The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนวิชาดิจิตอลประยุกต์(30104-2209)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prajuab_2512, 2021-06-29 04:48:31

แผนการสอนวิชาดิจิตอลประยุกต์(30104-2209)

แผนการสอนวิชาดิจิตอลประยุกต์(30104-2209)

แผนการจดั การเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ

ชื่อวชิ า ดิจทิ ลั ประยุกต์

รหัสวชิ า 30104-2209 ทฤษฎี 2 ปฏบิ ัติ 3 หน่วยกติ 3

หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง

ประเภทวชิ าช่างอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าไฟฟ้า

สาขางานไฟฟ้ากาลงั

จัดทาโดย
ว่าที่ ร.ต.ประจวบ แสงวงค์

วทิ ยาลยั เทคนิคสว่างแดนดนิ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ

2

คานา

หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง(ปวส.) พุทธศกั ราช 2563 เป็นหลกั สูตรท่ีผลิต และพฒั นาแรงงาน
ในระดบั เทคนิค ผคู้ วบคมุ งาน ผชู้ ่วยวิศวกร หรือประกอบอาชีพส่วนตวั ใหส้ ามารถเป็นหวั หนา้ หรือประกอบอาชีพ
ได้ โดยม่งุ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรู้ไดเ้ ตม็ ท่ี ปฏิบตั ิงานไดจ้ ริงและเขา้ ใจนาไปใช้
ในชีวิต สาหรับแผนการสอนรายวิชาดิจิทลั ประยกุ ต์ รหสั วิชา 30104 – 2209 ซ่ึงจดั อยใู่ นหลกั สูตร
ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.) พุทธศกั ราช 2563 สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลงั ผจู้ ดั ทาไดด้ าเนินการจดั ทา ให้
สอดคลอ้ งตามมาตรฐานวิชาชีพ และมาตรฐานรายวชิ า เพ่ือนาไปใชส้ อนวิชาดงั กลา่ ว เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนได้มีสมรรถนะ
ทางอาชีพทางอาชีพตามท่ีมาตรฐานรายวิชาไดก้ าหนดไว้

ประจวบ แสงวงค์
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564

สารบญั 3

Teaching Plan หนา้
ข้นั ตอนการวิเคราะห์แผนการสอน 4
มาตรฐานวชิ าชีพ 6
คาอธิบายรายวิชา 7
ตารางการวเิ คราะห์หลกั สูตร 8
กาหนดโครงสร้างแผนการสอน 10
แผนการสอนหน่วยที่ 1 16
แผนการสอนหน่วยที่ 2 19
แผนการสอนหน่วยท่ี 3 39
แผนการสอนหน่วยที่ 4 50
แผนการสอนหน่วยที่ 5 61
แผนการสอนหน่วยท่ี 6 72
แผนการสอนหน่วยที่ 7 83
แผนการสอนหน่วยท่ี 8 94
แผนการสอนหน่วยท่ี 9 104
แผนการสอนหน่วยท่ี 10 115
บรรณานุกรม 126
135

4

แผนการสอน ( Teaching Plan )

แผนการสอน หมายถึง เอกสารที่มีรายละเอียดการแบง่ เน้ือหาออกเป็นหวั ขอ้ ยอ่ ยๆและจดั เตรียมกระบวนการ
เทคนิควธิ ีการถา่ ยทอดความรู้ การเรียนรู้ ไวอ้ ยา่ งครบถว้ นสมบรู ณ์ทกุ ประการ
( อานวย เถาตระกูล 2541: 11 อา้ งใน สัมฤทธ์ิ ภูเล่ียมคา 2547:1-6)
ประโยชน์ของแผนการสอน (อานวย เถาตระกลู 2541: 5-7 อา้ งใน สัมฤทธ์ิ ภูเลี่ยมคา 2547:1-6)

ประโยชนข์ องแผนการสอนที่ครูจดั ข้ึน จะเป็นสิ่งบ่งบอกใหเ้ ห็นถึงสมรรถภาพของความเป็นครูอาชีพไดอ้ ยา่ ง
ชดั เจนจนมากกวา่ ส่ิงอ่ืนใด รวมท้งั จะสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเป็นผมู้ ีความรอบรู้ในเร่ืองราว เน้ือหาสาระ และ
กระบวนการถา่ ยทอดของครูผสู้ อนวา่ มีความพร้อมท่ีสมบูรณ์มากนอ้ ยเพียงใด ประโยชน์ของแผนการสอนมี 3
ประการ ไดแ้ ก่
1.ประโยชน์สาหรับครูผู้สอน

1.1 ครูไดม้ ีการศึกษาหลกั สูตรรายวิชาที่ตนเองจะเขยี นแผนการสอนก่อนจะลงมือเขยี นแผนการสอน
1.2 ครูไดม้ ีการวิเคราะหห์ ลกั สูตรรายวิชา ก่อนที่จะลงมือเขยี นแผนการสอน
1.3 ครูไดก้ าหนดจุดประสงคก์ ารสอนแต่ละหน่วย แต่ละเร่ืองใหส้ อดคลอ้ งกบั จุดประสงคร์ ายวิชา สนอง
จุดมุ่งหมายของหลกั สูตร และสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั วฒุ ิภาวะของนกั ศึกษาอีกดว้ ย
1.4 ครูไดก้ าหนดเวลาของการสอนไดส้ มั พนั ธ์กบั เน้ือหาและจุดประสงค์
1.5 ครูไดเ้ ลือกวธิ ีสอนที่เหมาะสมกบั เน้ือหา เคร่ืองมือ วสั ดุ อปุ กรณ์ จานวนนกั ศึกษา อาคาร สถานท่ี และ
เวลา
1.6 ครูไดเ้ ลือกกิจกรรมใหน้ กั ศึกษาปฏิบตั ิไดส้ อดคลอ้ ง เหมาะสมกบั จุดประสงค์ เน้ือหา เคร่ืองมือ วสั ดุ
อุปกรณ์ จานวนนกั ศึกษา อาคารสถานท่ี และความพร้อมของทอ้ งถิ่นเป็นสาคญั
1.7 ครูไดเ้ ลือกส่ือการสอนตา่ งๆ เหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มทุกๆดา้ นของนกั ศึกษา อยา่ งแทจ้ ริง
1.8 ครูไดจ้ ดั หาสื่อ หรือผลิตส่ือ ไดต้ รงตามความตอ้ งการและเหมาะสมกบั สภาพทอ้ งถิ่น
1.9 ครูไดเ้ ลือกวิธีการวดั และประเมินผลไดต้ รงตามกบั ลกั ษณะของจุดประสงคแ์ ละเน้ือหา
1.10 ครูสอนเน้ือหาไดค้ รบถว้ นตามหลกั สูตรที่กาหนดไว้
1.11 ครูไดเ้ ลือกเคร่ืองมือ เครื่องจกั ร วสั ดุอุปกรณ์ ไดเ้ หมาะสมกบั สภาพปัจจุบนั ของแต่ละทอ้ งถิ่น
1.12 ครูไดว้ างแผนการใชพ้ ้นื ท่ีไมว่ า่ จะเป็นโรงฝึกงาน หรือในหอ้ งเรียนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั จานวนของ
นกั ศึกษาและสภาพโรงฝึกงานหรือหอ้ งเรียน

2. ประโยชน์สาหรับนกั ศึกษา
2.1 ไดร้ ับการถ่ายทอดความรู้ตรงตามเน้ือหาหลกั สูตร
2.2 ไดร้ ับการปลูกฝังเพื่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงคห์ รือจุดหมายของหลกั สูตรอย่าง

ครบถว้ นสมบูรณ์

5

2.3 ไดร้ ับวธิ ีการถ่ายทอดมวลความรู้จากครูดว้ ยวธิ ีที่เหมาะสมกบั วยั และวุฒิภาวะ ตลอดจนสภาพแวดลอ้ ม
ทอ้ งถิ่นท่ีนกั ศึกษาอาศยั อยหู่ รือสมั ผสั อยเู่ ป็ นประจา

2.4 ไดท้ ากิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์อยา่ งแทจ้ ริง ก่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
2.5 ไดร้ ับการวดั และประเมินผลการเรียนแต่ละรายวชิ า หรือแตล่ ะเร่ืองอยา่ งถูกตอ้ งเป็นธรรมและเสมอภาค
กบั ทุกคน
2.6 ไดร้ ับการถา่ ยทอดหรือเกิดการเรียนรู้เรื่องราวของเน้ือหาสาระตา่ งๆอยา่ งเป็นระบบ
2.7 เกิดการพฒั นาของการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเป็นไปตามลาดบั ข้นั ของการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง
2.8 ไดร้ ับการเอาใจใส่ดูแลจากครูผสู้ อนถูกตอ้ งตามหลกั การเรียนการสอนที่ก่อใหเ้ กิดประสิทธิภาพ
2.9 รู้ล่วงหนา้ วา่ ตนจะไดเ้ รียนรู้เรื่องราวอะไรบา้ ง
3.ประโยชน์สาหรับผู้บริหาร
3.1 เป็นเคร่ืองมือในการนิเทศภายใน
3.2 เป็นเคร่ืองมือในการประเมินคุณภาพการสอนของครูแต่ละคน
3.3 เป็นเครื่องมือสาหรับการบริหารวสั ดุอุปกรณ์
3.4 เป็นเคร่ืองมือในการบริหารส่ือการสอน
3.5 เป็นเคร่ืองมือในการบริหารงานหอ้ งสมดุ
3.6 เป็นเครื่องมือในการบริหารอาคารสถานที่
3.7 เป็นเคร่ืองมือในการบริหารงบประมาณ
3.8 เป็นเครื่องมือในการประกนั คุณนกั ศึกษา
3.9 เป็นเครื่องมือในการบริหารโรงฝึกงาน
3.10 เป็นเคร่ืองมือในการบริหารเคร่ืองจกั รและอปุ กรณ์ประกอบ
3.11 เป็นเครื่องมือในการบริหารงานวิชาการ
3.12 เป็นเคร่ืองมือในการบริหารส่งเสริมการศึกษา
3.13 เป็นเครื่องมือในการบริหารกิจการนกั ศึกษา

6

ข้นั ตอนการวเิ คราะห์แผนการสอน

1. ศึกษาหลกั สูตร
การทาแผนการสอนน้นั ข้นั แรก ขา้ พเจา้ ไดศ้ ึกษาหลกั สูตรอยา่ งละเอียด ต้งั แตห่ ลกั การจุดมุง่ หมายของ

หลกั สูตร จุดประสงคร์ ายวิชา และคาอธิบายรายวิชา ท้งั น้ีเพ่อื จะไดว้ างแผนการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตร
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.)พทุ ธศกั ราช 2563 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาอิเลก็ ทรอนิกส์
กระทรวงศึกษาธิการ มีหลกั การท่ีกาหนด ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. เพ่ือใหม้ ีความรู้ และทกั ษะพ้ืนฐานเกี่ยวกบั ภาษา สงั คม มนุษยศ์ าสตร์ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
นาไปใชใ้ นการคน้ ควา้ พฒั นาตนเองและวชิ าชีพอิเลก็ ทรอนิกส์ใหเ้ กิดความเจริญกา้ วหนา้

2. เพื่อใหม้ ีความรู้ และทกั ษะในหลกั การและกระบวนการทางานพ้นื ฐานของช่างเทคนิคที่เกี่ยวกบั การ
บริหารจดั การ และวางแผนในงานอุตสาหกรรม และสามารถติดตามความเจริญกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยนี ามาพฒั นา
งานอาชีพอิเลก็ ทรอนิกส์ใหม้ ีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3. เพอื่ ใหม้ ีความคิดวเิ คราะห์ แกป้ ัญหา สร้างสรรค์ และนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการพฒั นางานอิเลก็ ทรอนิกส์
4. เพื่อใหม้ ีบคุ ลิกภาพท่ีดี มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และสงั คม มีคุณธรรม จริยธรรมและกิจ
นิสัยท่ีดีตอ่ งานอาชีพ
5. เพ่อื ใหส้ ามารถประกอบอาชีพในสถานประกอบการอุตสาหกรรม หรือสร้างสรรคห์ รือประกอบอาชีพ
อิสระในสาขาวชิ าอิเลก็ ทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์

7

มาตรฐานวชิ าชีพ

1. ส่ือสารทางเทคนิคในงานอาชีพ
2. จดั ระบบฐานขอ้ มลู ในงานอาชีพ
3. แกป้ ัญหาโดยใชค้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการแกป้ ัญหา
4. จดั การ ควบคมุ และพฒั นาคณุ ภาพงาน
5. แสดงบุคลิกภาพและคุณลกั ษณะของช่างเทคนิค
6. ติดต้งั ทดสอบ วเิ คราะห์อุปกรณ์และวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์และเคร่ืองมือวดั
7. ประกอบ ติดต้งั ทดสอบ และบารุงรักษาระบบคอมพวิ เตอร์และเครือขา่ ย
8. ติดต้งั ควบคุม ระบบคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์
9. บารุง รักษา ระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์

(หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.) พุทธศกั ราช 2563 ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวิชาช่าง
ไฟฟ้ากาลงั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา)

8

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั วิชา 30104 – 2209 รายวิชาดิจิทลั ประยุกต์ 3 หน่วยกิต 5 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1. เขา้ ใจหลกั การ ออกแบบ และคุณสมบตั ิของวงจรดิจิทลั แบบตา่ งๆ
2. ประยกุ ตใ์ ชง้ านวงจรดิจิทลั แบบต่างๆดว้ ยวงจรจริงหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3. มีกิจนิสยั ในการทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นดว้ ยความประณีต รอบคอบ และปลอดภยั
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เก่ียวกบั แสดงความรู้เกี่ยวกบั โครงสร้าง สัญลกั ษณ์และหลกั การทางานของอุปกรณ์วงจร

ดิจิทลั
2. ออกแบบต่อวงจรลอจิก
3. ออกแบบ ประยกุ ตใ์ ช้ CPLD และ FPGA
คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบตั ิเก่ียวกบั ระบบเลขฐานตา่ งๆลอจิกเกต โครงสร้างของวงจรรวมประเภท TTL
และCMOS คณิตศาสตร์ของ Boolean และสมการ Logic , De Morgan’s Theorem การวิเคราะหว์ งจรคอมบิเนชนั่ การ
ลดตวั แปรในฟังกช์ นั วงจรคอมบิเนชนั วงจรมลั ติเพลก็ ซ์ ดีโคด้ เดอร์ เอน็ โคด้ เดอร์ คอมพาราเตอร์ วงจรโมโนสเตเบิ้ล
และสญั ญาณนาฬิกา ฟลิปฟลอป วงจรนบั และชิฟรีจิสเตอร์ แบบตา่ งๆ วงจรพ้นื ฐาน A/D และ D/A Converter และ
การนาไปใชง้ าน โครงสร้างและการนาไปใชง้ านหน่วยความจา การออกแบบวงจรดว้ ยภาษา VHDL การประยกุ ตใ์ ช้
CPLD และ FPGA

1. การแบ่งเนื้อหารายวชิ า

วิชาดิจิทลั ประยกุ ต์ รหสั วิชา 30104 – 2209 เรียบเรียงข้นึ ตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รช้นั สูง(ปวส.)
พทุ ธศกั ราช 2563 ของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดไวค้ ือ เรียน 5 ชวั่ โมง/
สปั ดาห์ ไดแ้ บง่ เน้ือหารายวิชาออกเป็น 10 หน่วยดงั น้ี

หน่วยท่ี 1 ระบบเลขและเลขฐานสอง
หน่วยท่ี 2 ลอจิกเกตและทฤษฎีพีชคณิตแบบบูล
หน่วยท่ี 3 พ้ืนฐานการออกแบบวงจรคอมบิเนชนั
หน่วยท่ี 4 การออกแบบวงจรคอมบิเนชนั
หน่วยท่ี 5 วงจรคานวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยท่ี 6 ฟลิปฟลอ็ ป
หน่วยที่ 7 การประยกุ ตใ์ ชง้ านฟลิปฟลอ็ ป
หน่วยที่ 8 หน่วยความจา
หน่วยที่ 9 การเปล่ียนสญั ญาณดิจิทลั กบั แอนะลอ็ ก
หน่วยท่ี 10 การประยกุ ตใ์ ชว้ งจรดิจิทลั

9

2. ดาเนนิ การสร้างตารางวเิ คราะห์หลกั สูตร

การสร้างตารางวเิ คราะห์หลกั สูตร บางคร้ังเรียกวา่ ตารางสองทาง คอื ทางเน้ือหากบั ทางพฤติกรรม ลกั ษณะ
ของตารางจะแสดงใหเ้ ห็นถึงความสัมพนั ธร์ ะหว่างเน้ือหากบั พฤติกรรมการสอน รวมท้งั แสดงใหเ้ ห็นถึงความสมั พนั ธ์
กบั จานวนเวลาท่ีใชใ้ นการสอนแต่ละเร่ืองและที่สาคญั ภาพรวมของตารางวิเคราะหห์ ลกั สูตรยงั บ่งบอกใหเ้ ห็นวา่
ครูผสู้ อนจะตอ้ งเอาใจใส่และย้าหวั ขอ้ ใดเป็นพเิ ศษ และยงั ช่วยใหค้ รูผสู้ อนรู้วา่ เร่ืองไหนเป็นหัวใจสาคญั ของรายวชิ า
เร่ืองไหนเป็นเร่ืองรอง และเร่ืองไหนเป็นเรื่องประกอบอีกดว้ ย ทาใหส้ อนไดต้ ามจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตรไดอ้ ยา่ ง
รวดเร็ว ตารางวิเคราะหห์ ลกั สูตรท่ีสาคญั ประกอบไปดว้ ยรายละเอียด 2 ประการ คือ ส่วนหวั ของตารางวิเคราะห์
หลกั สูตรและส่วนของตาราง (อานวย เถาตระกูล : 51 อา้ งในสัมฤทธ์ิ ภเู ลี่ยมคา : 6)

รายวิชา ดจิ ิทัลประยุกต์ รหสั วชิ า 30104 – 2209 จึงไดจ้ ดั ลาดบั ความสาคญั ของเน้ือหาแตล่ ะหน่วยการสอนที่
แบ่งไวใ้ หส้ ัมพนั ธ์กบั พฤติกรรมดา้ นต่างๆจานวนชว่ั โมง จานวนรวม ขอ้ สอบวดั พฤติกรรมแต่ละดา้ น และลาดบั
ความสาคญั ของขอ้ สอบเนน้ พฤติกรรมมากท่ีสุด ดงั น้ี

10

ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตร รหสั วชิ า 30104 - 2209 รายวิชา ดิจทิ ัลประยกุ ต์

พฤติกรรม ความ ู้รความจา
เนื้อหา ความเ ้ขาใจ
การประ ุยก ์ตใ ้ช
การ ิวเคราะ ์ห
การ ัสงเคราะ ์ห
การประเ ิมน ่คา
ความ ู้ร รวม
ลาดับความสาคัญ

หน่วยท่ี 1 ระบบเลขและเลขฐานสอง 3 2 2 - - - 7 3

หน่วยที่ 2 ลอจิกเกตและทฤษฎีพชี คณิต 2 3 2 - - - 7 2

แบบบูล

หน่วยที่ 3 พ้ืนฐานการออกแบบวงจร 3 4 2 - - - 9 2

คอมบิเนชนั

หน่วยที่ 4 การออกแบบวงจรคอมบิ 342- - -92

เนชนั

หน่วยที่ 5 วงจรคานวณทางคณิตศาสตร์ 3 4 2 - - - 9 2

หน่วยที่ 6 ฟลิปฟลอ็ ป 5 3 2 - - - 10 2

หน่วยท่ี 7 การประยกุ ตใ์ ชง้ าน 2 3 5 - - - 10 2

ฟลิปฟลอ็ ป

หน่วยท่ี 8 หน่วยความจา 432- - -92

หน่วยที่ 9 การเปลี่ยนสัญญาณดิจิทลั กบั 3 5 2 - - - 10 2

แอนะลอ็ ก

หน่วยท่ี 10 การประยกุ ตใ์ ชว้ งจรดิจิทลั 2 3 5 - - - 10 1

รวม 30 34 26 - - - 90
ลาดับความสาคัญ 213

11

3. วิธีการสอน

การเลือกวธิ ีการสอนน้นั จะตอ้ งใหส้ อดคลอ้ งกบั จุดประสงคก์ ารเรียนการสอนวชิ า ใชว้ ิธีการ
สอนที่ยดึ นกั ศึกษาเป็นสาคญั เนน้ ใหน้ กั ศึกษามีส่วนร่วม โดยเฉพาะในการจดั กิจกรรมการสอน ซ่ึง
ประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอน ดงั น้ี

3.1 ข้ันเตรียมหรือนาเข้าสู่บทเรียน
การนาเขา้ สู่บทเรียนเป็นวธิ ีการเรียกความสนใจของนกั ศึกษา เช่น การแจง้ ผลคะแนนการทา
แบบทดสอบคร้ังท่ีแลว้ เพ่ือนกั ศึกษาจะไดท้ ราบผลคะแนน และจะไดป้ รับปรุงตนเอง ใหไ้ ดค้ ะแนน
การสอบคร้ังตอ่ ไปใหด้ ีข้นึ การต้งั คาถามเพ่ือคน้ หาคาตอบ การสอบถามความคดิ รวบยอด เรื่องท่ีจะ
เรียนในแตล่ ะคร้ัง โดยการตอบเป็นรายบคุ คล หรือการแบง่ กลุ่มระดมสมองช่วยกนั ตอบคาถามการ
ทดสอบก่อนเรียน

3.2 ข้นั สอน
ข้นั สอนเป็นกิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีจะทาใหเ้ กิดการเรียนรู้เน้ือหาแตล่ ะคร้ังท่ีสอนโดยจะ
ใชว้ ิธีการสอนแบบบรรยายประกอบสื่อการเรียนการสอนที่เตรียมไว้ การแบ่งกล่มุ ระดมสมองช่วยกนั
สรุป เน้ือหา การถามตอบ การฝึกทกั ษะแกป้ ัญหาโจทย์

3.3 ข้ันสรุปและวดั ผล
การสรุปและวดั ผล จะดาเนินในข้นั สุดทา้ ยเท่ือสอนเน้ือหาครอบคลุมแลว้ ใชเ้ วลาสรุป
ประมาณ 5 นาที ก่อนหมดเวลา 20 นาที เพอื่ ทบทวนเน้ือหาใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจกนั ชดั เจนยงิ่ ข้นึ
นกั ศึกษาและครูช่วยกนั สรุป ซ่ึงอาจสรุปดว้ ยวาจา ใชเ้ อกสารสรุป เมื่อมีการสรุปนกั ศึกษาจะมีการ
บนั ทึกสาระสาคญั ลงในสมดุ บนั ทึก เพอื่ ทบทวนในโอกาสต่อไป ส่วนการวดั ผลจะทาการทดสอบของ
แต่ละคร้ังที่สอนเพือ่ ใหน้ กั ศึกษาประเมินตนเองไดท้ ุกหวั ขอ้ เร่ืองท่ีเรียนนาไปสู่การพฒั นาตนเอง
นอกจากกิจกรรมการเรียนการสอนท้งั 3 ข้นั แลว้ ยงั มีกิจกรรมปลูกจิตสานึกใหก้ บั นกั ศึกษา
ดา้ นความสามคั คี เสียสละ ความรับผดิ ชอบ ความมีวินยั ความเห็นอกเห็นใจสมาชิกกล่มุ กิจกรรมท่ี
ไดร้ ับมอบหมาย ใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรม 5 ส. ( สะสาง สะดวก สะอาด สุขลกั ษณะ สร้างนิสยั ) และใช้
วธิ ีการสอนแบบบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ทุกคร้ังที่สอน ดงั น้ี

12

คณุ ธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ พฤตกิ รรมบ่งชี้

1. ความมีวนิ ยั 1. แต่งกายถกู ตอ้ งตามระเบียบ

2. ตรงตอ่ เวลา

3. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ

4. รักษาธารณสมบตั ิ ส่ิงแวดลอ้ ม

2. ความรับผดิ ชอบ 1. ปฏิบตั ิงานดว้ ยความต้งั ใจ

2. มีความเพียรพยายามในการปฏิบตั ิ

3. ปฏิบตั ิงานถูกตอ้ งตามตอ้ งการ

4. ปฏิบตั ิงานเสร็จทนั ตามกาหนดเวลา

3. ความซื่อสัตย์ 1. ไม่พดู เทจ็

2. ไมล่ อกเลียนผลงานผอู้ ื่น

3. ไม่ทจุ ริต

4. ไม่แอบอา้ งผลงานผอู้ ่ืนเป็นของตน

4. ความสามคั คี 1. ร่วมมือในการทางาน

2. ไม่ทะเลาะววิ าท

3. เป็นผนู้ าและผตู้ ามที่ดี

4. ร่วมรับผิดชอบผลงานกลมุ่

5. ความสนใจใฝ่รู้ 1. ศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตวั เอง

2. ซกั ถาม ปัญหา ขอ้ สงสัย

3. แสวงหาความรู้ใหม่ๆ

4. มีความกระตือรือร้น

6. ความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ 1. คิดสิ่งใหมๆ่ ที่เกิดประโยชน์

2. พฒั นางานอยเู่ สมอ

3. กลา้ คดิ กลา้ ทา กลา้ พดู

4. ทาในส่ิงท่ีมีประโยชน์

7. มนุษยส์ ัมพนั ธ์ 1. ยมิ้ แยม้ แจ่มใสแสดงความเป็นมิตร

2. ไม่เอาเปรียบผอู้ ่ืน

3. ยอมรับความสามารถของผอู้ ่ืน

4. ช่วยเหลือ เอ้ือเฟ้ื อต่อกนั

13

8. ประชาธิปไตย 1. ยอมรับความคิดเห็นของผอู้ ่ืน
9. มารยาทไทย 2. ไม่เพกิ เฉยต่อสิทธิและหนา้ ท่ีของตนเอง
10. ความเชื่อมน่ั ในตนเอง 3. เคารพในสิทธิเสรีภาพของผอู้ ื่น
11. การประหยดั 4. ยอมรับและปฏิบตั ิตามมติส่วนรวม
1. ท่าทางสุภาพ ออ่ นนอ้ ม
2. วาจาสุภาพ
3. ทาความเคารพเหมาะสม
4. รู้จกั กาลเทศะ
1. มีความพร้อมในทุกโอกาส
2. กลา้ แสดงความคิดเห็น
3. ไม่ลอกเลียนผลงานผอู้ ื่น
4. ทางานใหเ้ สร็จดว้ ยตนเอง
1. ใชท้ รัพยากรคมุ้ ค่า(วสั ดุ)
2. ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
3. ใชท้ รัพยากรบุคคลคุม้ คา่
4. ผลงานเสนอใหเ้ ห็นถึงการปฏิบตั ิ

14

4. การผลติ ส่ือการเรียนการสอน

การใชส้ ่ือเพ่อื ประกอบการเรียนการสอนที่ดี จะทาใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจไดง้ า่ ยและ
รวดเร็วข้ึน ดงั น้นั จึงไดท้ าการผลิตสื่อและจดั หาส่ือการเรียนการสอนท่ีจะทาใหน้ กั ศึกษาเกิด
ความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติท่ีสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคก์ ารเรียนการสอน มีท้งั ส่ือ
สิ่งพมิ พ์ ส่ือโสตทศั น์ ดงั น้ี

4.1 สื่อส่ิงพมิ พ์ ไดแ้ ก่
4.1.1 แผนการสอน
4.1.2 ใบความรู้ท่ี 1 ถึง ใบความรู้ท่ี 10
4.1.3 ใบงานท่ี 2 ถึง ใบงานที่ 10
4.1.4 แบบทดสอบที่ 1 ถึงแบบทดสอบท่ี 10 พร้อมเฉลย
4.1.5 กระดาษคาตอบ/กระดาษเปลา่
4.1.6 บรรณานุกรม
4.1.7 แบบประเมินผลการเรียน
4.1.8 ใบตารางกิจกรรม 5 ส.
4.1.9 แบบบนั ทึกหลงั การสอน

4.2 สื่อโสตทัศน์ ไดแ้ ก่
4.2.1 เครื่องขยายเสียงพร้อมไมโครโฟนช่วยสอน
4.2.2 กระดานพร้อมปากกาไวทบ์ อร์ดสีดา แดง และน้าเงิน
4.2.3 ดิจิทลั ไอซีเบอร์ตา่ ง ๆ
4.2.4 แผงทดลองดิจิทลั
4.2.5 มลั ติมิเตอร์
4.2.6 ออสซิลโลสโคป
4.2.7 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ “อิเลก็ ทรอนิกส์เวอร์คเบนค์”
4.2.8 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ “เพาเวอร์พอยท”์
4.2.9 เครื่องโปรเจกเตอร์ พร้อมคอมพิวเตอร์

15

5. สร้างเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล

การวดั และประเมินผลเป็นข้นั ตอนหน่ึงของการเรียนการสอน ท่ีจะทาใหท้ ราบ
ผลสัมฤทธ์ิการเรียนของนกั ศึกษาวา่ มีการพฒั นาทางการเรียน หรือมีความรู้ความเขา้ ใจ ใน
เน้ือหาที่เรียนมามากนอ้ ยเพียงใด ดงั น้นั การสร้างเคร่ืองมือวดั และประเมินผล จึงมีความสาคญั
อยา่ งยงิ่ ที่ทาใหเ้ กิดความเที่ยงตรงถูกตอ้ งและสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ การเรียนการสอน
เครื่องมือวดั และประเมินผลท่ีสร้างข้นึ มีดงั น้ี

5.1 การสงั เกต จะสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอนในช้นั เรียนของนกั ศึกษา เช่น
ความสนใจและเอาใจใส่ต่อการเรียนการสอนในช้นั เรียน และความร่วมมือในการร่วมกิจกรรม
กลุ่ม

5.2 การสอบถาม จะสอบถามเพอื่ วดั และประเมินผล เช่น การซกั ถาม เพอ่ื ความเขา้ ใจ
ในเน้ือหาที่เรียน การสมั ภาษณ์เพื่อรับทราบขอ้ มลู ตา่ งๆ การอภิปรายเป็นการแสดงความ
คิดเห็นและการระดมสมองในกลุ่มยอ่ ยตา่ งๆ

5.3 การทดสอบและทบทวนความรู้ เช่น การทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนในแตล่ ะ
คร้ังท่ีเรียน การทดสอบกลางภาค การทดสอบปลายภาค การทาแบบฝึกหดั ทบทวนเพ่ือใหเ้ กิด
ทกั ษะในการแกป้ ัญหาโจทย์ และการทารายงาน เพื่อทบทวนความรู้เดิม

5.4 อื่นๆ เช่น การถาม - ตอบดว้ ยปากเปลา่ เป็นรายบุคคล

16

6. กาหนดโครงสร้างแผนการสอน

วชิ า ดิจทิ ัลประยุกต์ รหสั วชิ า 30104 – 2209 3 หน่วยกิต 5 ชวั่ โมง/สัปดาห์ รวม 90 ชวั่ โมง เป็นรายวิชา
อุตสาหกรรม สาขาวิชา ไฟฟ้ากาลงั ไดแ้ บ่งเน้ือหาวชิ า หน่วยการเรียนการสอน และกาหนดชว่ั โมงการเรียนการ
สอนดงั น้ี

หน่วยท่ี สอนคร้ังที่ หวั ข้อเรื่อง ชั่วโมงรวม
1 1 ระบบตวั เลขและเลขฐานสอง 5
2 2-3 10
- ระบบตวั เลข
- การแปลงเลขฐาน
- การคานวณเชิงเลขคณิตของเลขฐานสอง
- รหสั
ลอจิกเกตและพชี คณิตแบบบูล
- ลอจิกเกต
- ทฤษฎีพชี คณิตแบบบูล

พ้นื ฐานการออกแบบวงจรคอมบิเนชนั

- ความแตกต่างระหวา่ งวงจรคอมบิเนชนั และ

34 วงจรซีเควนเชียล 5

- การลดรูปสมการโดยใชแ้ ผนผงั คาร์โนห์

การออกแบบวงจรคอมบิเนชนั

- วงจรถอดรหสั บฟั เฟอร์ และวงจระเขา้ รหัส

4 5-6 - วงจรมลั ติเพลก็ ซ์ และวงจรดีมลั ติเพลก็ ซ์ 10

- วงจรเปรียบเทียบ

วงจรคานวณทางคณิตศาสตร์ 10
5 7-8 - วงจรบวกเลข

- วงจรลบเลข
- หน่วยคานวณและตรรกะแบบเอม็ เอสไอ

17

ฟลิปฟลอ็ ป 10
- กล่าวนา 10
- สญั ญาณนาฬิกา 10
- อาร์เอสฟลิปฟลอ็ ป 10
10
6 9-10 - ดีฟลิปฟลอ็ ป
- เจเคฟลิปฟลอ็ ป
- ทีฟลิปฟลอ็ ป

การประยกุ ตใ์ ชง้ านฟลิปฟลอ็ ป
- ชิฟตร์ ีจิสเตอร์

7 11-12 - วงจรนบั
- การต้งั เวลาและโมโนสเตเบิล

หน่วยความจา
- กลา่ วนา

8 13-14 - หน่วยความจาแบบรอม
- หน่วยความจาแบบแรม

วงจรเปล่ียนสญั ญาณดิจิทลั กบั แอนะลอ็ ก
- กล่าวนา

9 15-16 - วงจรเปลี่ยนสัญญาณดิจิทลั เป็นแอนะลอ็ ก
- วงจรเปล่ียนสัญญาณแอนะล็อกเป็นดิจิทลั

การประยกุ ตใ์ ชว้ งจรดิจิทลั

- กลา่ วนา

10 17-18 - ดิจิทลั ไอซีแบบตา่ ง ๆ

- อปุ กรณ์ลอจิกตระกลู ต่าง ๆ

- การสร้างและทดสอบวงจรดิจิทลั

18

7. การเขยี นแผนการสอน

การเขียนแผนการสอนจะเรียงลาดบั ดงั น้ี
7.1 หวั ขอ้ เร่ือง เป็นหวั ขอ้ หลกั ของการสอนในแตล่ ะคร้ังที่สอน
7.2 จุดประสงคก์ ารเรียนการสอน ประกอบดว้ ยจุดประสงคท์ ว่ั ไปและจุดประสงค์
เชิงพฤติกรรม
7.3 สาระสาคญั เป็นการสรุปสาระสาคญั ของเน้ือหาในแต่ละหน่วย
7.4 เน้ือหาสาระ เป็นรายละเอียดของเน้ือหาที่ใชใ้ นการเรียนการสอน
7.5 กิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอน คือ ข้นั เตรียมหรือข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน
ข้นั สอน ข้นั สรุป และวดั ผล
7.6 กิจกรรม 5 ส (สะสาง สะดวก สะ อาด สุขลกั ษณะ สร้างนิสัย)
7.7 งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมที่มอบหมายเป็นงานหรือกิจกรรมที่มอบหมายให้นกั ศึกษา
ทาเป็นกลุ่มยอ่ ย เมื่อสอนจบเน้ือหาในแตล่ ะคร้ัง ใชเ้ วลา 5 นาที
7.8 ส่ือการเรียนการสอน หมายถึง วสั ดุอปุ กรณ์ต่างๆที่ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนที่ผลิต
ข้นึ มาหรือจดั หามา ซ่ึงจะมีท้งั สื่อสิ่งพมิ พแ์ ละ สื่อโสตทศั น์
7.9 การวดั และประเมินผล เป็นเครื่องมือในการวดั ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะของ
นกั ศึกษาใหบ้ รรลจุ ุดประสงคก์ ารเรียนการสอนที่กาหนดไว้ เช่น แบบทดสอบ แบบฝึ กหดั แบบเฉลย
แบบทดสอบและแบบเฉลยแบบฝึ กหดั
7.10 เกณฑก์ ารประเมิน เป็นเกณฑท์ ี่กาหนดไว้ เพื่อตอ้ งการทราบวา่ นกั ศึกษามีผลการประเมิน
ในระดบั ใด จะช่วยครูวางแผนการสอนช่วยใหน้ กั ศึกษาท่ีมีเกณฑต์ ่ากวา่ ท่ีกาหนดไว้ ในแต่ละคร้ังได้
พฒั นาตวั เอง
7.11 บนั ทึกหลงั การสอน เป็นการรวบรวมขอ้ มูลท่ีเกิดข้ึนจากการนาแผนการสอนไปใชท้ าการ
สอนแลว้ บงั เกิดผลเป็นอยา่ งไร นามาบนั ทึกไวท้ า้ ยการสอนแตล่ ะคร้ัง แบ่งออกเป็น3 ดา้ น คอื ผลการ
ใชแ้ ผนการสอน ผลที่เกิดข้นึ ของนกั ศึกษา ผลที่เกิดข้ึนกบั ครู เพื่อเป็นขอ้ มูลในการพฒั นาปรับปรุง
แผนการสอนใหม้ ีความสมบูรณ์มากยงิ่ ข้ึนไป

19

แผนการสอน หน่วยท่ี 1
สอนคร้ังท่ี 1
วชิ า ดิจิทลั ประยกุ ต์ ชวั่ โมง 5
ชื่อหน่วย ระบบเลขและเลขฐานสอง
ชว่ั โมงรวม 5
เรื่อง ระบบเลขและเลขฐานสอง

หัวข้อเร่ือง
1. ชี้แจงแผนการสอนรายวชิ าดิจทิ ัลประยุกต์
- มาตรฐานรายวชิ า และคาอธิบายรายวิชา
- หน่วยการสอนรายวิชา
- การวดั และประเมินผลการเรียน
- เอกสารประกอบการเรียนการสอนและบรรณานุกรม
2. ทดสอบก่อนเรียน เก่ียวกบั เรื่องต่อไปน้ี
- ระบบตวั เลข
- เลขฐานตา่ ง ๆ ในระบบดิจิทลั
- การแปลงเลขฐาน
- คานวณเชิงเลขคณิตของเลขฐานตา่ ง ๆ
3. ทดสอบหลงั เรียน

20

แผนการสอน หน่วยท่ี 1
สอนคร้ังท่ี 1
วิชา ดิจิทลั ประยกุ ต์ ชวั่ โมง 5
ช่ือหน่วย ระบบเลขและเลขฐานสอง
ชว่ั โมงรวม 5
เร่ือง ระบบเลขและเลขฐานสอง

สาระสาคัญ
ระบบตวั เลขท่ีนิยมใชก้ นั มากคือ เลขฐานสิบ นอกจากน้ียงั มีเลขฐานอ่ืน ๆ เช่นเลขฐานสอง

เลขฐานแปดและเลขฐานสิบหก ซ่ึงในการศึกษารายวิชาท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ดิจิทลั น้นั มีความจาเป็นท่ีตอ้ ง
เขา้ ใจถึงระบบตวั เลขฐานต่าง ๆ การแปลงเลขฐานตา่ ง ๆการคานวณเชิงเลขคณิตของเลขฐานสอง
รวมท้งั รหสั ที่นิยมใช้

สมรรถนะอาชีพ
ด้านความรู้ เพ่ือให้นกั ศึกษาไดเ้ ขา้ ใจ

1. มาตรฐานรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา
2. แนวทางการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้
3. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้และกิจกรรมเสริมการเรียนรู้
4. เน้ือหา ความรู้เดิมที่จะนามาใชใ้ นการวเิ คราะห์ แกป้ ัญหา
ด้านทกั ษะ เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถ
1. บอกมาตรฐานรายวิชาไดถ้ กู ตอ้ ง
2. วางแผนการเรียนให้ผา่ นมาตรฐานรายวิชาได้
3. แปลงเลขฐานต่าง ๆ ได้
4. บอกระบบตวั เลขในระบบดิจิทลั ได้
5. มีกิจนิสยั ในการหาความรู้เพิ่มเติม
6. มีความซ่ือสัตย์ รับผิดชอบและตรงต่อเวลา

คณุ ธรรม จริยธรรมท่สี อดแทรก
1. มีวินยั เช่นการแตง่ กายใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบของสถานศึกษา
2. ความรับผิดชอบ เช่นส่งงานท่ีไดร้ ับมอบหมายตามกาหนดเวลา
3. ความซ่ือสัตย์ เช่นการไมล่ อกเลียนงานของเพ่ือนที่ไดร้ ับมอบหมาย

21

บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. เตรียมความพร้อมดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ สอดคลอ้ งกบั งานและใชว้ สั ดุอุปกรณ์อยา่ งคุม้ ค่า

ประหยดั ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ปฏิบตั ิงานไดถ้ ูกตอ้ งและสาเร็จภายในเวลาท่ีกาหนดอยา่ งมีเหตุผล ตามหลกั ปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

บูรณาการนโยบายสถานศึกษา
1. สอนและฝึกหดั ใหน้ กั เรียน นกั ศึกษา รู้จกั การทางานเป็นกล่มุ การรับฟังความคิดเห็น

เหตผุ ลของผอู้ ่ืนและปฏิบตั ิหนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย
2. สง่ เสรมิ กจิ กรรมท่ีสรา้ งความสามคั คี เอือ้ เฟื้อเผ่ือแผ่ ช่วยเหลือเกือ้ กลู และรกั ใคร่

ปรองดองในสถานศกึ ษา
3. กระตนุ้ และเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนนกั ศกึ ษากลา้ ท่จี ะแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ

เช่น กิจกรรมในชนั้ เรียน กิจกรรมต่างๆ ของสถานศกึ ษาและกิจกรรมของชมุ ชน
4. ปลกู จิตสานึกใหน้ กั เรียน นกั ศกึ ษา มีคณุ ธรรม จริยธรรม รูร้ บั ผิดชอบช่วั ดี มคี วาม

ภมู ิใจในความเป็นไทย
5. ใหค้ วามรู้เก่ียวกบั โทษภยั ของยาเสพติด และการหลีกเลี่ยงห่างไกลยาเสพติดเพ่ือใหม้ ี

ภูมิคุม้ กนั อยา่ งยงั่ ยนื

22

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของนกั ศึกษา

ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน

1. ครูกล่าวตอ้ นรับและแนะนาตวั กบั 1.รับฟังขอ้ เสนอแนะ ขอ้ คดิ เห็น

นกั ศึกษาในโอกาสพบกนั คร้ังแรก 2.ขานรับและไม่ส่งเสียงดงั
2. ครูเช็คชื่อนกั ศึกษาโดยใชแ้ บบ

ประเมินผลการเรียน ถา้ มีนกั ศึกษามาสายจะ

สอบถามถึงสาเหตแุ ละตกั เตือน

3. ครูอธิบายแผนการสอนรายวิชา ดงั น้ี 3. อ่านและบนั ทึกยอ่ ซกั ถามขอ้ สงสยั

คาอธิบายรายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า เน้ือหา

รายวชิ า การวดั และประเมินผล ส่ือการเรียน

การสอน

4. ครูบอกมาตรฐานรายวชิ า การเรียนการ 4. รับฟังดว้ ยความต้งั ใจ ถา้ มีขอ้ สงสัยใหถ้ ามครู

สอนและสนทนากบั นกั ศึกษาเก่ียวกบั ความรู้เดิม

ในเร่ืองระบบตวั เลขฐานต่าง ๆ เพอ่ื ท่ีครูจะได้

วางแผนการเรียนการสอนไดถ้ ูกตอ้ ง และ

นกั ศึกษาจะไดผ้ า่ นมาตรฐานรายวิชา ดงั น้นั ครู

ตอ้ งทดสอบก่อนเรียน ใหน้ กั ศึกษาทาเตม็

ความสามารถและมีความซ่ือสัตย์

5. ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรียนคร้ังท่ี 1 5.อ่านคาช้ีแจงใหเ้ ขา้ ใจ

พรอ้ มกระดาษคาตอบ

6. ใหน้ กั ศกึ ษาทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 6.รับแบบทดสอบที่ 1และทาแบบทดสอบดว้ ย

โดยใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที ความต้งั ใจและไมท่ จุ ริต

7. ครูบอกกบั นกั ศกึ ษาวา่ ถา้ นกั ศกึ ษาคน 7. ส่งแบบทดสอบพร้อมกระดาษคาตอบ

ไหนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นเสรจ็ แลว้ กใ็ หน้ า

แบบทดสอบและกระดาษคาตอบมาสง่ ท่ีครู 8. ศึกษาหวั ขอ้ รายละเอียดเน้ือหาดว้ ยความ
8. ครูแจกใบความรูท้ ่ี 1 ต้งั ใจ

23

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของนักศึกษา

ขั้นสอน 1. ตงั้ ใจฟัง ดเู นอื้ หารายละเอียดในใบ
1. ครูอธิบายตามใบความรูท้ ่ี 1 โดยใชส้ ื่อ ความรูท้ ่ี 1และจดบนั ทกึ สาระสาคญั ท่ี
แผ่นใส ท่ใี ชก้ บั เคร่ืองฉายภาพขา้ มศรี ษะ ครูอธิบายและซกั ถามเม่ือไม่เขา้ ใจใน
แลว้ บรรยายหรืออธิบาย โดยพยายาม หวั ขอ้ ใด
ถามกระตนุ้ นกั ศกึ ษาใหม้ ีความตน่ื ตวั
และมสี ว่ นรว่ มในการเรียนการสอนมาก


ข้ันสรุปและวดั ประเมินผล 1. ช่วยกนั สรุปเนอื้ หาสาระสาคญั ตามท่ี
1. ครูและนกั ศกึ ษาช่วยกนั สรุปสาระสาคญั ครูไดต้ งั้ คาถาม

จากการเรียนตามใบความรูท้ ่ี 1 เช่น 2. พกั 5 นาที ถา้ มีขอ้ สงสยั ใหม้ าถามครู
ระบบเลขฐานต่าง ๆ , การบวกและลบ ก่อนจะทาการสอบหลงั เรียน เพ่อื จะทา
เลขฐานสอง เป็นตน้ โดยการใชส้ ่ือ ใหไ้ ดค้ ะแนนมาก และเป็นความรูข้ อง
เพาเวอรพ์ อยท์ ตวั นกั ศกึ ษาเอง
2. ใหน้ กั ศึกษาพกั ช่วั คราวประมาณ 5 นาที
เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาธุระสว่ นตวั ในระหว่างท่ี 3. รบั ฟังและเตรยี มทดสอบหลงั เรียนดว้ ย
นกั ศกึ ษาพกั ครูตรวจดกู ระดาษคาตอบ ความตงั้ ใจ
ก่อนเรยี นวา่ มกี ารแกไ้ ขหรือไม่ ถา้ พบวา่ มี
การแกไ้ ขใหค้ รูเซ็นตช์ ่ือกากบั เพ่ือแจก 4. รบั แบบทดสอบท่ี 1 พรอ้ มอ่านคาชีแ้ จง
กระดาษหลงั เรียน ซ่งึ เป็น ใหเ้ ขา้ ใจแลว้ ลงมอื ทาแบบทดสอบดว้ ย
กระดาษคาตอบชุดเดยี วกบั นกั ศกึ ษาคน ความซอ่ื สตั ย์
นนั้ จะไมม่ ีการแกไ้ ขอกี
3. เม่อื พกั ครบกาหนดท่ีครูกาหนดแลว้ ครู
บอกกบั นกั ศึกษาว่าต่อไปนีจ้ ะเป็นการ
ทดสอบผลการเรยี นเพ่ือเก็บคะแนนครงั้ ท่ี
1
4. แจกแบบทดสอบท่ี 1 พรอ้ ม
กระดาษคาตอบใหค้ รบทกุ คนจึงอนญุ าต
ใหล้ งมือทาแบบทดสอบได้

24

5. หมดเวลาใหน้ กั ศกึ ษาสง่ ขอ้ สอบคืนท่ีครู 5. ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง แลว้ สง่
แบบทดสอบคนื ครู
6. ครูบอกกบั นกั ศกึ ษาว่าจะแจง้ ผลการทา
แบบทดสอบท่ี 1 ในการเรียนครงั้ ท่ี 2 6. รบั ฟังดว้ ยความตงั้ ใจ

7. แจกใบความรูท้ ่ี 2 และเตรียมเรียนครงั้ 7. รบั ใบความรูท้ ่ี 2 และถือปฏิบตั ิตามท่ี
ต่อไป ครูแนะนา ถา้ ไมเ่ ขา้ ใจใหถ้ ามครูหรือผูร้ ู้

25

กจิ กรรมปลูกจิตสานกึ

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนักศึกษา

กจิ กรรม 5 ส. (สะสาง , สะดวก , สะอาด , 1. รบั ฟังขอ้ ชีแ้ จง ซกั ถามขอ้ สงสยั
สุขลักษณะ , สร้างนิสัย)
1. ครูแจง้ เรือ่ งการรกั ษาความสะอาดในหอ้ ง 2. รวมกลมุ่ ท่ีไดร้ บั มอบหมายหรอื ท่ี
นกั ศกึ ษาเลือกกนั เองแลว้ เขียนช่อื
เรียนวา่ มีความสาคญั ในการเรียนการ สมาชกิ
สอนเพ่ือท่จี ะทาใหเ้ กิดบรรยากาศในการ
เรียนการสอนท่ีดี ดงั นนั้ นกั ศึกษาทกุ คน 3. ตวั แทนลมุ่ รบั ใบกจิ กรรม 5 ส.
จะตอ้ งรว่ มมอื กนั ในการรกั ษาความ
สะอาด 4. แยกกลมุ่ ทากิจกรรม 5 ส.
2. แบ่งนกั ศึกษาออกเป็น 5 กลมุ่ ๆ ละเท่า ๆ
กนั โดยครูอาจแบ่งใหห้ รือนกั ศกึ ษาแบ่ง 5. สง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกไปประเมนิ กลมุ่ อ่นื
กนั เอง ตามท่ีครูกาหนด
3. แจกตารางกจิ กรรม 5 ส. มอบหมาย
กิจกรรมในแตล่ ะกลมุ่ 6. หวั หนา้ หอ้ งบอกนกั ศกึ ษาจดั แถว
4. ใหน้ กั ศกึ ษาทากิจกรรม 5 ส. โดย
แบ่งกลมุ่ ตามตารางกิจกรรมท่แี จกให้ 7. รบั ฟังและแนะนาไปปฏบิ ตั ิ
5. ใหน้ กั ศกึ ษาสง่ ตวั แทนกลมุ่ ๆ ละหนงึ่ คน
เพ่อื มาประเมินใหค้ ะแนนกล่มุ อ่นื เพียง 8. รบั การตรวจเครื่องแต่งกายและรบั ฟัง
กลมุ่ เดียว ขอ้ แนะนา ขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ
6. ใหน้ กั ศึกษาเขา้ แถวหนา้ หอ้ งเรยี น
7. ครูกลา่ วสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 9. หวั หนา้ หอ้ งบอกนกั ศกึ ษาทาความ
ดา้ นความมวี ินยั และดา้ นความรบั ผดิ ชอบ เคารพ โดยนกั ศึกษาทกุ คนกลา่ วคาว่า
8. ตรวจเคร่ืองแตง่ กาย โดยนกั ศกึ ษาท่แี ตง่ “ขอบคณุ ครบั ,คะ่ ” แลว้ แยกไปเรียน
กายผิดระเบียบจะตกั เตือนหรอื ลงโทษ วิชาต่อไป
ตามสมควร
9. บอกหมดเวลาเรียนสาหรบั วนั นี้ ให้
นกั ศกึ ษาไปเรียนวชิ าตอ่ ไป

26

งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรมท่ีมอบหมาย

1. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ครูใหน้ กั ศกึ ษา
ศกึ ษาแผนการสอนรายวิชาดิจิทลั เทคนิคท่คี รูแจกให้
ตงั้ ใจฟัง ซกั ถามขอ้ สงสยั ช่วยกนั ตอบคาถามและจดบนั ทกึ สรุปย่อสาระสาคญั
ทาแบบทดสอบท่ี 1

2. กิจกรรมในขณะเรียน ครูใหน้ กั ศึกษา
ตงั้ ใจดู ฟัง จดบนั ทกึ สรุปความคดิ รวบยอดจากการบรรยายของครู
ยกตวั อย่างและตอบคาถามเป็นรายบคุ คล
ซกั ถามขอ้ สงสยั
ระดมสมองช่วยกนั ตอบคาถาม

3. กิจกรรมหลงั เรียน ครูใหน้ กั ศกึ ษา
ทาแบบทดสอบท่ี 1
แบง่ กลมุ่ ทากจิ กรรม 5 ส.
ศกึ ษาใบความรูท้ ่ี 2

27

สอื่ การเรยี นการสอน

สอื่ สง่ิ พิมพ์
1. แผนการสอนรายวิชา
2. ใบความรูท้ ่ี 1 เรื่องระบบเลขและเลขฐานสอง
3. แบบทดสอบท่ี 1 และแบบเฉลยแบบทดสอบท่ี 1
4. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน(บรรณานุกรม)
5. ใบตารางกจิ กรรม 5 ส.
6. แบบประเมินผลการเรียน
7. แบบบนั ทกึ หลงั การสอน

สื่อโสตทัศน์
1. กระดานไวทบ์ อรด์ พรอ้ มปากกาไวทบ์ อรด์ แบบลบไดส้ ีดา นา้ เงิน แดง และเขยี ว
2. เครือ่ งฉายภาพขา้ มศีรษะพรอ้ มแผ่นใส
3. เครื่องโปรเจกเตอร์ และคอมพิวเตอร์
4. โปรแกรมนาเสนอผลงาน(เพาเวอรพ์ อยท)์

การวดั และประเมนิ ผล
1. วดั ความรู้ ความจาและความเขา้ ใจจากการตอบคาถาม
2. สงั เกตความสนใจและความสามคั คขี องนกั ศกึ ษาจากการทากจิ กรรมกลมุ่
3. วดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชแ้ บบทดสอบท่ี 1 ทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น
4. ตรวจแบบทดสอบท่ี 1
5. วดั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมดา้ นความมีวนิ ยั และความรบั ผดิ ชอบ
6. วดั การทากิจกรรม 5 ส.

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล นักศึกษาทจี่ ะผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จะตอ้ งได้
1. คะแนนทาแบบทดสอบหลงั เรียนมากกว่าก่อนเรียน
2. คะแนนทาแบบทดสอบ จะตอ้ งไม่ต่ากว่า 80%
3. คะแนนทากจิ กรรม 5 ส. จะตอ้ งไดไ้ ม่ต่ากว่า 80%

28

บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้

1 ขอ้ สรุปหลงั การจดั การเรียนรู้

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

2 ปัญหาท่ีพบ

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................

3 แนวทางแกป้ ัญหา

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......

29

แผนการสอน หน่วยท่ี 1
สอนคร้ังท่ี 1
วชิ า ดิจิทลั ประยกุ ต์ ชวั่ โมง 5
ชื่อหน่วย ระบบเลขและเลขฐานสอง
ชว่ั โมงรวม 5
เรื่อง ระบบเลขและเลขฐานสอง

หัวข้อเร่ือง
4. ชี้แจงแผนการสอนรายวชิ าดิจทิ ัลประยุกต์
- มาตรฐานรายวชิ า และคาอธิบายรายวิชา
- หน่วยการสอนรายวิชา
- การวดั และประเมินผลการเรียน
- เอกสารประกอบการเรียนการสอนและบรรณานุกรม
5. ทดสอบก่อนเรียน เก่ียวกบั เรื่องต่อไปน้ี
- ระบบตวั เลข
- เลขฐานตา่ ง ๆ ในระบบดิจิทลั
- การแปลงเลขฐาน
- คานวณเชิงเลขคณิตของเลขฐานตา่ ง ๆ
6. ทดสอบหลงั เรียน

30

แผนการสอน หน่วยท่ี 1
สอนคร้ังที่ 1
วชิ า ดิจิทลั ประยกุ ต์ ชวั่ โมง 5
ช่ือหน่วย ระบบเลขและเลขฐานสอง
ชว่ั โมงรวม 5
เร่ือง ระบบเลขและเลขฐานสอง

สาระสาคญั
ระบบตวั เลขท่ีนิยมใชก้ นั มากคือ เลขฐานสิบ นอกจากน้ียงั มีเลขฐานอื่น ๆ เช่นเลขฐานสอง

เลขฐานแปดและเลขฐานสิบหก ซ่ึงในการศึกษารายวชิ าที่เกี่ยวขอ้ งกบั ดิจิทลั น้นั มีความจาเป็นท่ีตอ้ ง
เขา้ ใจถึงระบบตวั เลขฐานต่าง ๆ การแปลงเลขฐานต่าง ๆการคานวณเชิงเลขคณิตของเลขฐานสอง
รวมท้งั รหสั ท่ีนิยมใช้

สมรรถนะอาชีพ
ด้านความรู้ เพอ่ื ให้นกั ศึกษาไดเ้ ขา้ ใจ

5. มาตรฐานรายวิชา และคาอธิบายรายวชิ า
6. แนวทางการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้
7. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้และกิจกรรมเสริมการเรียนรู้
8. เน้ือหา ความรู้เดิมที่จะนามาใชใ้ นการวเิ คราะห์ แกป้ ัญหา
ด้านทกั ษะ เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาสามารถ
7. บอกมาตรฐานรายวชิ าไดถ้ กู ตอ้ ง
8. วางแผนการเรียนให้ผา่ นมาตรฐานรายวชิ าได้
9. แปลงเลขฐานตา่ ง ๆ ได้
10. บอกระบบตวั เลขในระบบดิจิทลั ได้
11. มีกิจนิสยั ในการหาความรู้เพ่ิมเติม
12. มีความซ่ือสัตย์ รับผดิ ชอบและตรงต่อเวลา

คณุ ธรรม จริยธรรมทส่ี อดแทรก
4. มีวนิ ยั เช่นการแต่งกายใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบของสถานศึกษา
5. ความรับผิดชอบ เช่นส่งงานท่ีไดร้ ับมอบหมายตามกาหนดเวลา
6. ความซ่ือสตั ย์ เช่นการไม่ลอกเลียนงานของเพ่ือนท่ีไดร้ ับมอบหมาย

31

บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. เตรียมความพร้อมดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ สอดคลอ้ งกบั งานและใชว้ สั ดุอปุ กรณ์อยา่ งคุม้ ค่า

ประหยดั ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ปฏิบตั ิงานไดถ้ กู ตอ้ งและสาเร็จภายในเวลาท่ีกาหนดอยา่ งมีเหตุผล ตามหลกั ปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

บูรณาการนโยบายสถานศึกษา
1. สอนและฝึกหดั ใหน้ กั เรียน นกั ศึกษา รู้จกั การทางานเป็นกลุ่ม การรับฟังความคิดเห็น

เหตผุ ลของผอู้ ่ืนและปฏิบตั ิหนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย
2. สง่ เสรมิ กจิ กรรมท่ีสรา้ งความสามคั คี เอือ้ เฟื้อเผ่ือแผ่ ช่วยเหลือเกือ้ กลู และรกั ใคร่

ปรองดองในสถานศกึ ษา
3. กระตนุ้ และเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นนกั ศึกษากลา้ ท่จี ะแสดงความคิดเหน็ ในเรื่องตา่ งๆ

เช่น กิจกรรมในชนั้ เรียน กิจกรรมต่างๆ ของสถานศกึ ษาและกิจกรรมของชมุ ชน
4. ปลกู จิตสานึกใหน้ กั เรียน นกั ศกึ ษา มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม รูร้ บั ผิดชอบช่วั ดี มีความ

ภมู ิใจในความเป็นไทย
5. ใหค้ วามรู้เก่ียวกบั โทษภยั ของยาเสพติด และการหลีกเล่ียงห่างไกลยาเสพติดเพอื่ ใหม้ ี

ภูมิคุม้ กนั อยา่ งยงั่ ยนื

32

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของนกั ศึกษา

ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน

9. ครูกลา่ วตอ้ นรับและแนะนาตวั กบั 8.รับฟังขอ้ เสนอแนะ ขอ้ คิดเห็น

นกั ศึกษาในโอกาสพบกนั คร้ังแรก 9.ขานรับและไม่ส่งเสียงดงั
10. ครูเชค็ ช่ือนกั ศึกษาโดยใชแ้ บบ

ประเมินผลการเรียน ถา้ มีนกั ศึกษามาสายจะ

สอบถามถึงสาเหตแุ ละตกั เตือน

11. ครูอธิบายแผนการสอนรายวิชา ดงั น้ี 10. อา่ นและบนั ทึกยอ่ ซกั ถามขอ้ สงสัย

คาอธิบายรายวชิ า มาตรฐานรายวิชา เน้ือหา

รายวิชา การวดั และประเมินผล ส่ือการเรียน

การสอน

12. ครูบอกมาตรฐานรายวิชา การเรียนการ 11. รับฟังดว้ ยความต้งั ใจ ถา้ มีขอ้ สงสยั ให้

สอนและสนทนากบั นกั ศึกษาเก่ียวกบั ความรู้เดิม ถามครู

ในเร่ืองระบบตวั เลขฐานต่าง ๆ เพ่ือที่ครูจะได้

วางแผนการเรียนการสอนไดถ้ ูกตอ้ ง และ

นกั ศึกษาจะไดผ้ า่ นมาตรฐานรายวชิ า ดงั น้นั ครู

ตอ้ งทดสอบก่อนเรียน ให้นกั ศึกษาทาเตม็

ความสามารถและมีความซื่อสัตย์

13. ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรียนคร้ังท่ี 1

พรอ้ มกระดาษคาตอบ 12. อา่ นคาช้ีแจงใหเ้ ขา้ ใจ

14. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรยี น

โดยใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที 13. รับแบบทดสอบท่ี 1และทา

15. ครูบอกกบั นกั ศกึ ษาว่า ถา้ นกั ศกึ ษาคน แบบทดสอบดว้ ยความต้งั ใจและไมท่ ุจริต
ไหนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นเสรจ็ แลว้ กใ็ หน้ า 14. ส่งแบบทดสอบพร้อมกระดาษคาตอบ

แบบทดสอบและกระดาษคาตอบมาสง่ ท่ีครู

16. ครูแจกใบความรูท้ ่ี 1 8. ศึกษาหวั ขอ้ รายละเอียดเน้ือหาดว้ ยความ

ต้งั ใจ

33

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของนกั ศึกษา

ขัน้ สอน 2. ตงั้ ใจฟัง ดเู นอื้ หารายละเอยี ดในใบ
2. ครูอธิบายตามใบความรูท้ ่ี 1 โดยใชส้ ื่อ ความรูท้ ่ี 1และจดบนั ทกึ สาระสาคญั ท่ี
แผน่ ใส ท่ใี ชก้ บั เครื่องฉายภาพขา้ มศรี ษะ ครูอธิบายและซกั ถามเม่ือไม่เขา้ ใจใน
แลว้ บรรยายหรืออธิบาย โดยพยายาม หวั ขอ้ ใด
ถามกระตนุ้ นกั ศกึ ษาใหม้ คี วามตน่ื ตวั
และมสี ว่ นรว่ มในการเรียนการสอนมาก


ขนั้ สรุปและวดั ประเมินผล 8. ช่วยกนั สรุปเนอื้ หาสาระสาคญั ตามท่ี
8. ครูและนกั ศกึ ษาช่วยกนั สรุปสาระสาคญั ครูไดต้ งั้ คาถาม

จากการเรียนตามใบความรูท้ ่ี 1 เชน่ 9. พกั 5 นาที ถา้ มขี อ้ สงสยั ใหม้ าถามครู
ระบบเลขฐานต่าง ๆ , การบวกและลบ กอ่ นจะทาการสอบหลงั เรียน เพ่ือจะทา
เลขฐานสอง เป็นตน้ โดยการใชส้ ่ือ ใหไ้ ดค้ ะแนนมาก และเป็นความรูข้ อง
เพาเวอรพ์ อยท์ ตวั นกั ศกึ ษาเอง
9. ใหน้ กั ศกึ ษาพกั ช่วั คราวประมาณ 5 นาที
เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาธุระสว่ นตวั ในระหวา่ งท่ี 10. รบั ฟังและเตรียมทดสอบหลงั เรียนดว้ ย
นกั ศกึ ษาพกั ครูตรวจดกู ระดาษคาตอบ ความตงั้ ใจ
กอ่ นเรียนวา่ มีการแกไ้ ขหรือไม่ ถา้ พบว่ามี
การแกไ้ ขใหค้ รูเซ็นตช์ ่ือกากบั เพ่ือแจก 11. รบั แบบทดสอบท่ี 1 พรอ้ มอ่านคาชีแ้ จง
กระดาษหลงั เรียน ซ่งึ เป็น ใหเ้ ขา้ ใจแลว้ ลงมอื ทาแบบทดสอบดว้ ย
กระดาษคาตอบชดุ เดยี วกบั นกั ศกึ ษาคน ความซ่ือสตั ย์
นนั้ จะไม่มีการแกไ้ ขอีก
10. เม่อื พกั ครบกาหนดท่ีครูกาหนดแลว้ ครู
บอกกบั นกั ศกึ ษาว่าต่อไปนจี้ ะเป็นการ
ทดสอบผลการเรยี นเพ่ือเกบ็ คะแนนครงั้ ท่ี
1
11. แจกแบบทดสอบท่ี 1 พรอ้ ม
กระดาษคาตอบใหค้ รบทกุ คนจึงอนญุ าต
ใหล้ งมือทาแบบทดสอบได้

34

12. หมดเวลาใหน้ กั ศกึ ษาสง่ ขอ้ สอบคนื ท่ีครู 12. ตรวจสอบความถูกตอ้ ง แลว้ สง่
แบบทดสอบคนื ครู
13. ครูบอกกบั นกั ศกึ ษาวา่ จะแจง้ ผลการทา
แบบทดสอบท่ี 1 ในการเรียนครง้ั ท่ี 2 13. รบั ฟังดว้ ยความตงั้ ใจ

14. แจกใบความรูท้ ่ี 2 และเตรยี มเรยี นครงั้ 14. รบั ใบความรูท้ ่ี 2 และถือปฏิบตั ิตามท่ี
ต่อไป ครูแนะนา ถา้ ไม่เขา้ ใจใหถ้ ามครูหรือผรู้ ู้

35

กจิ กรรมปลูกจติ สานกึ

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนกั ศึกษา

กจิ กรรม 5 ส. (สะสาง , สะดวก , สะอาด , 10. รบั ฟังขอ้ ชแี้ จง ซกั ถามขอ้ สงสยั
สุขลักษณะ , สร้างนิสยั )
10. ครูแจง้ เร่ืองการรกั ษาความสะอาดในหอ้ ง 11. รวมกลมุ่ ท่ีไดร้ บั มอบหมายหรือท่ี
นกั ศกึ ษาเลือกกนั เองแลว้ เขียนช่อื
เรียนว่ามีความสาคญั ในการเรยี นการ สมาชิก
สอนเพ่ือท่จี ะทาใหเ้ กิดบรรยากาศในการ
เรยี นการสอนท่ีดี ดงั นนั้ นกั ศกึ ษาทกุ คน 12. ตวั แทนลมุ่ รบั ใบกิจกรรม 5 ส.
จะตอ้ งรว่ มมือกนั ในการรกั ษาความ
สะอาด 13. แยกกลมุ่ ทากิจกรรม 5 ส.
11. แบ่งนกั ศึกษาออกเป็น 5 กล่มุ ๆ ละเทา่ ๆ
กนั โดยครูอาจแบ่งใหห้ รอื นกั ศกึ ษาแบง่ 14. สง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกไปประเมินกลมุ่ อ่นื
กนั เอง ตามท่ีครูกาหนด
12. แจกตารางกิจกรรม 5 ส. มอบหมาย
กจิ กรรมในแตล่ ะกลมุ่ 15. หวั หนา้ หอ้ งบอกนกั ศกึ ษาจดั แถว
13. ใหน้ กั ศกึ ษาทากิจกรรม 5 ส. โดย
แบ่งกลมุ่ ตามตารางกจิ กรรมท่แี จกให้ 16. รบั ฟังและแนะนาไปปฏิบตั ิ
14. ใหน้ กั ศึกษาสง่ ตวั แทนกลมุ่ ๆ ละหนึ่งคน
เพ่อื มาประเมินใหค้ ะแนนกล่มุ อ่นื เพยี ง 17. รบั การตรวจเคร่ืองแตง่ กายและรบั ฟัง
กลมุ่ เดยี ว ขอ้ แนะนา ขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ
15. ใหน้ กั ศึกษาเขา้ แถวหนา้ หอ้ งเรยี น
16. ครูกลา่ วสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 18. หวั หนา้ หอ้ งบอกนกั ศกึ ษาทาความ
ดา้ นความมีวนิ ยั และดา้ นความรบั ผดิ ชอบ เคารพ โดยนกั ศกึ ษาทกุ คนกลา่ วคาว่า
17. ตรวจเคร่อื งแต่งกาย โดยนกั ศกึ ษาท่แี ตง่ “ขอบคณุ ครบั ,คะ่ ” แลว้ แยกไปเรียน
กายผิดระเบียบจะตกั เตือนหรอื ลงโทษ วชิ าต่อไป
ตามสมควร
18. บอกหมดเวลาเรยี นสาหรบั วนั นี้ ให้
นกั ศกึ ษาไปเรียนวิชาตอ่ ไป

36

งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรมทีม่ อบหมาย

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ครูใหน้ กั ศกึ ษา
ศกึ ษาแผนการสอนรายวิชาดิจิทลั เทคนิคท่คี รูแจกให้
ตงั้ ใจฟัง ซกั ถามขอ้ สงสยั ช่วยกนั ตอบคาถามและจดบนั ทกึ สรุปย่อสาระสาคญั
ทาแบบทดสอบท่ี 1

5. กิจกรรมในขณะเรียน ครูใหน้ กั ศึกษา
ตงั้ ใจดู ฟัง จดบนั ทกึ สรุปความคดิ รวบยอดจากการบรรยายของครู
ยกตวั อย่างและตอบคาถามเป็นรายบคุ คล
ซกั ถามขอ้ สงสยั
ระดมสมองช่วยกนั ตอบคาถาม

6. กิจกรรมหลงั เรียน ครูใหน้ กั ศกึ ษา
ทาแบบทดสอบท่ี 1
แบง่ กลมุ่ ทากจิ กรรม 5 ส.
ศกึ ษาใบความรูท้ ่ี 2

37

สอื่ การเรยี นการสอน

ส่อื สงิ่ พิมพ์
8. แผนการสอนรายวิชา
9. ใบความรูท้ ่ี 1 เรื่องระบบเลขและเลขฐานสอง
10. แบบทดสอบท่ี 1 และแบบเฉลยแบบทดสอบท่ี 1
11. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน(บรรณานุกรม)
12. ใบตารางกิจกรรม 5 ส.
13. แบบประเมนิ ผลการเรียน
14. แบบบนั ทกึ หลงั การสอน

ส่อื โสตทศั น์
5. กระดานไวทบ์ อรด์ พรอ้ มปากกาไวทบ์ อรด์ แบบลบไดส้ ีดา นา้ เงิน แดง และเขยี ว
6. เคร่อื งฉายภาพขา้ มศีรษะพรอ้ มแผ่นใส
7. เครื่องโปรเจกเตอร์ และคอมพวิ เตอร์
8. โปรแกรมนาเสนอผลงาน(เพาเวอรพ์ อยท)์

การวดั และประเมินผล
7. วดั ความรู้ ความจาและความเขา้ ใจจากการตอบคาถาม
8. สงั เกตความสนใจและความสามคั คีของนกั ศกึ ษาจากการทากจิ กรรมกลมุ่
9. วดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนโดยใชแ้ บบทดสอบท่ี 1 ทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น
10. ตรวจแบบทดสอบท่ี 1
11. วดั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมดา้ นความมวี นิ ยั และความรบั ผดิ ชอบ
12. วดั การทากจิ กรรม 5 ส.

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล นักศึกษาทจี่ ะผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จะตอ้ งได้
4. คะแนนทาแบบทดสอบหลงั เรียนมากกว่าก่อนเรียน
5. คะแนนทาแบบทดสอบ จะตอ้ งไม่ต่ากว่า 80%
6. คะแนนทากิจกรรม 5 ส. จะตอ้ งไดไ้ ม่ต่ากวา่ 80%

38

บันทึกผลหลงั การจัดการเรียนรู้

1 ขอ้ สรุปหลงั การจดั การเรียนรู้

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

2 ปัญหาที่พบ

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................

3 แนวทางแกป้ ัญหา

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......

39

แผนการสอน หน่วยท่ี 2
สอนคร้ังท่ี 2
วชิ า ดิจิทลั ประยกุ ต์ ชวั่ โมง 10
ช่ือหน่วย ลอจิกเกตและพชี คณิตแบบบลู
ชว่ั โมงรวม 10
เร่ือง ลอจิกเกตและพีชคณิตแบบบลู

สาระสาคญั

สภาวะที่ใชใ้ นวงจรดิจิทลั น้นั มีอยู่ 2 สภาวะคือ ปิ ดและเปิ ด ซ่ึงอุปกรณ์ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ี
สามารถนามาใชใ้ นการดาเนินการคอื ลอจิกเกตแบบตา่ ง ๆ อนั ไดแ้ ก่ อินเวอร์เตอร์ ออร์เกต แอนด์
เกต นอร์เกต แนนตเ์ กตและเอกซค์ ลซู ีออร์เกต

จากลอจิกเกตที่มีอยเู่ มื่อนามาต่อกนั เพอื่ ใหท้ าหนา้ ท่ีอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงน้นั เรามีทฤษฎีพีชคณิต
แบบบลู มาใชใ้ นการแกป้ ัญหาลอจิกดงั กล่าว การดาเนินการในพชี คณิตแบบบลู จะมีกฎพ้ืนฐานท่ี
เหมือนกบั พีชคณิตทวั่ ไปที่คุน้ เคยกนั อยแู่ ลว้ กบั กฎบางอยา่ งท่ีแตกต่างพีชคณิตทว่ั ไป

เนื้อหา

2.1 ลอจิกเกต
2.2 ทฤษฎีพีชคณิตแบบบูล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายถึงสภาวะและระดบั ลอจิกในระบบดิจิทลั ได้
2. อธิบายการทางานและตารางค่าความจริงของลอจิกเกตท้งั 6 แบบได้
3. อธิบายวิธีการใชน้ อร์เกตและแนนตเ์ กตเป็นยนู ิเวอร์ซลั เกตได้
4. นาทฤษฏีพีชคณิตแบบบูลไปแกป้ ัญหาลอจิกได้

40

แผนการสอน หน่วยท่ี 2
สอนคร้ังท่ี 2
วชิ า ดิจิทลั ประยกุ ต์ ชว่ั โมง 10
ชื่อหน่วย ลอจิกเกตและพีชคณิตแบบบลู
ชวั่ โมงรวม 10
เร่ือง ลอจิกเกตและพชี คณิตแบบบลู

สมรรถนะอาชีพ

ด้านความรู้ เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาไดเ้ ขา้ ใจ
1. มาตรฐานรายวชิ าและคาอธิบายรายวชิ า
2. แนวทางการเรยี นรูแ้ ละกระบวนการเรียนรู้
3. การวดั และประเมินผลการเรียนรูแ้ ละกิจกรรมเสรมิ การเรียนรู้
4. เนอื้ หาความรูเ้ ดิมท่ีสาคญั ท่ีจะนามาใชใ้ นการวิเคราะห์ แกป้ ัญหา

ด้านทกั ษะ เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาสามารถ
1. บอกมาตรฐานรายวิชาไดถ้ กู ตอ้ ง
2. วางแผนการเรียนใหผ้ า่ นมาตรฐานรายวิชา
3. แกป้ ัญหาลอจกิ โดยใชท้ ฤษฎีพีชคณิตแบบบลู ไดถ้ กู ตอ้ ง
4. มีกิจนสิ ยั ในการคน้ ควา้ หาความรูเ้ พมิ่ เตมิ
5. มคี วามซอ่ื สตั ย์ รบั ผิดชอบและตรงตอ่ เวลา

คุณธรรม จรยิ ธรรมทสี่ อดแทรก
1. มวี นิ ยั เชน่ การแต่งกายใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบียบของสถานศกึ ษา
2. ความรบั ผดิ ชอบ เช่นการสง่ งานท่ไี ดร้ บั มอบหมายตามกาหนดเวลา
3. ความซื่อสตั ย์ เช่นการไม่ลอกเลยี นงานของเพ่อื น

41

สาระสาคัญ
ระบบตวั เลขท่ีนิยมใชก้ นั มากคือ เลขฐานสิบ นอกจากนยี้ งั มีเลขฐานอ่นื ๆ เชน่ เลขฐานสอง

เลขฐานแปดและเลขฐานสิบหก ซง่ึ ในการศึกษารายวิชาท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ดิจิทลั นนั้ มีความจาเป็นท่ี
ตอ้ งเขา้ ใจถงึ ระบบตวั เลขฐานตา่ ง ๆ การแปลงเลขฐานต่าง ๆการคานวณเชิงเลขคณิตของ
เลขฐานสอง รวมทงั้ รหสั ท่นี ิยมใช้

สมรรถนะอาชพี
ด้านความรู้ เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาไดเ้ ขา้ ใจ

1. มาตรฐานรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา
2. แนวทางการเรียนรูแ้ ละกระบวนการเรียนรู้
3. การวดั และประเมินผลการเรียนรูแ้ ละกิจกรรมเสรมิ การเรียนรู้
4. เนอื้ หา ความรูเ้ ดิมท่ีจะนามาใชใ้ นการวเิ คราะห์ แกป้ ัญหา
ด้านทกั ษะ เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาสามารถ
1. บอกมาตรฐานรายวิชาไดถ้ ูกตอ้ ง
2. วางแผนการเรียนใหผ้ ่านมาตรฐานรายวชิ าได้
3. แปลงเลขฐานต่าง ๆ ได้
4. บอกระบบตวั เลขในระบบดจิ ิทลั ได้
5. มีกิจนสิ ยั ในการหาความรูเ้ พิ่มเติม
6. มคี วามซ่ือสตั ย์ รบั ผิดชอบและตรงตอ่ เวลา
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมทส่ี อดแทรก
1. มีวนิ ยั เช่นการแต่งกายใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบของสถานศกึ ษา
2. ความรบั ผิดชอบ เช่นสง่ งานท่ไี ดร้ บั มอบหมายตามกาหนดเวลา
3. ความซ่อื สตั ย์ เช่นการไม่ลอกเลยี นงานของเพ่อื นท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

42

บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.4 เตรียมความพรอ้ มดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ สอดคลอ้ งกบั งานและใชว้ สั ดอุ ปุ กรณอ์ ยา่ ง

คมุ้ ค่า ประหยดั ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.5 ปฏิบตั ิงานไดถ้ กู ตอ้ งและสาเรจ็ ภายในเวลาท่ีกาหนดอย่างมเี หตผุ ล ตามหลกั

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

บรู ณาการนโยบายสถานศึกษา
3.6 สอนและฝึกหดั ใหน้ กั เรยี น นกั ศกึ ษา รูจ้ กั การทางานเป็นกลมุ่ การรบั ฟังความ

คดิ เห็นเหตผุ ลของผอู้ ่นื และปฏิบตั หิ นา้ ท่ที ่ไี ดร้ บั มอบหมาย
3.7 สง่ เสรมิ กิจกรรมท่ีสรา้ งความสามคั คี เออื้ เฟื้อเผ่ือแผ่ ช่วยเหลือเกือ้ กลู และรกั ใคร่

ปรองดองในสถานศกึ ษา
3.8 กระตนุ้ และเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนนกั ศกึ ษากลา้ ท่จี ะแสดงความคิดเห็นในเร่ืองต่างๆ

เช่น กจิ กรรมในชนั้ เรยี น กิจกรรมตา่ งๆ ของสถานศกึ ษาและกิจกรรมของชมุ ชน
3.9 ปลกู จติ สานึกใหน้ กั เรียน นกั ศกึ ษา มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม รูร้ บั ผิดชอบช่วั ดี มีความ

ภมู ใิ จในความเป็นไทย
3.10 ใหค้ วามรูเ้ กี่ยวกบั โทษภยั ของยาเสพติด และการหลกี เล่ยี งห่างไกลยาเสพติด

เพ่อื ใหม้ ีภมู คิ มุ้ กนั อยา่ งย่งั ยืน

43

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของนกั ศึกษา

ขนั้ นาสู่บทเรียน 1. รบั ฟังขอ้ คิดเห็น ขอ้ เสนอแนะ
1. ครูกลา่ วตอ้ นรบั นกั ศกึ ษาในโอกาสพบ
2. ขานรบั และไม่สง่ เสียงดงั
กนั อีกครง้ั
2. ครูเช็คช่ือนกั ศกึ ษาโดยใชแ้ บบ 3. ตงั้ ใจฟังดว้ ยความสงบ
4. รบั แบบทดสอบและอ่านคาชีแ้ จงให้
ประเมนิ ผลการเรียน ถา้ มนี กั ศกึ ษามาสายจะ
สอบถามถงึ สาเหตแุ ละตกั เตือน เขา้ ใจ
5. ทาแบบทดสอบท่ี 2 ดว้ ยความตงั้ ใจ
3. ครูแจง้ ผลคะแนนการสอบครงั้ ท่ีแลว้
4. ครูแจกแบบทดสอบท่ี 2 พรอ้ ม และไม่ทจุ รติ
กระดาษคาตอบ 6. สง่ แบบทดทดสอบท่ี 2
5. ใหน้ กั ศกึ ษาทาแบบทดสอบ โดยใช้
เวลา 20 นาที 7. ศกึ ษาหวั ขอ้ รายละเอียดเนือ้ หาดว้ ย
6. ใหน้ กั ศึกษาสง่ แบบทดสอบท่ี 2 พรอ้ ม ความตงั้ ใจ
กระดาษคาตอบ ท่คี รู
7. ครูแจกใบความรูท้ ่ี 2 เรื่องลอจิกเกต
และทฤษฏพี ีชคณิตแบบบลู

44

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของนกั ศึกษา

ข้ันสอน 3. ตงั้ ใจฟัง ดเู นอื้ หารายละเอยี ดในใบ
3. ครูอธิบายตามใบความรูท้ ่ี 2 โดยใชส้ ่ือ ความรูท้ ่ี 2 และจดบนั ทกึ สาระสาคญั ท่ี
แผน่ ใส ท่ใี ชก้ บั เคร่ืองฉายภาพขา้ มศีรษะ ครูอธิบายและซกั ถามเม่ือไม่เขา้ ใจใน
แลว้ บรรยายหรืออธิบาย โดยพยายาม หวั ขอ้ ใด
ถามกระตนุ้ นกั ศกึ ษาใหม้ ีความต่ืนตวั
และมีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอนมาก 15. ช่วยกนั สรุปเนอื้ หาสาระสาคญั ตามท่ี
ๆ ครูไดต้ งั้ คาถาม

ขั้นสรุปและวัดประเมินผล 16. พกั 5 นาที ถา้ มีขอ้ สงสยั ใหม้ าถามครู
15. ครูและนกั ศกึ ษาช่วยกนั สรุปสาระสาคญั ก่อนจะทาการสอบหลงั เรยี น เพ่ือจะทา
ใหไ้ ดค้ ะแนนมาก และเป็นความรูข้ อง
จากการเรียนตามใบความรูท้ ่ี 2 เชน่ ตวั นกั ศกึ ษาเอง
ลอจิกเกตแบบต่าง ๆ เป็นตน้ โดยการใช้
สือ่ เพาเวอรพ์ อยต์ 17. รบั ฟังและเตรียมทดสอบหลงั เรียนดว้ ย
16. ใหน้ กั ศกึ ษาพกั ช่วั คราวประมาณ 5 นาที ความตงั้ ใจ
เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาธุระสว่ นตวั ในระหว่างท่ี
นกั ศกึ ษาพกั ครูตรวจดกู ระดาษคาตอบ 18. รบั แบบทดสอบท่ี 2 พรอ้ มอา่ นคาชแี้ จง
ก่อนเรยี นว่ามกี ารแกไ้ ขหรือไม่ ถา้ พบว่ามี ใหเ้ ขา้ ใจแลว้ ลงมอื ทาแบบทดสอบดว้ ย
การแกไ้ ขใหค้ รูเซ็นตช์ ่ือกากบั เพ่ือแจก ความซอื่ สตั ย์
กระดาษหลงั เรยี น ซ่งึ เป็น
กระดาษคาตอบชุดเดียวกบั นกั ศกึ ษาคน 19. ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง แลว้ สง่
นนั้ จะไม่มกี ารแกไ้ ขอกี แบบทดสอบคืนครู
17. เม่อื พกั ครบกาหนดท่ีครูกาหนดแลว้ ครู
บอกกบั นกั ศึกษาว่าต่อไปนจี้ ะเป็นการ
ทดสอบผลการเรียนเพ่ือเกบ็ คะแนนครงั้ ท่ี
2
18. แจกแบบทดสอบท่ี 2 พรอ้ ม
กระดาษคาตอบใหค้ รบทกุ คนจงึ อนญุ าต
ใหล้ งมอื ทาแบบทดสอบได้
19. หมดเวลาใหน้ กั ศกึ ษาสง่ ขอ้ สอบคนื ท่ีครู

45

20. ครูบอกกบั นกั ศกึ ษาวา่ จะแจง้ ผลการทา 20. รบั ฟังดว้ ยความตงั้ ใจ
แบบทดสอบท่ี 2 ในการเรียนครงั้ ท่ี 4
21. รบั ใบความรูท้ ่ี 3 และถือปฏิบตั ิตามท่ี
21. แจกใบความรูท้ ่ี 3 และเตรียมเรียนครง้ั ครูแนะนา ถา้ ไมเ่ ขา้ ใจใหถ้ ามครูหรือผรู้ ู้
ตอ่ ไป

46

กจิ กรรมปลูกจติ สานกึ

กจิ กรรมของครู กจิ กรรมของนกั ศึกษา

กจิ กรรม 5 ส. (สะสาง , สะดวก , สะอาด , 19. รบั ฟังขอ้ ชแี้ จง ซกั ถามขอ้ สงสยั
สุขลักษณะ , สร้างนิสยั )
19. ครูแจง้ เร่ืองการรกั ษาความสะอาดในหอ้ ง 20. รวมกลมุ่ ท่ีไดร้ บั มอบหมายหรือท่ี
นกั ศกึ ษาเลือกกนั เองแลว้ เขียนช่อื
เรียนว่ามีความสาคญั ในการเรยี นการ สมาชิก
สอนเพ่ือท่จี ะทาใหเ้ กิดบรรยากาศในการ
เรยี นการสอนท่ีดี ดงั นนั้ นกั ศกึ ษาทกุ คน 21. ตวั แทนลมุ่ รบั ใบกิจกรรม 5 ส.
จะตอ้ งรว่ มมือกนั ในการรกั ษาความ
สะอาด 22. แยกกลมุ่ ทากิจกรรม 5 ส.
20. แบ่งนกั ศึกษาออกเป็น 5 กล่มุ ๆ ละเทา่ ๆ
กนั โดยครูอาจแบง่ ใหห้ รือนกั ศกึ ษาแบง่ 23. สง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกไปประเมินกลมุ่ อ่นื
กนั เอง ตามท่ีครูกาหนด
21. แจกตารางกิจกรรม 5 ส. มอบหมาย
กจิ กรรมในแตล่ ะกลมุ่ 24. หวั หนา้ หอ้ งบอกนกั ศกึ ษาจดั แถว
22. ใหน้ กั ศกึ ษาทากิจกรรม 5 ส. โดย
แบ่งกลมุ่ ตามตารางกจิ กรรมท่แี จกให้ 25. รบั ฟังและแนะนาไปปฏิบตั ิ
23. ใหน้ กั ศึกษาสง่ ตวั แทนกลมุ่ ๆ ละหน่งึ คน
เพ่อื มาประเมินใหค้ ะแนนกลมุ่ อ่นื เพียง 26. รบั การตรวจเคร่ืองแตง่ กายและรบั ฟัง
กลมุ่ เดยี ว ขอ้ แนะนา ขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ
24. ใหน้ กั ศึกษาเขา้ แถวหนา้ หอ้ งเรยี น
25. ครูกลา่ วสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 27. หวั หนา้ หอ้ งบอกนกั ศกึ ษาทาความ
ดา้ นความมีวินยั และดา้ นความรบั ผดิ ชอบ เคารพ โดยนกั ศกึ ษาทกุ คนกลา่ วคาว่า
26. ตรวจเคร่อื งแต่งกาย โดยนกั ศกึ ษาท่แี ตง่ “ขอบคณุ ครบั ,คะ่ ” แลว้ แยกไปเรียน
กายผิดระเบียบจะตกั เตือนหรอื ลงโทษ วชิ าต่อไป
ตามสมควร
27. บอกหมดเวลาเรียนสาหรบั วนั นี้ ให้
นกั ศกึ ษาไปเรียนวิชาตอ่ ไป

47

งานทมี่ อบหมายหรอื กิจกรรมทมี่ อบหมาย

7. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ครูใหน้ กั ศึกษา
ศกึ ษาหวั ขอ้ สาระสาคญั ตามใบความรูท้ ่ี 2 ท่ีครูแจกให้
ตงั้ ใจฟัง ซกั ถามขอ้ สงสยั ช่วยกนั ตอบคาถามและจดบนั ทกึ สรุปย่อสาระสาคญั
ทาแบบทดสอบท่ี 2

8. กจิ กรรมในขณะเรียน ครูใหน้ กั ศกึ ษา
ตงั้ ใจดู ฟัง จดบนั ทกึ สรุปความคดิ รวบยอดจากการบรรยายของครู
ยกตวั อย่างและตอบคาถามเป็นรายบคุ คล
ซกั ถามขอ้ สงสยั
ระดมสมองช่วยกนั ตอบคาถาม

9. กิจกรรมหลงั เรยี น ครูใหน้ กั ศกึ ษา
ทาแบบทดสอบท่ี 2
แบง่ กลมุ่ ทากิจกรรม 5 ส.
ศกึ ษาใบความรูท้ ่ี 3
ทารายงานเรื่อง “ลอจิกเกตแบบต่าง ๆ”

48

ส่ือการเรียนการสอน

ส่ือสิ่งพมิ พ์
15. แผนการสอนรายวชิ า
16. ใบความรู้ท่ี 2 เรื่องลอจิกเกตและพีชคณิตแบบบูล
17. แบบทดสอบท่ี 2 และแบบเฉลยแบบทดสอบท่ี 2
18. เอกสารประกอบการเรียนการสอน(บรรณานุกรม)
19. ใบตารางกิจกรรม 5 ส.
20. แบบประเมินผลการเรียน
21. แบบบนั ทึกหลงั การสอน

สื่อโสตทศั น์
9. กระดานไวทบ์ อร์ดพร้อมปากกาไวทบ์ อร์ดแบบลบไดส้ ีดา น้าเงิน แดง และเขียว
10. เครื่องฉายภาพขา้ มศีรษะพร้อมแผน่ ใส
11. เครื่องโปรเจกเตอร์ และคอมพวิ เตอร์
12. โปรแกรมนาเสนอผลงาน(เพาเวอร์พอยท)์
13. แผน่ ชาร์ตแสดงลอจิกเกตแบบต่าง ๆ

การวัดและประเมินผล
13. วดั ความรู้ ความจาและความเขา้ ใจจากการตอบคาถาม
14. สังเกตความสนใจและความสามคั คขี องนกั ศึกษาจากการทากิจกรรมกลมุ่
15. วดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใชแ้ บบทดสอบที่ 2 ทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
16. ตรวจแบบทดสอบท่ี 2
17. วดั คณุ ธรรม จริยธรรมดา้ นความมีวินยั และความรับผิดชอบ
18. วดั การทากิจกรรม 5 ส.

เกณฑ์การประเมนิ ผล นักศึกษาทจ่ี ะผ่านเกณฑ์การประเมินจะต้องได้
7. คะแนนทาแบบทดสอบหลงั เรียนมากกวา่ ก่อนเรียน
8. คะแนนทาแบบทดสอบ จะตอ้ งไมต่ ่ากวา่ 80%
9. คะแนนทากิจกรรม 5 ส. จะตอ้ งไดไ้ ม่ต่ากวา่ 80%

49

บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้

1 ขอ้ สรุปหลงั การจดั การเรียนรู้

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

2 ปัญหาที่พบ

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................

3 แนวทางแกป้ ัญหา

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......

50

แผนการสอน หน่วยท่ี 3
สอนคร้ังท่ี 4
วชิ า ดิจิทลั ประยกุ ต์ ชวั่ โมง 10
ชื่อหน่วย พ้ืนฐานการออกแบบวงจรคอมบิเนชนั
ชวั่ โมงรวม 10
เรื่อง พ้นื ฐานการออกแบบวงจรคอมบิเนชนั

สาระสาคญั

1. วงจรลอจิกสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื วงจรคอมบเิ นชนั และวงจรซี
เควนเชยี ล

2. วงจรท่มี เี อาตพ์ ตุ ขนึ้ เฉพาะกบั อนิ พตุ อย่างเดียวคือ วงจรคอมบเิ นชนั ซง่ึ สามารถสรา้ งได้
จากลอจกิ เกต สว่ นวงจรลอจิกท่มี เี อาตพ์ ตุ ขนึ้ กบั อินพตุ และอดีตก่อนหนา้ กค็ ือ
วงจรซีเควนเชยี ล ซ่งึ นอกจากจะสรา้ งไดจ้ ากวงจรลอจิกแลว้ ยงั ตอ้ งมีหน่วยความจาดว้ ย

3. แผนผงั คารโ์ นห์ เป็นวิธีการท่ใี ชเ้ พ่อื ลดรูปสมการในเชงิ กราฟ ซง่ึ ทาไดส้ ะดวก รวดเรว็ กวา่
การลดรูปสมการดว้ ยพชี คณิตแบบบลู

4. เรานยิ มใชแ้ ผนผงั คารโ์ นหใ์ นการลดรูปสมการท่มี ตี ัวแปรไม่มาก คือ ไม่เกิน 4 ตวั แปร

เนือ้ หา

3.1 ความแตกต่างระหว่างวงจรคอมบเิ นชนั กบั วงจรซเี ควนเชยี ล
3.2 การลดรูปสมการโดยใชแ้ ผนผงั คารโ์ นห์

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

5. อธิบายความแตกตา่ งระหว่างวงจรคอมบิเนชนั กบั วงจรซเี ควนเชยี ลได้
6. เขียนแผนผงั คารโ์ นหจ์ ากตารางคา่ ความจรงิ ได้
7. ใชแ้ ผนผงั คารโ์ นหใ์ นการตดั ทอนนพิ จนล์ อจกิ ท่มี ีตวั แปร 2 ,3 และ 4 ตวั แปรได้


Click to View FlipBook Version