v
อโุ บสถวดั วงั ปลาดกุ
หลวงพอ่ ทรงเสรฐิ (ทรงเทรดิ )
(สวมเทริดหรอื ศิราภรณบ์ นพระเศยี ร) (สวมกณุ ฑลหรือตุ้มห)ู (พระหตั ถ์ขวาอยู่ในทา่ ประทานพร)
พระประธานอโุ บสถ
ภาพถา่ ยทางอากาศ
วดั วังปลาดกุ
1
ประวตั วิ ดั วงั ปลาดกุ
วดั วงั ปลาดกุ เดมิ เป็นที่พักสงฆ์ โดยมี นายฟู นายหว่าง นายคอน นายลิ้ว นายไทย
เป็นผรู้ ิเรมิ่ ในการสร้างวดั เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๐๗ โดยใชเ้ นอ้ื ทจี่ ากการบรจิ าคของชาวบ้านซ่ึงเป็นที่ว่าง
เปล่ายกให้ด้วยวาจา บริเวณวัดนั้น มีคลองน้าธรรมชาติไหลผ่าน ขณะที่ก้าลังท้าการก่อสร้างวัด
ชาวบ้านได้ช่วยกันวิดน้าออกจากคลอง ปรากฏว่าพบแต่ปลาดุก จึงเป็นที่มาของช่ือวัดและชื่อ
หมู่บ้าน โดยมีหลวงพ่อฟู เมืองมา และหลวงพ่อทุย กันเดช เป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์ สถานที่ตั้ง
วัดวังปลาดุก ต้ังอยู่เลขท่ี ๙๙ หมู่ท่ี ๕ บ้านวังปลาดุก ต้าบลมะตูม อ้าเภอพรหมพิราม
จังหวดั พษิ ณโุ ลก สงั กัดคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค ๕
มอี าณาเขตดังน้ี ทศิ เหนือ ติดต่อกับที่ดนิ ของนางมดั นูนคาน
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับถนน สิงหวัฒน์
ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กับ คลองน้าธรรมชาติ
ทิศตะวันตก ติดตอ่ กบั ท่ดี นิ ของ นางมัด นูนคา
ลักษณะทต่ี ั้งวัด เป็นพ้นื ท่ีราบลมุ่ ติดกบั ถนนทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข ๑๒ หรือ ถนนสิงหวัฒน์
ท่ีดินของวดั มจี า้ นวน ๘ ไร่ ๑ งาน ๙๔ ตารางวา เปน็ โฉนดทดี่ นิ
ที่ดินของวดั มีจา้ นวน ๖ ไร่ ๒ งาน ๔๓ ตารางวา เป็นโฉนดที่ดนิ
2
ท่ดี ินธรณีสงฆ์มีจา้ นวน ๑ ไร่ ๑ งาน ๒๐ ตารางวา เป็นโฉนดทด่ี นิ
ท่ดี ินธรณีสงฆ์มจี ้านวน ๒ ไร่ ๑ งาน ๓๗ ตารางวา เป็นโฉนดท่ีดิน
3
จนกระทั่งเมอ่ื วันท่ี ๒๕ กันยายน ๒๕๓๘ ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด ต่อมา,กระทรวงศึกษาธิการได้
ประกาศตง้ั วัด เม่อื วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่
๒๐ กนั ยายน ๒๕๕๐ และไดก้ า้ หนดจัดงานผูกพัทธสีมาตัดหวายลูกนิมิตอุโบสถขึ้น ระหว่างวันท่ี
๒๖ ธนั วาคม ๒๕๕๑ ถงึ วันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๒
ประวตั หิ ลวงพอ่ ทรงเสรฐิ (ทรงเทรดิ )
หลวงพ่อทรงเสรฐิ (ทรงเทริด) เปน็ หนึ่งในพระพทุ ธรูปศักดิ์สิทธป์ิ ระจา้ ต้าบลมะตูม อ้าเภอ
พรหมพริ าม จังหวัดพิษณุโลก ประดิษฐานอยู่ประจ้าคู่บ้านคู่วัดวังปลาดุก มาต้ังแต่เร่ิมสร้างวัด
เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องน้อยศิลปะอยุธยา สันนิฐานว่าพระพุทธรูปองค์น้ี เดิมนั้นประดิษฐาน
อยู่บริเวณวัดเก่า (ริมแม่น้าน่าน) ก่อนท่ีจะย้ายมาเป็นวัดท่าไชย หมู่ที่ ๒ ต้าบลมะตูม อ้าเภอ
พรหมพริ าม จงั หวัดพิษณโุ ลก ในปัจจบุ นั
ในสมัยก่อนชาวบ้านในต้าบลมะตูม บริเวณวัดทา่ ไชย (รมิ น้านา่ น)
ไดม้ าจับจองทด่ี ินท้าไร่ท้านาท้าสวนในบริเวณ
บ้านวังปลาดุกในปัจจุบัน เน่ืองด้วยระยะทาง
ไปกลับระหว่างบ้านและท่ีไร่ที่นาใช้เวลานาน
ชาวบ้านจึงได้สร้างท่ีพักอาศัยไว้และบางคนก็
ได้อพยพมาสร้างบ้านเรือนในท่ีนี้ จึงเกิดเป็น
หม่บู ้านใหม่ เรียกตามลักษณะพ้ืนที่ ที่มีคลอง
น้าเป็นคลองส้าคัญภายในคลองน้านั้นมีปลา
ดุกชกุ ชน ชาวบา้ นจึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านใหม่น้ี
วา่ “บ้านวงั ปลาดุก” จนถงึ ปจั จุบัน
4
เม่ือเกิดเป็นหมู่บ้านวังปลาดุกน้ีข้ึน ชาวบ้านต่างๆก็ได้อพยพมาสร้างบ้านเรือนอาศัยเพิ่ม
จ้านวนมากขึ้น เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๕๐๗ ชาวบ้านวังปลาดุกได้ปรึกษากันข้ึนว่าจะสร้างวัด
ประจ้าหมู่บ้าน ตัวแทนหมู่บ้านได้น้าเรื่องไปปรึกษากับหลวงพ่อสาม ฐิตปุญฺโญ แห่งวัดท่าไชย
ตา้ บลมะตูม อ้าเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งในขณะน้ันหลวงพ่อเป็นพระคณาจารย์ช่ือ
ดังและเป็นท่ีเคารพกราบไหว้ของบุคคลทั่วไป หลวงพ่อสาม ฐิตปุญฺโญ ท่านยังได้รับเป็นธุระ
รักษาการดแู ลคณะสงฆแ์ ละวัดต่างๆในตา้ บลมะตมู อกี ดว้ ย
หลวงพ่อสาม ฐิตปญุ โฺ ญ พอท่านได้ทราบเร่ือง หลวงพ่อสาม ฐิตปุญโฺ ญ
ที่จะสร้างวัดน้ี หลวงพ่อท่านก็ปีติยินดีเป็นอย่างย่ิง
พร้อมกับได้มอบพระพุทธรูปหน่ึงองค์ ที่หลวงพ่อได้
น้ามาจากวัดร้างเก่าของวดั ทา่ ไชย เดมิ อยู่บริเวณริมน้า
น่าน หลวงพ่อได้ให้ช่างที่มาสร้างอุโบสถหลังใหม่ของ
วัดทา่ ไชยในขณะนั้น ซ่ึงเป็นช่างชาวจีน ท้าการบูรณะ
พระพุทธรูปองค์นี้ เดิมพระพุทธรูปองค์นี้ มีการช้ารุด
เสียหาย หลวงพ่อสาม ฐิตปุญฺโญ ได้กล่าวกับ
คณะกรรมการของหมบู่ ้านตอนมอบพระพุทธรูปองค์น้ี
ว่า “พระองค์น้ีฉันมอบให้เป็นกรรมสิทธ์ิแก่วัดวังปลา
ดุก พระองคน์ ี้จะไปสร้างวดั และสรา้ งความเจริญให้กับ
หมู่บ้าน”
พระพทุ ธรูปองค์นี้ ต่อมาชาวบ้านวงั ปลาดกุ ไดเ้ รียกตามพุทธลักษณะของพระพทุ ธรูปที่สวม
เทริด (เทริดหรือเชดิ คือเครือ่ งประดับศรีษะ รปู เหมือนมงกุฎเต้ีย มีกรอบหน้า) อยู่บนพระเศียรว่า
“หลวงพอ่ ทรงเทรดิ ” และไดเ้ รียกเพ้ยี นเสยี งมาเปน็ “ทรงเสรฐิ ” ดงั ในปจั จบุ ันนี้
หลวงพ่อทรงเสริฐ เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องน้อย มีการแต่งองค์ทรงเครื่อง เช่น สวม
เทรดิ หรอื ศริ าภรณ์ มีกุณฑล (ตุ้มหู) เป็นต้น พระพุทธรูปทรงเครื่องน้อยนี้นิยมสร้างมาต้ังแต่คร้ัง
กรุงศรีอยุธยา หลวงพ่อทรงเสริฐ ได้รับการบูรณะโดยช่างชาวจีน จึงได้รับอิทธิพลผสมผสานกับ
ศิลปะของจนี แต่เดิมสนั นิฐานว่าน่าจะเป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ แต่พอท้าการบูรณะในส่วนพระ
หตั ถ์ท่หี ายไป หลวงพอ่ สาม ฐิตปุญฺโญ ท่านจึงต้องการบูรณะให้เป็นพระพุทธรูปประทานพร จึง
ให้ช่างท้าการแต่งพระหัตถ์ใหม่ในท่าประทานพรยังที่เห็นในปัจจุบันส่วนฐานพระมีลวดลายเครือ
เถาทีส่ วยงาม
5
ภาพวดั ทา่ ไชย
6
ประวตั หิ วั หนา้ ทพ่ี กั สงฆแ์ ละเจา้ อาวาส
-พ.ศ.๒๕๑๐ – ๒๕๑๘ หลวงพอ่ ฟู เมอื งมา เปน็ หัวหน้าทพี่ ักสงฆ์ มรณภาพ พ.ศ.๒๕๑๘
ป
-พ.ศ.๒๕๑๘ – ๒๕๒๐ หลวงพอ่ ทุย กันเดช เป็นหวั หน้าทพี่ กั สงฆ์ มรณภาพ พ.ศ.๒๕๒๐
-พ.ศ.๒๕๒๖ – ๒๕๔๐ หลวงพ่อเจยี น เป็นหัวหนา้ ท่พี กั สงฆ์ (ลาสิกขา)
7
พระครูสถิตวีรธรรม (หลวงพ่อรอด ฐิตวิริโย) เจ้าคณะอ้าเภอพรหมพิราม ซ่ึงหลวงพ่อ
เป็นพระคณาจารย์ช่ือเสียงโด่งดังระดับประเทศ มีลูกศิษย์มากมาย ได้เล็งเห็นว่าที่พักสงฆ์
วงั ปลาดกุ มชี ัยภมู ิที่ดี ติดถนนสายพิษณุโลก – สุโขทัย เห็นสมควรที่จะได้รับการพัฒนาให้เป็น
วัดท่ีถูกต้องสืบต่อไป พระครูสถิตวีรธรรม (หลวงพ่อรอด ฐิตวิริโย) จึงพิจารณาเห็นสมควร
แต่งตงั้ ให้ พระใบฎกี าสมบัติ อชุ จุ าโร เจ้าคณะต้าบลมะตูม สังกัดวัดหนองหม้อแกง มาเป็นผู้น้า
ในการพัฒนาที่พักสงฆ์วังปลาดุกให้เป็นวัดท่ีถูกต้องตามกฎหมายและถูกต้องตามพระวินัยเพ่ือ
บรรเทาความเดอื ดรอ้ นของประชาชน
8
พระครพู ทิ กั ษส์ ลี าจาร
เจา้ อาวาสวดั วงั ปลาดกุ
และเจา้ คณะตาบลมะตมู
9
งานปกครอง 10
๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๗
๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๑ เปน็ เจ้าคณะต้าบลมะตูม
๗ พฤษภาคม ๒๕๔๒ เปน็ ผ้รู ักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดวังปลาดกุ
๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๘ เปน็ เจ้าอาวาสวัดวังปลาดุก
เปน็ พระอปุ ัชฌาย์
งานการศกึ ษา
๒๔ มนี าคม ๒๕๒๔ ส้าเรจ็ วชิ าสามญั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓
โรงเรยี นอา้ นวยศิลป์ แขวงพญาไท
พ.ศ. ๒๕๓๔ เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร
๓๑ มีนาคม ๒๕๔๙ สอบไล่ไดน้ ักธรรมชนั้ เอก วัดหนองหม้อแกง
ได้สา้ เร็จการศึกษาตามหลักสตู รประกาศนียบตั ร
๓๐ มีนาคม ๒๕๕๔ การบรหิ ารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)
วิทยาลัยสงฆพ์ ทุ ธชนิ ราช วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุ
๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ส้าเรจ็ การศึกษาเปน็ พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.)
งานเผยแผ่ วิทยาลยั สงฆ์พุทธชนิ ราช วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุ
พ.ศ. ๒๕๓๗ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
สา้ เรจ็ การศึกษารัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต (รป.ม.)
งานสมณศกั ดิ์ มหาวิทยาลัยพิษณุโลก
พ.ศ. ๒๕๓๘
เป็นพระธรรมทูตสายที่ ๓ ร่นุ ที่ ๑๐ ประจ้าอา้ เภอ
พ.ศ. ๒๕๔๓ พรหมพริ าม จังหวัดพิษณุโลก
พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รบั แตง่ ตัง้ เป็น พระฐานานกุ รม ของพระครสู ถิตวรี ธรรม
เจ้าคณะอ้าเภอพรหมพิราม วัดสนั ติกาวาส
อา้ เภอพรหมพริ าม ในตา้ แหน่ง “ พระใบฎกี า ”
ไดร้ บั พระราชทานสมณศักด์ิ เปน็ พระครูสัญญาบัตร
เจา้ คณะต้าบลชั้นโทในราชทนิ นามท่ีพระครูพทิ ักษ์สีลาจาร
ไดร้ บั พระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ดิ์ เปน็ พระครูสญั ญาบัตร
เจ้าคณะต้าบลชั้นเอก ในราชทนิ นามเดิม
11
งานสาธารณปู การ (เสนาสนะภายในวดั )
เสนาสนะภายในวัดวังปลาดุก เกิดจากความศรัทธาในพระพุทธศาสนาของประชาชนใน
พื้นที่ เพ่ือใช้เป็นสถานที่บ้าเพ็ญกุศลร่วมกัน จึงได้รับการส่งเสริมอุปถัมภ์วัดเป็นอย่างดี
มีสิ่งกอ่ สร้างท่ี,สา้ คัญ ๆ ภายในวัด คือ
อโุ บสถ
พ.ท.สมบรู ณ์ เผือกทอง
อนศุ าสนาจารย์ บวงสรวงเทพาอารกั ษ์
โดย เจา้ คุณพระวรญาณมนุ ี (หลวงพอ่ เช่อื ม เกสโว) เจา้ คณะจงั หวัดพิษณุโลก
วดั พระศรีรตั นมหาธาตุ ฯ เป็นประธานในพธิ ีวางศิลาฤกษ์อุโบสถ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๖
เจา้ คุณพระวรญาณมุนี เจ้าคุณพระวรญาณมนุ ี
เจิมแผ่นศิลาฤกษ์ ตอกไม้มงคลเป็นปฐมฤกษ์
พระครูพิทักษ์สีลาจาร พระสงฆเ์ จรญิ ชัยมงคลคาถาและประชาชนรว่ มกนั โปรย
รว่ มตอกไมม้ งคล ขา้ วตอกดอกไม้
12
พ.ศ.๒๕๔๗ ภาพพระเถรภาวนาจารย์ นั่งปรกอธิษฐานจิต ในการประกอบพิธี
เททองหล่อพระพุทธชินราช (จ้าลอง) หน้าตัก ๖๙ นิ้ว เป็นพระประธานในอุโบสถ ในการเททอง
ครง้ั น้ชี าวบ้านได้ร่้าลือกันว่าเกิดสิ่งมหัศจรรย์คือ มีลูกไฟสีเขียวลอยมาจากฟ้าแล้วตกลงไปยังองค์
พระที่ท้าการหลอ่
พ.ท.สมบูรณ์ เผอื กทอง พระครสู ถติ วีรธรรม
อนศุ าสนาจารย์ บวงสรวงเทพาอารักษ์ (หลวงพ่อรอด ฐติ วิรโิ ย)
วัดสนั ติกาวาส อ้าเภอพรหมพิราม
จอ.พรหมพิราม น่ังปรกอธษิ ฐานจิต
เจ้าคุณพระโสภณรตั นาภรณ์ เจ้าคุณพระมงคลสุนทร
(หลวงพ่อนารถ ลวณรกโฺ ข) (หลวงพ่อโถม กลฺยาโณ)
วัดศรีรัตนาราม (จูงนาง) วัดธรรมปญั ญาราม อ้าเภอครี มี าศ
เจา้ คณะจงั หวัดพษิ ณุโลก เจา้ คณะจงั หวัดสโุ ขทัย
เจา้ คุณพระโสภณปรยิ ัติธรรม เจ้าคุณพระวรญาณมุนี
(หลวงพอ่ ณรงค์ ปภสฺสโร) (หลวงพ่อเช่อื ม เกสโว)
วัดธรรมจักร วัดพระศรีรตั นมหาธาตวุ รมหาวิหาร
ทีป่ รึกษาเจา้ คณะจงั หวดั พิษณโุ ลก
รองเจ้าคณะจังหวดั พิษณุโลก
13
พระอาจารยม์ หาสมบรู ณ์ ปญญฺ าวุโธ เจ้าคุณพระมงคลสุนทร
(หลวงพ่อโถม)
พร้อมคณะสงฆส์ วดธรรมจกั ร
และเจรญิ ชัยมงคลคาถา อธิษฐานจิตแผ่เมตตา
คณะศรัทธาญาติโยมจาก อา้ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี
เป็นเจ้าเททองหลอ่ พระพทุ ธชนิ ราช (จ้าลอง) หน้าตัก ๖๙ นวิ้ เป็นจ้านวนเงิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท
๑๓ มนี าคม ๒๕๔๘ ยกชอ่ ฟา้ อุโบสถ
14
งานผกู พทั ธสมี า
นายจ้าลอง เณรแยม้ นายอา้ เภอพรหมพริ ามปักหมายเขต ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๑
15
พระราชวมิ ลเมธี เจ้าคณะจงั หวัดสุโขทยั เจรญิ ชัยมงคลคาถาเปิดงานและน้าปดิ ทอง
เป็นปฐมฤกษ์รว่ มกับนายจ้าลอง เณรแย้ม นายอา้ เภอพรหมพริ าม
พระโฆษกประจา้ งานผูกพัทธสมี า
สาธุชนมาร่วมปิดทองลูกนิมิต
16
ตัดหวายลูกนมิ ิต
พระครูสมุ ณฑธ์ รรมกิจ พระราชธรรมคณี
รองเจ้าคณะอาเภอพรหมพิราม เจา้ คณะจังหวัดพษิ ณโุ ลก
(เอนก จนทฺ โก) รว่ มปิดทอง (หลวงพอ่ นารถ ลวณรกฺโข)
ประธานตัดหวายลูกนมิ ติ
อุปสมบทนาคหมู่งานผกู พัทธสมี าวัดวงั ปลาดกุ ๓ มกราคม ๒๕๕๒
17
เจดีย์ กวา้ ง ๑๓ เมตร ยาว ๑๓ เมตร สูง ๒๔ เมตร (ยงั สรา้ งไมแ่ ล้วเสรจ็ )
18
ภาพงานแกะสลกั บานหนา้ ตา่ งเจดยี ์
1 บานประตูเจดีย์ ประกอบด้วย ตัวละคร 2 บานหน้าต่าง พระรามส้รู บกบั ทศกัณฐ์
รามเกียรติ์ 3 คู่ คือ (พระนารายณส์ รู้ บกับนน
ทุก), (พระราม สรู้ บกับทศกณั ฐ์), (หนุมาน สูร้ บ
กบั มจั ฉานุ)
3 บานหน้าต่าง พระรามส้รู บกับไมยราพ 4 บานหนา้ ต่าง หนมุ านสู้รบกับไมยราพ
19
5 บานหน้าตา่ ง หนมุ านส้รู บกบั ไมยราพ 6 บานหนา้ ตา่ ง หนมุ านสู้รบกบั กุมภกรรณ
7 บานหน้าต่าง หนมุ านสรู้ บกบั มจั ฉานุ 8 บานหน้าต่าง พระลักษณส์ รู้ บกับทศกัณฐ์
20
9 บานหนา้ ตา่ ง หนมุ านสรู้ บกับกมุ ภกรรณ 10 บานหน้าต่าง พระรามสู้รบกบั ทศกฐั ์
11 บานหน้าต่าง พระนารายณ์สู้รบกับนนทุก
21
พระครพู ทิ กั ษส์ ลี าจาร
จดุ ธปู เทยี นบชู าพระรตั นตรยั
พธิ พี ทุ ธาภเิ ศกหลวงพอ่ ทรงเสรฐิ
22
เจา้ คณุ พระมงคลสธุ ี (หลวงปแู่ ขก) ทป่ี รกึ ษาเจา้ คณะจงั หวดั พษิ ณโุ ลก
วดั สนุ ทรประดษิ ฐ์ ประกอบพธิ บี วงสรวงเทพาอารกั ษ์
23
เจา้ คณุ พระมงคลสธุ ี (หลวงปแู่ ขก) เจมิ และจดุ เทยี นชยั
หลวงพอ่ ไพลนิ นงั่ ปรกอธษิ ฐานจติ
24
หลวงพอ่ จง นง่ั ปรกอธษิ ฐานจติ
พระครพู มิ ลศาสนกจิ (หลวงปมู่ อ่ ม ฐติ าโภ, ปานกลน่ิ )
เจา้ อาวาสวดั ยา่ นขาด นงั่ ปรกอธษิ ฐานจติ
25
สวดธรรมจกั รพธิ พี ทุ ธาภเิ ศกหลวงพอ่ ทรงเสรฐิ
สวดพทุ ธาภเิ ศกหลวงพอ่ ทรงเสรฐิ
26
หลวงพอ่ ทรงเครอ่ื ง
พระราชธรรมคณี เจา้ คณะจงั หวดั พษิ ณโุ ลก
ประธานเททองหลอ่ พระพทุ ธรปู ทรงเครอื่ ง
27
รา้ นสวสั ดีพานชิ เปน็ เจ้าภาพ
เปน็ เจ้าเททองหล่อพระพุทธรูปทรงเครื่องหนา้ ตัก ๒๙ นวิ้
เปน็ จานวนเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท
28
๑๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๒
นายสมภพ (ขาว) เป็นเพอ่ื นรุ่นพี่ พระใบฎีกาสมบัติ อชุ จุ าโร
พรอ้ มคณะจากกรุงเทพฯ ถวายปจั จยั ๔๐๐,๐๐๐ บาท
เปน็ เจ้าภาพสร้างเมรุวัดวังปลาดกุ
29
30
31
ซมุ้ ประตูและกา้ แพงเกา่
32
ซุ้มประตูและก้าแพงใหม่ กวา้ ง ๖.๕๐ เมตร สูง ๖.๕๐ เมตร
33
ศาลาการเปรยี ญหลังเกา่
34
ศาลาการเปรยี ญหลงั ใหม่
หลวงพอ่ ประทุม แกว้ ชเู ชดิ
๒๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๘
ได้รับทรัพย์มรดก ของพระประทุม แก้วชูเชิด โดยธนาคารทหารไทยจ้ากัด
(มหาชน) บญั ชเี ลขท่ี ๓๑๔-๒-๗๙๓๕๑๖ (มรณภาพมที รพั ย์สนิ ทไ่ี ด้มาในระหว่างอยู่ใน
สมณเพศ)เป็นเงินจ้านวน ๑,๕๗๗,๖๙๓ บาท (หนึ่งล้านห้าแสนเจ็ดหม่ืนเจ็ดพันหก
ร้อยเก้าสิบสามบาทถ้วน) เป็นทนุ กอ่ สร้างศาลาการเปรยี ญ
35
36
พล.อ.อ.ยรรยง คันธสร
รองผบู้ ัญชาการทหารอากาศ
จดุ ธปู เทยี นบชู าพระรัตนตรยั
37
38
39
เจ้าคุณพระศรรี ัตนมนุ ี
(ขวญั รกั มหาวายาโม)
เจ้าคณะจงั หวดั พิษณุโลก
วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุ ฯ ประธานฝ่ายสงฆ์
เจ้าคุณพระมงคลสุธี (หลวงปู่แขก)
ทปี่ รกึ ษาเจ้าคณะจังหวดั พษิ ณโุ ลก
วดั สนุ ทรประดษิ ฐ์
40
เจา้ คณุ พระรตั นโมลี
รองเจา้ คณะจงั หวดั พิษณุโลก
วัดพระศรรี ตั นมหาธาตุ ฯ
พระครสู ุธรรมวโรทยั
รองเจ้าคณะอาเภอกงไกลาส
วัดคงุ้ ยาง
พระครสู ริ ธิ รรมานสุ นธ์ิ
รองเจ้าคณะอาเภอพรหมพิราม
วดั มะตอ้ ง
41
พระสงฆ์สวดธรรมจักร
และเจริญชยั มงคลคาถา
พล.อ.อ.ยรรยง คันธสร
รองผู้บญั ชาการทหารอากาศ
ประธานฝา่ ยฆราวาส
42
43
พล.อ.อ.ยรรยง คนั ธสร
รองผ้บู ญั ชาการทหารอากาศ
เปน็ ประธานจดุ ธูปเทยี นบชู าพระรตั นตรยั
สมโภชพระพทุ ธชนิ ราช (จาลอง)
หนา้ ตกั ๓๙ นว้ิ
เมอ่ื วันท่ี ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑
ณ ศาลาการเปรียญวดั วงั ปลาดุก
จานวนเงิน ๓๕๐,๐๐๐ บาท