญกาลังใจต่อบุคลากร เป็นปัญหาในระดับสูง ส่วนด้านทัศนคติ
ของบุคลากรต่อการจัดการ การป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 อยู่ ในระดับปานกลาง ด้าน
พฤติกรรมการป้องกันตนเองของบุคลากรในช่วงของการระบาดใหญ่โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 โดย
ภาพรวมคา่ เฉลีย่ อยใู่ นระดับปานกลาง และพฤตกิ รรมทีเ่ ปน็ ปญั หา คือ การปฏิบัติตนในระดับต่าต่อการป้องกันโรค
ไขห้ วดั ใหญส่ ายพันธ์ใุ หม่ 2009 ได้แก่ การออกกาลังกาย และการพักผอ่ นเมื่อมีอาการไข้หวัด

* พยาบาลวิชาชีพ 6 หอ้ งผา่ ตดั สตู ศิ าสตร์ นรเี วชวิทยา โรงพยาบาลรามาธบิ ดี
** ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ประจาคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์



พฤษภาคม – สิงหาคม 2555 ปีท่ี 26 ฉบบั ที่ 2 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 59

ข้อเสนอแนะจากการศึกษาคร้ังนี้ เสนอให้มีการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนามา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาในบุคลากร และควรติดตามประเมินผลการจัดการ ในด้านการเตรียมความ
พร้อมรับสถานการณ์การระบาด หรืออุบัติภัยหมู่ ควรมีการเขียนแผนแม่บทในการจัดการด้านต่างๆ เพิ่มการ
ส่ือสารเพ่ือสร้างการมีส่วนร่วม ระหว่างองค์กรและบุคลากรให้มากขึ้นเพ่ือลดข้อขัดแย้งและเพ่ิมทัศนคติที่ดี ให้แก่
บคุ ลากรในองค์กร
คาสาคัญ ศูนย์ไข้หวัดใหญส่ ายพันธุ์ 2009/ โรคไขห้ วัดใหญส่ ายพันธุ์ใหม่ 2009/ ทฤษฎกี ารปรับเปล่ยี นพฤติกรรม

ABSTRACT

This descriptive study aims at exploring the management of preventing and controlling
Influenza A (H1N1) at the Influenza A (H1N1) Center of Ramathibodi Hospital. The 60 officers who
worked in the Influenza A (H1N1) Center of Ramathibodi Hospital during July and October 2009 were
selected by using simple random sampling technique. Questionnaires and summary sheets were used to
collect both quantitative and qualitative data. Data was collected and analysed during November 2009 to
February 2010 using percentage, mean and standard deviation. The research findings are as follows:

Factors related to controlling and preventing influenza A (H1N1) at the Center are hospital
policy for preventing the Influenza A (H1N1) epidemic, human resources, material, management and
budget. The research also finds that most of the participants received Influenza A (H1N1) information
from the hospital advertisements, boards and posters more than from the trainings. The most of
suggestions about the problems and threats for the management, prevention and control of influenza A
(H1N1) are the manpower management for diagnosis in Influenza A (H1N1) Center and the motivation for
their staff should be fair. Their attitudes to the disease management, prevention and control are at
moderate level. In addition, the research finds that during the Influenza A (H1N1) epidemic, the officers
were able to prevent Influenza A (H1N1) moderately. However they did not exercise and rest enough
while they were infected with influenza.

The study suggests that the behavior change theory should be applied to solve the mentioned
behavior problems. Moreover, it was suggested that following up the management results regarding the
self-preparation for Influenza A (H1N1) epidemic, creating the management plans and tightening the
coordination between the organizations should be considered. The last suggestion is that the officers
should be focused in order to reduce their conflicts and increase their appropriate attitudes.

Key word : Influenza A (H1N1) Center/ Influenza A (H1N1)/ the behavior change theory

60 Journal of Public Health Nursing May – August 2012 Vol. 26 No.2

ความสาคัญของปญั หา จากมาตรการการใช้แนวทางการป้องกัน
มาตรการ การป้องกันการเจ็บป่วยโรค ไข้หวัดใหญ่ 2009ของกระทรวงสาธารณสุขนั้น
คณะทางานโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ของบุคลากรทาง ของโรงพยาบาลรามาธิบดีได้จัด ต้ังศูนย์ไข้หวัด
การแพทย์ และสาธารณสุข รวมถงึ ประชาชนที่มา ใหญ่ 2009 สาหรับตรวจผู้ป่วยนอกท่ีอาคาร
รับบรกิ ารในโรงพยาบาล กระทรวงสาธารณสุขได้ อุบัติเหตุและเวชศาสตร์ฉุกเฉินใหม่จัดมาตรการ
มอบแนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การดูแลบุคลากรของโรงพยาบาลท่ีเจ็บป่วยจาก
ไข้หวัดใหญ่ 2009 สาหรับสถานพยาบาล โดยมี ไข้หวัด เช่นการจัดระบบ Fast Tract เพ่ือความ
หลกั การปฏบิ ตั ทิ ส่ี าคญั ตามหลกั การของ Isolation สะดวกรวดเร็วแก่บุคลากรของโรงพยาบาล และ
Precautions, Standard Precaution, Droplet จัดการเฝ้าติดตามผล Nasal swab และสุดท้าย
Precautions และ Respiratory Hygiene and ด้านการหยุดงานของบุคลากรจากสาเหตุไข้หวัด
Cough Etiquette (สรุปการประชุม เร่ืองแนวทาง 2009 (สรุปการประชุมเร่ืองการบริการผู้ป่วย
การให้การบริการผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ 2009 เมื่อ ไข้หวัด 2009 ของโรงพยาบาลรามาธิบดีเมื่อ 20
วันที่ 22 กรกฎาคม 2552) โดยมีรายละเอียด กรกฎาคม 2552)
เกี่ยวกับแนวปฏิบัติด้าน สถานที่ตรวจผู้ป่วย
สงสัยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ หอผู้ป่วยใน หลังจากการจัดการด้านการป้องกันและ
สาหรับผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ของ
2009 เครอื่ งปอ้ งกนั ร่างกาย (Personal Protective คณะทางานโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตามแนวทาง
Equipment) หมายถึงผ้าปิดปาก น้ายาล้างมือ ดังกล่าวข้างต้นซึ่งนาแนวทางการป้องกันการ
การเคลอื่ นยา้ ยผู้ป่วย ผ้าที่ใช้กับผู้ป่วย เคร่ืองมือ แพรก่ ระจายเชื้อไขห้ วดั ใหญ่ 2009 สาหรับสถาน-
หรืออุปกรณ์สาหรับผู้ป่วย อุปกรณ์รับประทาน พยาบาลมาปรับใช้ในโรงพยาบาลรามาธิบดี
อาหาร บคุ ลากรในสถานพยาบาล สายดว่ นไข้หวัด พบว่าในเดือน สิงหาคม 2552 ผู้ติดเชื้อไข้หวัด
ใหญ่ (Influenza Hotline) ของสถานพยาบาล จาก ใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 มารับบริการตรวจใน
แนวปฏิบตั ิดงั กล่าวโรงพยาบาลรามาธิบดีได้นามา ศนู ยไ์ ข้หวดั ใหญ่ 2009 ลดลง เปน็ สาเหตุให้เดือน
ใช้ในการจัดการ การป้องกัน ควบคุม ไข้หวัดใหญ่ สิงหาคมโรงพยาบาลมีการปรับจานวนแพทย์
ในโรงพยาบาลรามาธิบดี และได้ปรับกระบวนการ พยาบาล ผู้ปฏิบัติงานพยาบาลลงจนกระทั่งเม่ือ
ให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของโรงพยาบาลรามาธิบดี วันท่ี 5 ตุลาคม 2552 คณะกรรมการไข้หวัด 2009
เพื่อป้องกันความเจ็บป่วยของบุคลากรจากการ ได้ประกาศปิดบริการตรวจที่ศูนย์ไข้หวัดใหญ่
ติดเช้ือไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เช่นกัน 2009 (สรุปการประชุม เร่ือง ขอแจ้งการตรวจ
สืบเนื่องจากพบสถิติการป่วยของบุคลากรใน ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 เม่ือวันที่ 6
โรงพยาบาลรามาธิบดีในช่วงเดือนกรกฎาคม ตุลาคม 2552) อย่างไรก็ตามจากการดาเนินการ
2552 เชน่ กัน ดงั กล่าวมีประเด็นน่าสนใจควรศึกษาเพื่อนาไปสู่
การจัดการป้องกันในการระบาดครงั้ ต่อไป

พฤษภาคม – สิงหาคม 2555 ปที ี่ 26 ฉบบั ท่ี 2 วารสารพยาบาลสาธารณสขุ 61

การศึกษาน้ีมุ่งเน้นศึกษาด้านการจัดการ ในอนาคต ไม่ให้เกิดการระบาดแพร่เชื้อจาก
การป้องกัน ควบคุม ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ผปู้ ่วยส่บู คุ ลากร หรอื จากบุคลากร ติดต่อสู่ผู้ป่วย
2009ในโรงพยาบาลรามาธบิ ดีเฉพาะในส่วนศูนย์ ซ่ึงส่งผลกระทบเสียหายมากมายต่อองค์กรและ
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และเจาะจง ประเทศชาติ
ศึกษาเฉพาะกลุ่มบุคลากร แพทย์ พยาบาล
ผู้ปฏิบัติงานพยาบาล พนักงานทาความสะอาด วตั ถุประสงค์ของการวิจยั
ซึง่ เคยปฏบิ ัติงานที่ศูนย์ไข้หวัดใหญ่ 2009 ต้ังแต่ 1. ศกึ ษาปจั จยั ทเี่ กย่ี วข้องกบั การดาเนนิ งาน
เดอื นกรกฎาคมถึงเดอื นตุลาคม 2552 ซ่งึ บุคลากร
ดังกล่าวเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากการจัดการ ของศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ 2009 ใน
การป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่ 2009 มากท่ีสุด โรงพยาบาลรามาธบิ ดี
ในขณะน้ัน และถือว่าเป็นกลุ่มตัวอย่างของ
บุคลากรท่ีเป็นทรัพยากรที่สาคัญขององค์กรและ 2. ประเมินการรับรู้ ช่องทางการส่ือสาร
หากบุคลากรป่วยย่อมส่งกระทบมากมายต่อ ความคิดเห็นต่อปัญหาและอุปสรรค ด้านการ
องคก์ รหลายดา้ น เช่น การระบาดต่อสู่ผู้ป่วย ด้าน จัดการการป้องกันและควบคุมไข้หวัดใหญ่สาย
ค่ารักษาพยาบาล ด้านผลผลิตขององค์การ พันธ์ุใหม่ 2009 ของบุคลากรโรงพยาบาล
นอกจากน้ันยังเป็นข้อมูลย้อนกลับให้คณะ- รามาธิบดี ท่ีปฏิบัติงานในศูนย์ไข้หวัดใหญ่สาย
กรรมการ ได้เห็นจดุ เด่น จดุ ดอ้ ยในการจัดการครั้งนี้ พันธุ์ใหม่ 2009
และยงั มปี ระโยชน์ต่อองคก์ รในการวางแผนดา้ น
การจดั การเพอ่ื ปอ้ งกันโรคโรคตดิ ต่ออบุ ตั ิใหมอ่ น่ื ๆ 3. ประเมินทัศนคติและพฤติกรรมของ
บุคลากรต่อการจัดการ การป้องกัน ควบคุมการ
ระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 ใน
โรงพยาบาลรามาธบิ ดี

Input Process Output Outcome

2009 1. : Infection Control - 1.
2009 Practice , , 2009
2.
PPE : - 2009
2.
Human Resource: 3. - 3.
-
2009 2009
4. : 4.

2009 , hand 2009
Material : PPE hygiene , personal hygiene,
Center FLU. ,
,guideline , 2009
Management : ,

, ,

Budget : ,

2009

แผนภูมิท่ี 1 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา

62 Journal of Public Health Nursing May – August 2012 Vol. 26 No.2

วิธีการดาเนนิ การวจิ ัย ส่วนท่ี 2 การรับรู้ ประสบการณ์ของ
การศึกษาครั้งนี้ มีลักษณะการวิจัยเชิง บุคลากรจากการดาเนินงานด้านการสื่อสาร และ
การอบรมให้ความรู้ แก่บุคลากรท่ีปฏิบัติงานใน
พรรณนา (Descriptive Study) เก็บรวบรวม ศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ซ่ึงแบ่งการ
ข้อมูลระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2552 - เดือน รับรอู้ อกเปน็ 2 ด้าน คือ
กมุ ภาพันธ์ุ 2553 โดยมีรปู แบบการศึกษาดงั นี้
2.1 การรับรู้ด้าน ชนิดของส่ือท่ีบุคลากร
ประชากรกล่มุ ตวั อย่าง สามารถรับร้ขู ่าวสารได้มากท่สี ดุ
ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ
บุคลากรของโรงพยาบาลรามาธิบดีบดีท่ีทางาน 2.2 การรับรู้ ประสบการณ์ของบุคลากร
เกี่ยวข้องกับการจัดการ การป้องกัน ควบคุม จากการดาเนินงานด้านการสื่อสาร และการ
ไข้หวัดใหญ่สายพันธใ์ุ หม่ 2009 อบรมให้ความรู้ แก่บุคลากรท่ีปฏิบัติงานในศูนย์
กลุ่มตัวอยา่ งทใ่ี ช้ในการศึกษาครั้งน้ีใช้วิธี ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 ค่าความเท่ียง
สมุ่ ตัวอยา่ งแบบง่าย (Simple random sampling) เทา่ กบั 0.65
จับสลากจากบัญชรี ายชื่อบุคลากรซึ่งเคยปฏิบัติ-
งานท่ีศูนยไ์ ข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ต้ังแต่ ส่วนท่ี 3 แบบสอบถามเร่ืองพฤติกรรม
กรกฎาคม 2552 ถึง ตุลาคม 2552 สุ่มจับโดยไม่ การป้องกันไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009
หยิบคืน โดยมีวิธีคานวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่าง ลักษณะคาถาม มี 12 ข้อ มีลักษณะท่ีมีความ
โดยการใชว้ ธิ ีคานวณจากสตู ร n = z2pq/d2 (Daniel, หมายในด้านบวก 10 ข้อ และลักษณะท่ีมีความ
1995) สรุป ได้จานวนกลุ่มตวั อยา่ ง 60 ราย หมายในดา้ นลบ 2 ขอ้ ค่าความเทยี่ งเท่ากบั 0.87
เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการศกึ ษา
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ส่วนที่ 4 ทัศนคติ ของบุคลากรต่อการ
ของการศกึ ษาครงั้ นี้ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ จดั การ การปอ้ งกัน ควบคุมไข้หวดั ใหญ่สายพันธ์ุ
และ แบบบันทึกสรปุ และรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ใหม่ 2009 ในโรงพยาบาลรามาธิบดี ค่าความเที่ยง
และจัดหมวดหมู่ข้อมูล ที่เก่ียวข้องกับการ เทา่ กบั 0.65
ดาเนินงานของศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุ 2009
ในโรงพยาบาลรามาธิบดี มรี ายละเอียดดงั นี้ ส่วนท่ี 5 การรับรู้ปัญหาและอุปสรรค
แบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย 5 สว่ น ด้านการจัดการ การป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่
ดังน้ี สายพันธ์ใุ หม่ 2009 ในโรงพยาบาลรามาธิบดีต่อ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย เพศ เจ้าหน้าท่ีบุคลากรในโรงพยาบาลรามาธิบดี ค่า
อายุ อาชพี และสถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ความเที่ยงเท่ากับ 0.84
อาชีพ สถานที่ทางาน โรคประจาตัว ประวัติการ
ป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ สายพันธุ์ แบบบันทึกสรุปและรวบรวมข้อมลู
ใหม่ 2009 โดยมีลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบ จากเอกสารและจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่
ตรวจสอบรายการ (Check list) เกย่ี วข้องกบั การดาเนินงานของศูนย์ไข้หวัดใหญ่
สายพันธ์ุ 2009 ในโรงพยาบาลรามาธิบดี จัดเรียง
การบันทึกตามลักษณะปัจจัยนาเข้า (Input) คือ
Human Resource Material Management

พฤษภาคม – สงิ หาคม 2555 ปที ี่ 26 ฉบับที่ 2 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 63

Supply และกระบวนการบริหารจัดการ (Process) ปริญญาโทหรือเทียบเท่าร้อยละ 46.7 กลุ่ม
คือการอบรม การจาแนกและหมุนเวียน บุคลากร ตัวอย่างส่วนใหญ่ประกอบอาชีพแพทย์ รองลงมา
การเฝ้าระวงั บุคลากร คือผู้ปฏิบัติงานพยาบาล พยาบาล และคนงาน
ตามลาดับ สว่ นใหญ่ของกล่มุ ตัวอย่างไม่มีประวัติ
การพิทกั ษส์ ิทธ์ิ การป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009
การวิจัยคร้ังนี้ผ่านการรับรองจากคณะ แต่พบว่ามีจานวน 6 คน หรือคิดเป็นร้อยละ10
ของกลุ่มตัวอย่างซ่ึง เป็นแพทย์ 5 คน และ
กรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนคณะแพทย- พนักงานทาความสะอาด 1 คนมีประวัติการป่วย
ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย ด้วยไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 และยังพบว่า
มหดิ ล ตามเอกสารรับรองเลขท่ี 2552/1803 ท้ังนี้ มีกลุ่มตัวอย่างไม่แน่ใจว่าป่วย ด้วยไข้หวัดใหญ่
ผู้วิจัยแนะนาตัวและชี้แจงวัตถุประสงค์ของการ สายพันธุ์ใหม่ 2009 จานวน 6 คน หรือ ร้อยละ
วจิ ัยกบั กลุ่มตัวอย่างอธิบายให้กลุ่มตัวอย่างทราบ 10 เป็นแพทย์ 5 คนและพยาบาล 1 คน (ตารางท่ี 1)
ว่า การเก็บข้อมูลครั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสมัครใจ
และความยินยอมของกลุ่มตัวอย่าง การเข้าร่วม ส่วนที่ 2 ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการ
การทาวจิ ยั เปน็ ความสมัครใจและกลุ่มตัวอย่างมี ดาเนินงานของศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุ
สิทธิ์ท่ีจะปฏิเสธและจะไม่มีผลต่อการรักษา 2009 ในโรงพยาบาลรามาธิบดีด้านบุคลากร
พยาบาลใดๆ ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาครั้งน้ี จะ (Human Resource) โดยคณะทางานไข้หวัดใหญ่
ถูกเก็บเป็นความลับ และผลการวิจัยจะออกมา สายพันธุ์ใหม่ 2009 มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการให้
เป็นภาพรวมและนามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษา บริการผู้ป่วยที่มารับการรักษาให้เป็นไปตาม
เทา่ น้นั กลุ่มตวั อย่างสามารถหยุดและยกเลิกการ มาตรฐานการรักษาพยาบาลและสั่งการไปยัง
ตอบแบบสอบถามได้หากไม่ต้องการตอบแบบ หน่วยงานต่างๆ เกย่ี วกับโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุ
สัมภาษณ์ ใหม่ 2009 ให้ดาเนินการอย่างเรียบร้อยและมี
ประสิทธิภาพ ส่วนหน่วยงานและภาควชิ าต่างๆ ใน
ผลของการศกึ ษา ขณะที่มีการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การศกึ ษาการจัดการ การป้องกันควบคุม 2009 มีบทบาทหน้าที่สาคัญดังน้ีหน่วยป้องกัน
และควบคุมการตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล (หน่วย IC)
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ในศูนย์ มบี ทบาทประสานงานกบั คณะทางานของภาควิชา
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 โรงพยาบาล พยาบาลศาสตร์ ร่วมกันดาเนินการเพ่ือลดอัตรา
รามาธิบดีเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน การตดิ เชอ้ื ในผปู้ ว่ ย โดยเฉพาะหอผู้ป่วยท่ียังเป็น
พฤศจิกายน 2552 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2553 ปัญหา เพมิ่ พูนความรู้ในการพยาบาลเพ่ือป้องกัน
นาเสนอข้อมลู เปน็ 5 ส่วนดังน้ี การติดเช้ือ ผลักดันให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการ
ปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือป้องกันการติดเช้ือใน
ส่วนที่ 1 ลักษณะท่ัวไปของกลุ่ม ระบบต่างๆ เผยแพร่ความรู้ให้บุคลากรด้วยวิธี
ตัวอย่างและประวัติการป่วย กลุ่มตัวอย่างใน
การศึกษาคร้ังนี้ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และ มี
อายุเฉล่ีย 29.78 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบ

64 Journal of Public Health Nursing May – August 2012 Vol. 26 No.2

ตา่ งๆ เช่น จลุ สารการป้องกันการติดเชื้อ โปสเตอร์ และจัดให้มีระบบ fast tract แก่บุคลากรของ
การจัดอบรมความรู้ในเรื่องไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ โรงพยาบาล เป็นช่องทางพิเศษ ในช่วงมีการ
ใหม่ 2009 เป็นต้น ภาควิชาต่างๆ ของทางคณะ ระบาดหนักสถานที่ในการ Admit ผู้ป่วยไม่
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เช่น ภาควิชา เพียงพอทางโรงพยาบาลแก้ไขสถานการณ์ โดย
อายุรศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ โสต นาสิกวิทยา ประสานงานกับโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน
โครงการจดั ตง้ั ภาควชิ าเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ภาควิชา เพ่ือส่งต่อผู้ป่วยที่จาเป็นต้องพักในโรงพยาบาล
พยาบาลศาสตร์ เป็นต้น มีบทบาทเป็นฝ่าย แต่ต้องมีอาการไม่รุนแรง จากนั้นเม่ือเหตุการณ์
สนับสนุนกาลังคน และจัดสรรบุคลากรลง การระบาดลดความรุนแรงลงส่งผลให้ยอดผู้ป่วย
ปฏบิ ัติงานที่ศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 ที่เข้ารับการตรวจคัดกรองและรักษาท่ีศูนย์
และปฏบิ ัตติ ามมาตรการของคณะทางานไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ลดลงตาม ดังนั้นทาง
สายพันธ์ใุ หม่ 2009 เป็นผกู้ าหนดไว้ คณะทางานไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 จึง
ต้องประกาศปิดศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ด้านอุปกรณ์ (Material) พบวา่ ในชว่ งแรก ลงเมือ่ เดอื นตุลาคม 2552
ของการระบาดเกิดการขาดแคลนของหน้ากาก
อนามัย ทางโรงพยาบาลได้มีการจัดการแก้ไข ด้านการจาแนกและหมนุ เวยี นบุคลากร
ปัญหาดังกล่าวโดยมีหนังสือขอความร่วมมือให้ พบวา่ ในการจัดบุคลากรลงทางานที่ศูนย์ไข้หวัด
ทุกหอผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกพยายามใช้ Mask ใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 ในส่วนของแพทย์
ผ้า และมีการจัดกล่องรับบริจาคเพื่อสมทบทุน จัดเรียงรายชื่อหมุนเวียนตามตัวอักษร (ก-ฮ)
การจดั ซอื้ หนา้ กากอนามยั และมีการจัดวางน้ายา ตง้ั แตช่ ้นั ปที ี่ 1 ถึง 4 ของทุกภาควิชารวมกัน ส่วน
ล้างมือชนิดแหง้ ไว้ตามประตหู น้าลิฟต์ Common พ ย า บ า ล แ ล ะ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น พ ย า บ า ล น้ั น จั ด
room ห้องพักของบุคลากรระหว่างรอผล PCR หมนุ เวยี นโดยภาควชิ าพยาบาลตามความสมคั รใจ
(Polymerase Chain Reaction เทคนิคสาหรับ ผู้ปฏิบัติงาน ส่วนพนักงานทาความสะอาดการ
เพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยอาศัยหลักการ DNA จัดหมนุ เวยี นเป็นความรับผิดชอบของงานอาคาร
Replication) สถานทีและยานพาหนะช่วงเดือนกรกฎาคม
2552 ถึงเดือนสิงหาคม 2552 แพทย์เวรเช้า 8 คน
การจัดการ (Management) ประกอบดว้ ย เวรบ่าย 7 คน ในสว่ นทีมพยาบาลจัด เวรเช้า 8 คน
การจดั การที่สาคญั ดังนี้ เวรบ่าย 7 คน คนงาน 1 คน ปลายเดือนกันยายน
2552 ถึง เดือน ตุลาคม 2552 มีการปรับอัตรา
ด้านอาคารสถานที่ เร่ิมแรกใช้ตู้คอน กาลงั ลงเน่อื งจากจานวนผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ
เทรนเนอร์ในการตรวจรักษา แต่เม่ือปลายเดือน ที่ศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ลดลง
มิถุนายน ได้ปรับมาใช้เป็นอาคารศูนย์อุบัติเหตุ ดังนั้นจึงปรับจานวนแพทย์เวรเช้าและบ่ายลง
และเวชศาสตร์ฉุกเฉินช้ัน 2 ช่ัวคราวเพื่อคัดกรอง เหลือเวรละ 1 คน และทมี พยาบาลเวรเช้าและเวร
และรับตรวจผู้ป่วยซ่ึงมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ บา่ ยเหลือเวรละ 2 คน คนงาน 1 คน
สายพันธ์ุใหม่ 2009 ร่วมทั้งบุคลากรของ
โรงพยาบาล (ยกเว้นเด็กทอี่ ายนุ อ้ ยกวา่ 2 ปี
รกั ษาท่ีแผนกตรวจผู้ป่วยนอกกุมารเวชศาสตร์)

พฤษภาคม – สงิ หาคม 2555 ปที ี่ 26 ฉบบั ที่ 2 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 65

งบประมาณ พบว่าในช่วงซ่ึงมีการระบาด ต่อการจัดการ การป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่
ทางโรงพยาบาลได้บริหารจัดการด้านงบประมาณ สายพันธุ์ใหม่ 2009 ของโรงพยาบาลรามาธิบดี
โดยใช้เงินงบประมาณพิเศษจัดซื้ออุปกรณ์ และการจัดตั้งศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ป้องกนั และจดั ให้มีกลอ่ งรับบริจาคเพื่อสมทบทุน 2009 อีกคร้ังเม่ือเกิดการระบาดระลอกสองของ
การจัดซ้อื หน้ากากอนามัย ส่วนด้านค่าตอบแทน ไข้หวัดใหญ่สายพันธุใ์ หม่ โดยภาพรวมมีทัศนคติ
ที่ให้แก่บุคลากรซึ่งอยู่ท่ีศูนย์ไข้หวัดใหญ่ 2009 ในระดับปานกลางด้านพฤติกรรมสุขภาพของ
ใช้หลักเกณฑ์และอัตรา โดยความเห็นชอบของ บุคลากรในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุ
คณะกรรมการในการประชุม เม่ือวันที่ 12 ใหม่ 2009 เม่ือพิจารณาผลคะแนนเฉลี่ย โดยรวม
พฤศจิกายน 2552 (อ้างตามหลักเกณฑ์และ ด้านพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรในการ
อัตราการจ่ายเงินค่าตอบแทนแก่ผู้ปฏิบัติงานใน ปอ้ งกันโรคไขห้ วดั ใหญส่ ายพนั ธ์ใุ หม่ พบว่าอยู่ใน
วันหยุดราชการกรณพี ิเศษ พ.ศ.2552) ในระหว่าง ระดับปานกลาง ส่วนรายข้อพบว่าส่วนมากมี
การศึกษาพบว่าเกิดความล้าช้าในการเบิกจ่าย คะแนนเฉลี่ยระดับปานกลาง ยกเว้นพฤติกรรม
ค่าตอบแทนแกบ่ ุคลากร การออกกาลังกาย และการหยุดพักผ่อนอยู่ที่
บา้ นอยา่ งน้อย 7 วัน เมอ่ื มอี าการไข้หวัด พบว่ามี
ส่วนท่ี 3 การรับรู้ ประสบการณ์ของ คะแนนเฉลยี่ ระดบั ต่า
บุคลากรจากการดาเนินงานด้านการส่ือสาร
และการอบรมให้ความรู้ แก่บุคลากรที่ สว่ นที่ 5 ปัญหาและอุปสรรคด้านการ
ปฏิบตั ิงานในศนู ยไ์ ข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุ 2009 จัดการ การป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่
ช่องทางการสื่อสาร หรือส่ือท่ีให้ความรู้เร่ืองโรค สายพันธ์ุใหม่ 2009 ในศูนย์ไข้หวัดใหญ่สาย
ไข้ หวั ดใหญ่ สายพั นธุ์ ใหม่ 2009 ซ่ึ งทา ง พันธุ์ใหม่ 2009 โรงพยาบาลรามาธิบดี ต่อ
โรงพยาบาลรามาธบิ ดีได้ให้แก่บุคลากรมากท่ีสุด เจ้าหน้าท่ีบุคลากร ความคิดเห็นของบุคลากร
อันดับที่ 1 คือ ป้าย บอร์ด โปสเตอร์ไข้หวัดใหญ่ ต่อปัญหาและอุปสรรคด้านการจัดการ การ
สายพนั ธใุ์ หม่ 2009 รองลงมาอันดับท่ี 2 คือ แผ่น ป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009
ปลิว/แผ่นพับไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ในโรงพยาบาลรามาธิบดีเม่ือพิจารณาโดย
สว่ นการอบรม เป็นชอ่ งทางการส่ือสารท่ีบุคลากร ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยระดับปานกลางและ
ระบวุ า่ ไดร้ ับรู้ข่าวสารน้อยที่สุด การรับรู้ ประสบ- คะแนนเฉล่ียตามรายข้อพบว่าส่วนมากมีคะแนน
การณ์ท่ีได้รับจากการจัดการ การป้องกันและ เฉล่ียระดับปานกลาง มีเพียงปัญหาด้านการ
ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 ของ จัดสรรบุคลากรลงตรวจที่ศูนย์ไข้หวัดใหญ่สาย
โรงพยาบาลรามาธิบดีโดยเฉลี่ยภาพรวมคะแนน พันธ์ุใหม่ 2009 และด้านขวัญกาลังใจ พบว่ามี
อยใู่ นระดบั มาก คะแนนเฉลยี่ ในระดบั มาก

ส่วนที่ 4 ทัศนคติ และพฤติกรรมของ
บุคลากรต่อการจัดการ การป้องกัน ควบคุม
ไขห้ วดั ใหญส่ ายพนั ธใุ์ หม่ 2009 ในโรงพยาบาล
รามาธิบดี ในการศกึ ษาดา้ นทศั นคตขิ องบุคลากร

66 Journal of Public Health Nursing May – August 2012 Vol. 26 No.2

ตารางที่ 1 จานวน รอ้ ยละของกลุ่มตัวอยา่ ง จาแนกตามลกั ษณะส่วนบคุ คล

ลกั ษณะส่วนบุคคล จานวน (n=60) ร้อยละ

1. เพศ 81.7
18.3
หญิง 49
66.7
ชาย 11 31.7
1.7
2. อายุ (ปี)
5.0
Mean= 29.78 SD 7.7 Maximum=57 Minimum= 21 31.7
46.7
3. สถานภาพสมรส 16.7

โสด 40 8.3
73.3
คู่ 19 13.3
3.3
หม้าย 1 1.7

4. ระดบั การศึกษา 43.3
31.1
มธั ยมศึกษา 3 20.0
5.0
ปรญิ ญาตรีหรือเทยี บเท่า 19
18.3
ปริญญาโทหรอื เทียบเทา่ 28 16.7
15.0
ประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล 10 13.3
8.3
5. รายไดต้ ่อเดือน (บาท) 6.7

นอ้ ยกว่า 10,000 5

10,001-20,000 44

20,001-30,000 8

30,000-40,000 2

40,000-50,000 1

6. อาชพี

แพทย์ 26

ผปู้ ฏิบัติงานพยาบาล 19

พยาบาล 12

คนงาน 3

7. แผนก

สูตศิ าสตร์ 11

จิตเวชศาสตร์ 10

เวชศาสตร์ครอบครัว 9

กุมารเวชศาสตร์ 8

วิสญั ญีวิทยา 5

อายรุ ศาสตร์ 4

พฤษภาคม – สิงหาคม 2555 ปีที่ 26 ฉบบั ท่ี 2 วารสารพยาบาลสาธารณสขุ 67

ตารางที่ 1 จานวน ร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามลักษณะสว่ นบุคคล

ลกั ษณะส่วนบุคคล จานวน (n=60) รอ้ ยละ

7. แผนก (ต่อ) 6.7
5.0
โสต ศอ นาสิก 4 5.0
3.3
ห้องผา่ ตัด 3 1.7

งานอาคารสถานที่ 3 10.0

ออโธปกิ ดิกส์ 2 80.0

ศลั ยศาสตร์ 1 10.0

8.ประวตั ิป่วยด้วยโรคไขห้ วัดใหญส่ ายพนั ธใุ์ หม่ 2009 76.7
5.0
เคยป่วย 6 5.0
(แพทย์ 5 คน คนงาน 1 คน) 1.7
11.7
ไม่เคยป่วย 48

ไมแ่ น่ใจ 6
(แพทย์ 5 คน พยาบาล 1 คน)

9.โรคประจาตัว

ไมม่ ีโรคประจาตัว 46

โรคหอบหืดหรอื โรคปอดเรอื้ รัง 3

โรคหัวใจและหลอดเลอื ด 3

โรคธาลสั ซีเมยี 1

โรคอ่นื ๆ 7

อภิปรายผล จากภาควิชาอายุรศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ โสต
1. ปัจจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับการดาเนินงาน นาสิกวทิ ยา เวชศาสตร์ฉุกเฉิน พยาบาลหน่วย IC
ตัวแทนพยาบาลหอผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วยใน
ของศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ใน ตัวแทนแพทย์ประจาบ้าน ซ่ึงมีหน้าท่ีรับผิดชอบ
โรงพยาบาลรามาธิบดี ปจั จัยท่ีเก่ียวข้องสาคัญ ในการใหบ้ ริการผู้ป่วยทีม่ ารบั การรักษาให้เป็นไป
ประกอบด้วย Human Resource, Material, ตามมาตรฐานการรักษาพยาบาลและส่ังการ
เกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ให้
Management, Budgetจากผลการศึกษาสามารถ ดาเนินการอย่างเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ
อภปิ รายผลไดด้ ังนี้ หากพิจารณาคณะทางานดังกล่าวจะพบว่าส่วน
ใหญ่ประกอบด้วยแพทย์ผู้เช่ียวชาญการรักษา
ด้านบุคลากร (Human Resource) ผู้เช่ยี วชาญด้านไวรสั ผเู้ ชี่ยวชาญจากหอ้ งปฏิบตั ิการ
พบว่าผู้มีหน้าท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงในการจัดการ และผู้ปฏิบัติงานด้านต่างๆ ในหน่วยงาน และ

การป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่

2009 ในโรงพยาบาลรามาธิบดี คือ คณะทางาน
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ประกอบด้วย

ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ อาจารย์แพทย์

68 Journal of Public Health Nursing May – August 2012 Vol. 26 No.2

บุคลากรดังกล่าวเคยมีประสบการณ์ด้านการ การจัดการ (Management) จากผลการ
ป้องกัน ควบคุมไข้หวัดนกและโรคซาร์สใน ศกึ ษาท่พี บว่าการจัดการบางอย่าง ยงั ไมส่ อดคล้อง
โรงพยาบาลรามาธิบดีขณะเกิดการระบาด ซึ่ง กับแนวทางซง่ึ ทางกระทรวงสาธารณสุขซึ่งได้วาง
ประสบการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลดีต่อการจัด แนวทางไว้ใหเ้ พอ่ื ปอ้ งกันการแพร่กระจายเช้ือโรค
จัดการไข้หวัดใหญ่สายพนั ธใุ์ หม่ 2009 ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ เอช 1 เอ็น 1
ในสถานพยาบาล ศึกษาไม่พบว่าก่อนบุคลากร
ดา้ นอุปกรณ(์ Material) ในการศึกษาถึง ซึ่งดูแลผู้ป่วยใน Influenza area หรือที่ศูนย์
ความเพียงพอของอุปกรณ์ในการป้องกันตนเอง ไข้หวดั ใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ให้พัก 3 วันก่อน
พบวา่ มีบางช่วงทเ่ี กดิ การขาดแคลนเร่ืองอุปกรณ์ ไปปฏิบตั งิ านnon -influenza area เพ่ือรอดอู าการ
ป้องกันตนเองในบางชนิด คือ หน้ากากอนามัย ปว่ ยด้วยโรคไข้หวัดใหญเ่ นื่องจากอาจอย่ใู นระยะ
ส่วนน้ายาล้างมือ ไม่พบว่าเกิดการขาดแคลน ฟักตัวของโรค (CDC, 2009) และไม่พบถึงการ
ผลของการขาดแคลนดังกล่าวยังส่งผลต่อระดับ เตรียมความพร้อมของบุคลากรก่อนลงตรวจท่ี
ความคิดเหน็ ในเร่ืองปัญหาการและอุปสรรคด้าน ศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 ในเร่ืองการ
ความเพียงพอของอุปกรณ์ป้องกันสาหรับบุคลากร อบรม ความรู้ เร่ืองไข้หวัดใหญ่ การเตรียมความ
ของโรงพยาบาล เช่น ผ้าปิดปาก และจมูก น้ายา สามารถในการดูแลผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ
ล้างมือในระดับสูง (Mean = 3.1) ในด้านการ ซ่ึงความไม่สอดคล้องดังกล่าวยังส่งผลช้ีชัดถึง
จัดการ การแก้ไขปัญหาของทางโรงพยาบาลมี ปัญหาด้านการจัดการในการศึกษาคร้ังน้ี ในการ
การออกหนังสือขอความร่วมมือให้ทุกหอผู้ป่วย สารวจความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัญหาและ
ในและผู้ป่วยนอกพยายามใช้ Mask ผ้า และมี อุปสรรคด้านการจัดการ การป้องกัน ควบคุม
การจัดกล่องรับบริจาคเพ่ือสมทบทุนการจัดซื้อ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ในโรงพยาบาล
หน้ากากอนามัย และแนะนาบุคลากรให้ความ รามาธิบดี ซึ่งได้ผลปรากฏว่าระดับคะแนนเฉล่ีย
สาคัญกับ Universal precaution เช่นการล้างมือ ท่ีสูงในเรื่องการจัดสรรบุคลากรลงตรวจท่ีศูนย์
บ่อยๆ จัดวางน้ายาล้างมือชนิดแห้งไว้ตามประตู ไข้หวัดใหญ่ และยังสอดคล้องในผลการศึกษา
หน้าลิฟต์ หน้าห้อง Common room ห้องพักของ คร้ังนี้อีกว่าช่องทางการส่ือสาร ด้านการอบรม มี
บุคลากรระหว่างรอผล PCR (Polymerase Chain ค่าเฉล่ียต่าในด้านการรับรู้ ประสบการณ์เรื่อง
Reaction เทคนิคสาหรบั เพิม่ ปริมาณดีเอ็นเอโดย ไขห้ วัดใหญส่ ายพนั ธใ์ุ หม่ 2009
อาศัยหลักการ DNA Replication) ซึ่งการจัดการ
วิธีดังกล่าวพบว่าสอดคล้องกับการป้องกันการ งบประมาณ (Supply) จากการศึกษาพบ
แพร่กระจายเชื้อของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ ถงึ การลา้ ช้าในด้านการมอบขวัญและกาลังใจแก่
ใหม่ ชนิด เอ เอช 1 เอ็น 1 ในสถานพยาบาลของ บุคลากร เช่นการเบิกจ่ายค่าตอบแทน ซึ่งผลขอ
กระทรวงสาธารณสขุ และของ Centers for Disease การล้าช้านี้ยังส่งผลกระทบต่อความคิดเห็นต่อ
Control and Prevention (CDC, 2009) ระดบั ปญั หาในการจัดการ การป้องกนั ควบคุม

พฤษภาคม – สงิ หาคม 2555 ปีที่ 26 ฉบับท่ี 2 วารสารพยาบาลสาธารณสุข 69

ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 สังเกตจาก หากทาให้พฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรเป็นไป
ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นด้านปัญหาเรื่องขวัญและ ในทิศทางท่ีดีย่อมส่งผลท่ีมีค่าเช่นกันต่อองค์กร
กาลังใจอยู่ในระดับมาก (Mean = 3.5) จากผล และบุคลากร จากผลการศึกษาในเรื่องการรับรู้
ดงั กลา่ วอาจทาให้ผลผลิต หรือผลการทางานไม่ดี ประสบการณ์ที่ได้รับจากการจัดการ การป้องกัน
สอดคล้องตามทฤษฎีของ Elton Mayo (Elton และ ควบคุมไขห้ วัดใหญส่ ายพันธุ์ใหม่ 2009 ของ
Mayo,1945อ้างถงึ ในO'Connor,1999)ทกี่ ล่าววา่ โรงพยาบาลรามาธิบดีโดยเฉลี่ยภาพรวมคะแนน
การจูงใจ ขวัญของคนงาน และผลผลิต จะมี ระดับสูง นั่นแสดงให้เห็นว่าอาจสอดคล้องจาก
ความสัมพนั ธ์กันเสมอ ถ้าหากขวัญของคนงานดี ผลการศึกษาคร้ังนี้ ที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น
หรืออยู่สูงแล้ว ก็จะทาให้ผลผลิตสูงขึ้นด้วย แพทย์และระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบข้ัน
กล่าวคือ การท่ีฝ่ายจัดการให้คนงานได้มีโอกาส ปริญญาโท จึงส่งผลให้คะแนนในส่วนการรับรู้
ตอบสนองสิง่ จงู ใจของตนแล้ว ขวัญของพนักงาน ด้านการจัดการ การป้องกันและ ควบคุมไข้หวัด
ก็จะสงู ผลผลิตก็จะสูงและดีตามไปดว้ ย ใหญส่ ายพนั ธใ์ุ หม่ 2009 คร้งั น้ีดตี ามไปด้วย

2. การรับรู้ ประสบการณ์ของบุคลากร 3. ทัศนคติและพฤติกรรมของบุคลากร
จากการดาเนินงานด้านการสื่อสาร และการ ต่อการจัดการ การป้องกัน ควบคุมไข้หวัด
อบรมให้ความรู้ แก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานใน ใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ในโรงพยาบาล
ศูนย์ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 จากผล รามาธิบดี ด้านทัศนคติของบุคลากร ต่อการ
การศกึ ษาสะทอ้ นให้เห็นถึงความหลากหลายของ จัดการ การปอ้ งกัน ควบคมุ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์
ชอ่ งทางส่อื ที่มีผลต่อการได้รับข้อมูลข่าวสารของ ใหม่ 2009 และการจัดตั้งศูนย์ไข้หวัดใหญ่ สาย
บุคลากรนั้นมีหลากหลายช่องทาง แต่จากผล พันธุใ์ หม่ 2009 อกี คร้งั เมื่อเกิดการระบาดระลอก
การศึกษากลับพบว่ามีเพียงไม่กี่ชนิดช่องทางท่ี สองของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 โดย
บุคลากรรับรู้ได้ในจานวนท่ีมาก เช่น ป้าย บอร์ด ภาพรวมบุคลากรมีทัศนคติในระดับปานกลาง
โปสเตอรไ์ ข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 รองลงมา และการท่ีบุคลากรในหน่วยงานได้มีส่วนร่วมใน
คอื แผน่ ปลิว / แผ่นพับไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ การแสดงความคิดเห็น ร่วมตัดสินใจในการ
2009 และในทางตรงกันข้ามพบการอบรม เป็น บริหารงานของหน่วยงาน ทาให้เกิดความรู้สึกว่า
ส่อื ชอ่ งทางที่บุคลากรรับรู้ได้น้อยที่สุด ซึ่งสะท้อน ตนเองมีส่วนเป็นเจ้าของหน่วยงานด้วย ซ่ึงจะ
ให้เห็นถงึ การสูญเสยี ทรัพยากรขององค์กรในการ ช่วยสร้างความม่ันใจ ทาให้บุคลากรมีความคิด
จัดการ การป้องกัน ควบคมุ โรคคร้ังน้ี แต่ถึงอยา่ งไร รเิ รมิ่ รักและภักดีต่อองค์กร เกิดความมุ่งม่ันที่จะ
การสอื่ สารถอื ว่าเปน็ ปัจจยั ท่สี าคญั เก่ยี วเนือ่ งจาก พัฒนางานใหก้ ้าวหน้า สอดคล้องกับแนวคิดของ
ว่า การได้รับข้อมลู ขา่ วสารน้นั มีความสัมพันธ์ต่อ ฟิชเชอร์ (Fisher et al.,1993 อ้างถึงใน สมคิด
พฤติกรรมสุขภาพ สอดคล้องกับการศึกษาของ ลายแวว, 2547) ด้านพฤติกรรมสุขภาพของ
กรีนและครูเตอร์ (Green & Krueter, 1991) บุคลากรซึ่งส่วนใหญ่เป็นแพทย์ และส่วนใหญ่
ดังนั้นการลงทุนที่ดูเหมือนสูญเสียทรัพยากรแต่ มีระดับการศึกษาระดับสูงคือปริญญาโท เม่ือ

70 Journal of Public Health Nursing May – August 2012 Vol. 26 No.2

พิจารณาตามรายข้อพบว่าพฤติกรรมการออก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแพทย์และมีระดับการศึกษาสูง
กาลังกาย และการหยุดพักผ่อนอยู่ท่ีบ้านอย่าง ปัจจยั ดา้ นการศึกษา ซงึ่ เปน็ ปัจจัยส่วนบุคคล จึง
น้อย 7 วัน เมื่อมีอาการไข้หวัด พบว่ามีคะแนน ไม่สามารถนามาเป็นปัจจัยด้านการปรับเปลี่ยน
เฉล่ียระดับต่า ส่วนผลคะแนนเฉล่ียโดยรวมด้าน พฤติกรรมได้ แต่อยา่ งไร ก็ตามยังมีปัจจัยด้านอื่น
พฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรในการป้องกันโรค ทีจ่ ะทาให้บคุ ลากรปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ
ไขห้ วัดใหญส่ ายพันธ์ใุ หม่ พบวา่ อย่ใู นระดับปาน- ในทางที่ดีขึ้นได้อีกคือปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
กลาง ซ่ึงไม่สอดคล้องกับผลการ ศึกษาของ ได้แก่ ครอบครัว การเข้าถึงสถานท่ี หรือบริการ
โคเบอร์นและโปบ (Coburn & Pope, 1974 อ้าง สภาวะแวดล้อม ความยืดหยุ่นของโปรแกรม
ถงึ ในอุบล เลี้ยววาริณ, 2549) ซึ่งได้ทาการศึกษา ความสะดวก และง่าย ของโปรแกรม สอดคล้อง
และพบวา่ ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับการ ตามทฤษฎีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กระทาพฤตกิ รรมสขุ ภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม (Health behavioral change model) การรับรู้ถึง
กลา่ วคอื ผ้ทู ่มี ีระดับการ ศึกษาสูงจะมีพฤติกรรม ประโยชน์ หรือสิ่งหรือความคาดหวัง ที่จะได้จาก
ป้องกันโรคมากกว่าผู้ท่ีมีระดับการศึกษาต่ากว่า การปรับเปลี่ยน รวมถึงวิธีท่ีตนเองจะต้องปฏิบัติ
และผลการศึกษาน้ียังไม่สอดคล้องกับการศึกษา แต่จะทบทวนผลรายงาน เท่าที่มีการศึกษาถึง
ของมัคเลนแคมและเซเลส (Muhlenkamp & ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม การออกกาลังกาย ซึ่ง
Sayles, 1986) ท่ีพบว่าการศึกษาสัมพันธ์ทาง อาจจะแบ่งไดเ้ ปน็
บวกกับพฤติกรรมส่งเสริมและป้องกันโรค โดยท่ี
บุคคลได้รับการศึกษาในระดับสูงจะมีพฤติกรรม 4. ปัญหาและอุปสรรคด้านการจัดการ
การกิน การออกกาลงั กาย การพกั ผ่อน การควบคุม การป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์
น้าหนัก การไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพมาก ใหม่ 2009 ในโรงพยาบาลรามาธิบดีต่อ
กว่าบคุ คลที่ได้รับการศึกษาในระดับต่ากว่า และ เจ้าหน้าท่ีบุคลากร ความคิดเห็นของบุคลากร
ความไมส่ อดคลอ้ งนี้ อาจกล่าวว่าเป็นสาเหตุของ ต่อปัญหาและอุปสรรคด้านการจัดการ การ
การป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
ในกลุ่มบุคลากรจานวนร้อยละ 10 นั้นได้จากผล ในโรงพยาบาลรามาธิบดีเม่ือพิจารณาโดยรวม
การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรใน พบว่ามคี ะแนนเฉลย่ี ระดับปานกลาง ส่วนปัญหา
การศึกษานี้มีความสอดคล้องกันการศึกษาของ ดา้ นการจดั สรรบุคลากร และด้านขวัญ กาลังใจมี
เอกเกอร์ (Egger, 1995) กล่าวไวว้ ่า คนท่มี ีความรู้ ระดับคะแนนเฉล่ยี ระดบั สงู ผลดังกล่าวอาจสร้าง
ดี ก็อาจไม่ทาพฤติกรรมท่ีต้องการได้ ขึ้นกับว่า ข้อขัดแย้งระหว่างบุคลากรและองค์กร หรือ
เขารับความรู้ไปแล้ว มีการแปรผล หรือให้ความ ต่อเน่ืองตอ่ การแพร่ระบาดของโรคในกลมุ่ บุคลากร
หมายประการใด ซ่ึงต้องขึ้นอยู่กับภูมิหลัง สืบเน่ืองจากปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวได้
ประสบการณ์ เจตคติ ค่านิยม ของแต่ละบุคคล ดังน้ันการแก้ไขปัญหา จึงควรดึงการมีส่วนร่วม
ดังน้ันในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมของบุคลากร ของบุคลากรในการตัดสินใจเกยี่ วกับการบรหิ ารงาน
ขององค์กร สร้างความตระหนักในการมีส่วนร่วม
แ ล ะ มี ก า ร ส่ื อ ส า ร วิ สั ย ทั ศ น์ แ ล ะ น โ ย บ า ย ใ ห้

พฤษภาคม – สิงหาคม 2555 ปที ่ี 26 ฉบับท่ี 2 วารสารพยาบาลสาธารณสขุ 71

บุคลากรในหน่วยงานทราบอย่างทั่วถึง (กรม ระดับบุคลากร จากผลการศึกษาพบว่า
ส่งเสริมสหกรณ์, 2552) เน่ืองจากการที่ให้ การอบรมเป็นช่องทางการให้ความรู้ ในระดับต่า
บุคลากรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในกิจกรรม ดงั น้ันควรจัดอบรม เรอ่ื งโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์
ของหน่วยงาน จะทาให้เกิดความรู้สึกว่าตนเอง ใหม่ 2009 โรคติดต่ออุบัติใหม่ หรือให้การฝึก
หรือบุคลากรนั้นๆ มีส่วนเป็นเจ้าของหน่วยงาน อบรม และฝึกปฏิบัติในเร่ือง การป้องกันตนเอง
ด้วย ซึ่งจะช่วยสร้างความม่ันใจ และหากมีการ และ Infection Control Practices อย่างสม่าเสมอ
ส่ือสารวิสัยทัศน์หรือนโยบายของหน่วยงานให้ กับบุคลากร ก่อนเข้าปฏิบัติงานท่ี Influenza area
บุคลากรทราบอย่างท่ัวถึงยิ่งทาให้ความมั่นใจ โดยแบ่งกลุ่มเป็นระดับวิชาชีพ เช่น แพทย์
ของบุคลากรท่ีมีอยู่ความรู้สึกของการมีส่วนร่วม พยาบาลผู้ปฏบิ ตั งิ านพยาบาลและ กลมุ่ พนักงาน
ส่งผลให้บุคลากรมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รัก ทาความสะอาด นอกจากน้ีผลการศึกษาท่ีพบว่า
และภกั ดี ต่อองค์กร เกดิ ความมงุ่ มน่ั จะพัฒนางาน กลุ่มบุคลากรซ่ึงประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่างท่ีมี
ให้ก้าวหน้า (Fisher et.al.,1993 อ้างถึงใน สมคิด ความรู้ระดับปริญญาโทส่วนใหญ่ แต่จากการ
ลายแวว, 2547) ประเมินพฤติกรรมการสุขภาพคะแนนเฉลี่ยโดย
ภาพรวมมรี ะดับปานกลาง ดังน้ันการปรับเปลี่ยน
ขอ้ จากดั ในการศึกษาครั้งนี้ พฤ ติ ก ร ร ม ผู้ ศึ ก ษ า มี แ นว ค ว า ม คิ ดว่ า ค ว ร น า
การศกึ ษาครงั้ นีเ้ ปน็ การศกึ ษาสถานการณ์ หลักการตลาดเพ่ือสังคม (Social marketing) และ
เทคนิคทางการตลาดมาเป็นกลวิธีเปล่ียนแปลง
ซง่ึ เกิดข้นึ เพยี งช่วงระยะเวลากรกฎาคม 2552 ถึง พฤติกรรมของบุคลากรเหลา่ น้นั (Target audience)
ตุลาคม 2552 เท่านั้น ดังนั้นอาจจะไม่สามารถ ซึ่งอาจจาเป็นต้องใช้ทฤษฎีการปรับเปล่ียน
อ้างองิ หรือใช้อธิบายสถานการณ์เกีย่ วกบั ไข้หวัด พฤติกรรมเข้ามามีส่วนร่วมด้วย เช่น Health
ใหญ่สายพนั ธุใ์ หม่ 2009 ในอนาคตได้โดยเฉพาะ Behavior Models โดยทาให้บุคลากรเหล่าน้ัน
อย่างย่ิงการเก็บข้อมูลบางอย่างยังไม่ครอบคลุม ตระหนักถึงความรุนแรงท่ีจะเกิดข้ึนเม่ือไม่ออก
เช่น การได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ กาลังกาย หรือ Social Cognitive Theory คือทา
2009 ของบุคลากร และอัตราการล้างมือเพื่อ ใหบ้ ุคลากรเกดิ ความตระหนักในการเปล่ียนแปลง
ปอ้ งกนั การระบาดของโรค พฤติกรรมโดยให้เห็นตวั อย่างจากบุคคลท่ีประสบ
ความสาเร็จในการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อเสนอแนะจากการศกึ ษา
จากข้อค้นพบในการศึกษาน้ี มีประเด็น ระดบั สถานที่ จากการศกึ ษาพบข้อจากัด
ด้านสถานท่ี ซ่ึงมีพื้นที่อยู่อย่างจากัด ดังนั้นเพื่อ
ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนางานด้านการจัดการ เป็นการเตรียมความพร้อมกับสถานการณ์การ
ป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 ระบาด หรืออุบัติภัยหมู่ ซึ่งไม่อาจคาดคะเนได้
ในโรงพยาบาลรามาธิบดีแบ่งเป็นตามด้านต่างๆ ผู้บริหารควรมีการเขียนแผนแม่บทในการเตรียม
ไดด้ ังนี้ พร้อมรับสถานการณ์ท่ีจะเกิดขึ้น ในด้านการ

72 Journal of Public Health Nursing May – August 2012 Vol. 26 No.2

จัดการดา้ นสถานที่ ว่าจะวางแผนใช้พื้นที่ส่วนใด ข้อเสนอแนะในการศึกษาครัง้ ตอ่ ไป
ของโรงพยาบาลในการเตรียมพร้อมรับกับ ควรศึกษาหาความสัมพันธ์ถึงปัจจัยท่ี
สถานการณท์ ี่จะเกดิ ข้นึ และวางแผนความพร้อม
ดา้ นตา่ งๆ ใหใ้ หพ้ ร้อมเสมอ เกย่ี วของสาเหตุการป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่สาย
พันธ์ุใหม่ 2009 ของบุคลากร เพื่ออธิบายสาเหตุ
ระดับโรงพยาบาล สร้างทัศนคติที่ดีใน ท่ีควรระวังและจัดการ เพ่ือป้องกัน ควบคุมไม่ให้
การทางานด้วยการให้ความสาคัญต่อเรื่องขวัญ เกิดการระบาดในกลุ่มบุคลากร ศึกษาปัจจัยที่มี
กาลงั ใจ ค่าตอบแทนแกบ่ คุ ลากรเป็นสาคัญ หาก ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของ
ประสบปัญหาควรทาการช้ีแจงถึงสาเหตุให้แก่ บุคลากรในโรงพยาบาลรามาธบิ ดีตาม Conceptual
บุคลากรทราบเปิดช่องทางรับฟังปัญหาจาก model เพื่อนาผลมาสู่การจัดการ (Intervention)
บุคลากรด้านการจัดการ การป้องกันควบคุม ไดต้ รงกับผลการวิจัยในครั้งนั้นๆ ศึกษาวิเคราะห์
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 จากผลการ เชิงเปรียบเทียบพัฒนาการการรับรู้ด้านทัศนคติ
ศึกษาในปัญหาและอุปสรรคด้านการจัดการ การ ประสบการณ์และพฤติกรรมการป้องกันโรค
ป้องกัน ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 ของบุคลากรใน
ในโรงพยาบาลรามาธิบดี ซ่ึงผลการวิเคราะห์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เพ่ือดูถึงการปรับปรุง
พบว่าบุคลากรส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า การ เปลี่ยนแปลงในระบบการจัดการ การป้องกัน
จดั การ การปอ้ งกนั ควบคมุ ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุ ควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ใน
ใหม่ 2009 เป็นปัญหาในระดับปานกลาง ดังนั้น โรงพยาบาลรามาธิบดีศึกษา และสารวจช่องทาง
เพื่อลดความขัดแย้ง และเพิ่มทัศนคติที่ดี ควรมี การส่ือสารของโรงพยาบาลรามาธิบดี และทา
การเฝ้าติดตามประเมินผลการจัดการ เป็นระยะ ความเข้าใจในกลุ่มเป้าหมายว่ามีความสามารถ
และสอื่ สารสรา้ งการมีส่วนร่วมเพ่ือให้บุคลากรได้ เข้าถึงข้อมูลได้มากน้อยเพียงใด ด้วยวิธี การ
ทราบถึงสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรคในด้านการ กรอกแบบสอบถาม การสังเกต และเปรียบเทียบ
จดั การ ช่องทางส่ือสารท่ีมีอยู่พร้อมทั้งประเมินการรับรู้
ของกลุม่ เปา้ หมายเป็นระยะๆ
ระดับประเทศ ควรส่งเสริมการวิจัยและ
พฒั นามาตรฐานการดาเนินงานระดับชุมชนหรือ เอกสารอา้ งอิง
องค์กร เพื่อการป้องกันและแก้ปัญหาโรคระบาด กรมสง่ เสริมสหกรณ.์ (2552). การบรหิ ารราชการ
สาคัญๆ และมีการประเมินเพ่ือรับรองมาตรฐาน
หรือให้รางวัล สาหรับองค์กรที่ประสบความ แบบมีส่วนร่วม. สืบคน้ เม่ือวันท่ี 18 มนี าคม
สาเร็จหรือดาเนินการอย่างเป็นระบบจริงจังอย่าง 2553, จาก http://webhost.cpd.go.th/ ewt/
เป็นระบบ ต่อเนื่องเช่น การประกาศเกียรติคุณ participate/manage_people1_1.html
องค์กรท่ีปฏิบัติงานได้ดีเด่นในทุกรอบปี จัด
ทาเนียบองค์กรที่ดีเด่นด้านการป้องกัน ควบคุม
โรคเปน็ ตน้

พฤษภาคม – สิงหาคม 2555 ปที ี่ 26 ฉบบั ท่ี 2 วารสารพยาบาลสาธารณสขุ 73

กระทรวงสาธารณสุข. (2552). การปอ้ งกนั การ โรคไข้หวัดใหญ่ วันที่ 13 กรกฎาคม 2552.
เอกสารไม่ตีพิมพ.์
แพร่กระจายเช้ือของโรคไขห้ วดั ใหญส่ าย นายกรฐั มนตรีไทย. (2009). ผลการดาเนนิ งานของ
รัฐบาล.สืบค้นเมอื่ วนั ที่ 24 กันยายน 2553,
พนั ธุใ์ หม่ ชนดิ เอ เอช1เอน็ 1 ใน จาก http://www.pm.go.th/works/flu-2009
ศกั ดา อาจองค.์ (2552). ทีม่ าทไ่ี ปของไข้หวัดใหญ่
สถานพยาบาลฉบับปรับปรงุ . สบื ค้นเมื่อ สายพันธ์ุใหม่ 2009, ไข้หวัดหมู หรือ Swine
flu. สืบค้นเม่ือวันที่ 24 กันยายน 2553, จาก
วนั ท่ี 24 กันยายน 2553, จาก http://www.ra.mahidol.ac.th/th/dpt/ramathi
bodi/announcement/H1N1_110752-th
http://beid.ddc.moph.go.th/th/index. บญุ ชม ศรีสะอาด และบญุ ส่ง นลิ แก้ว. (2535).
การอ้างอิงประชากรเม่ือใช้เครือ่ งมอื แบบ
php?option=com_content&task= มาตราส่วนประมาณคา่ กบั กล่มุ ตัวอยา่ ง
(Electronic Version). วารสารการวัดผล
2110271&Itemid=242 การศกึ ษา มศว มหาสารคาม, 3, หนา้ 2-4.
กระทรวงสาธารณสขุ . (2552). แนวทาง สมคดิ ลายแวว. (2547) การสรา้ งพนกั งานใหม้ ี
คุณภาพ. กรงุ เทพมหานครฯ: Media 10,
ปฏบิ ตั ิการดแู ลผ้ปู ว่ ยทตี่ ิดเชื้อหรืออาจ (มีนาคม 2547), หนา้ 68 – 69
ติดเช้อื ไขห้ วัดใหญส่ ายพันธุ์ใหม่ชนิด สัญชัย พยงุ กรม, จ. ม., ยง ภูว่ รวรรณ, (2552).
A(H1N1) ฉบบั ปรับปรุงคร้งั ที่ 2. สืบค้นเม่อื ไข้หวัดใหญ่ สายพนั ธุ์ใหม่2009 H1N1. เวช
วันท่ี 24 กนั ยายน 2553, จาก http:// ปฏิบตั ปิ รทิ ัศน์ คลนิ ิก, ฉบบั ที่ 7, หนา้ 574.
beid.ddc.moph.go.th/th/index. สานกั งานผูอ้ านวยการ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี.
php?option=com_content&task=view (2552). สรปุ การประชมุ เรือ่ งแนวทางการให้
&id=1792182&ltemid=240 การบริการผู้ปว่ ยไข้หวัดใหญ่ 2009 วนั ท่ี 22
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ด.ี (2552). กรกฎาคม 2552. เอกสารไม่ตีพิมพ์.
สรุปการประชมุ เรอ่ื งแต่งตัง้ คณะทางานโรค สานักงานผอู้ านวยการ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี.
ไขห้ วดั ใหญส่ ายพันธ์ใุ หม่ 2009 วันที่ 14 (2552). สรุปการประชุมเรื่องความก้าวหน้า
กรกฎาคม 2552. เอกสารไมต่ ีพิมพ์. การเปิดบริการโรคไข้หวดั ใหญ่ 2009 เม่อื
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. (2552). สิงหาคม 2552. เอกสารไมต่ ีพิมพ์.
รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพตามเปา้ หมาย สานักงานผอู้ านวยการ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี.
และแผนยทุ ธศาสตรร์ ะดับโรงพยาบาล (2552). สรปุ การประชุมเรอื่ งมาตรการการ
(ม.ค.49-ก.ย.52) เดอื น ตลุ าคม 2552. ตั้งรบั สถานการณ์ไข้หวดั ใหญ่ 2009 เมอ่ื
เอกสารไม่ตีพมิ พ.์ สิงหาคม 2552. เอกสารไม่ตีพิมพ์.
โรงพยาบาลรามาธิบดี. (2552). สรุปการประชุม
คณะทางานไขห้ วัดใหญส่ ายพนั ธใ์ุ หม่ 2009
เรื่องการบริการผู้ป่วยไข้หวัด 2009 ของ
โรงพยาบาล วันท่ี 20 กรกฎาคม 2552.
เอกสารไมต่ พี มิ พ.์
โรงพยาบาลรามาธิบดี. (2552). สรุปการประชุม
คณะทางานไขห้ วดั ใหญ่สายพนั ธ์ุใหม่ 2009
เรื่องแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีอาการของ

74 Journal of Public Health Nursing May – August 2012 Vol. 26 No.2

สานักงานผ้อู านวยการ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี. Egger, G., Donovan, R., Spark, R., & Lawson,
(2552). สรุปการประชุมเรอื่ งความกา้ วหน้า J. (2005). Health promotion strategies and
การเปดิ บรกิ ารโรคไข้หวดั ใหญ่ 2009 วนั ท่ี methods: McGraw-Hill Sydney: 18-19
24 สงิ หาคม 2552. เอกสารไม่ตพี ิมพ์.
Fisher, W., Piazza, C., Cataldo, M., Harrell, R.,
สานักงานผอู้ านวยการ โรงพยาบาลรามาธิบดี. Jefferson,G.,&Conner,R.(1993).Functional
(2552). สรุปการประชุมเรอ่ื งความก้าวหน้า communication training with and without
การรับมือไข้หวัดใหญ่ 2009 เม่อื กันยายน extinction and punishment. Journal of
2552. เอกสารไมต่ พี มิ พ์. Applied Behavior Analysis, 26(1), 23.

สานักงานผอู้ านวยการ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี. Green, Lawrence W. and Kreutzer, Marshall
(2552). สรปุ การประชมุ เร่ืองขอแจง้ การ W. (1991). Health Promotion Planning :
ตรวจไขห้ วดั ใหญ่สายพนั ธ์ใุ หม่ 2009 วันท่ี And Environmental Approach. Toronto :
6 ตุลาคม 2552. เอกสารไมต่ พี ิมพ์. Mayfield Publishing. Nursing Research.
31 (December): 137 – 142.
สานักงานโรคตดิ ต่ออบุ ัติใหม่. (2552).
สถานการณ์โรค.สืบคน้ เมือ่ วันที่ 24 O'Connor, E. (1999). Minding the Workers: The
กันยายน 2552, จากhttp://beid.ddc.moph. Meaning of 'Human and Human Relations
go.th/ th/index.php?option=com_ content in Elton Mayo.ORGANIZATION -
&task=view&id=1784902&Itemid=240 LONDON, 6, 223-246.

สานักงานโรคตดิ ตอ่ อุบตั ใิ หม่. (2552). Machado, A. A. (2009). How to prevent,
รายละเอยี ดสถานการณ์โรคในตา่ งประเทศ. recognize and diagnose infection with
สืบคน้ เมอื่ วันที่ 10 ตุลาคม 2552, จาก the swine- origin Influenza A (H1N1)
http://www.mfa.go.th/business/flu01.php virus in humans. Jornal Brasileiro de
Pneumologia, 35, 464-469.
สานักงานโรคตดิ ตอ่ อุบตั ิใหม่. (2552). วัคซนี
ไขห้ วดั ใหญ่ 2009 สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 2 Muhlenkamp, A. F., & Sayles, J. A. (1986).
เมษายน 2552, จาก http://beid.ddc.moph. Self-esteem, social support, and
go.th/th/index.php? option=com_content positive health practices. Nursing
&task=view&id=2110271&Itemid=242 Research, 35(6), 334.

CDC. (2009). How Flu Spreads. Retrieved WHO. (2009). World now at the start of 2009
September 22, 2009, from influenza pandemic. Retrieved September
http://www.cdc.gov/flu/about/disease/sp 20, 2009, from http://www.who.int/csr/
read.htm,http://www.cdc.gov/h1n1flu disease/swineflu/updates/en/index.html,http:
/guidelines_infection_control.htm //www.who.int/mediacentre/news/statements
/2009/h1n1_pandemic_phase6_20090611/e
Daniel, W. W. (1995). Analysis of variance. n/index.html
Biostatistics: A Foundation for Analysis
in the Health Sciences, 273–352.


Click to View FlipBook Version