The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kru Plaiplai, 2024-02-19 02:45:37

โครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ ปี 65

โครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ

รายงานผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ระดับมัธยมศึกษา) ปีการศึกษา 2565 ฝ่าย วิชาการ ผู้รายงาน นางวรุณี ไชยเผือก โรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ 108 หมู่ 5 ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000 โทร. 0-3931-1038 โทรสาร 0-3931-2575 http://www.sm.ac.th. E-mail. : [email protected]


บันทึกข้อความ ฝ่าย วิชาการ ที่ -/2565 วันที่ 7 เมษายน 2566 เรื่อง รายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ ด้วยฝ่ายวิชาการ ได้มอบหมายให้ข้าพเจ้า นางวรุณีไชยเผือก เป็นผู้รับผิดชอบโครงการพัฒนา ความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ตามแผนปฏิบัติการประจำปี การศึกษา ๒๕๖5 เพื่อดำเนินการบริหารโครงการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยมีระยะเวลา การดำเนินงานระหว่างวันที่ 7 พฤษภาคม 2565 ถึง วันที่ 31 มีนาคม 2566 บัดนี้โครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ผลการดำเนินงานโครงการ คิดเป็นร้อยละ 95.43 ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม ผลสรุปภาพรวมของโครงการ ระดับชั้นมัธยมศึกษา บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ จึงขอนำส่ง รายงานผลการดำเนินงานโครงการ พร้อมด้วยเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางวรุณีไชยเผือก) ผู้รับผิดชอบโครงการ ความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่าย .............................................................. ................................................................ (นางสาวน้ำเพชร สายสุวรรณ์) หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ ................................................................ ................................................................ (นางสาวลำยงค์ อุ้นวุ้น) ผู้อำนวยการโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์


คำนำ กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรค หนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวง ข้อ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ฝ่ายวิชาการ จึงได้รายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและ คิดพิชิตคำนวณ ตามแผนปฏิบัติการประจำปี ปีการศึกษา 2565 มีสาระสำคัญประกอบด้วย 3 เรื่องดังนี้ บทที่ ๑ บทนำ บทที่ ๒ วิธีดำเนินการโครงการ และบทที่ ๓ ผลการดำเนินงานโครงการ ทั้งนี้การรายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิต คำนวณ เพื่อเป็น ส่วนหนึ่งในการนำข้อมูลสำหรับวางแผนการดำเนินงานจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของ โรงเรียน เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการตัดสินใจต่างๆ ของผู้บริหารในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้ได้ มาตรฐาน ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และเป็นข้อมูลสำหรับบุคลากร ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัด กิจกรรมต่างๆ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ปกครองชุมชนต่อไป นางวรุณีไชยเผือก ผู้รับผิดชอบโครงการ


สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ ๑ บทนำ หลักการและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ 1 เป้าหมาย 1 วิธีดำเนินงาน 2 สถานที่ดำเนินงาน 3 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3 งบประมาณ 3 การติดตามและประเมินผล 4 ปัจจัยชี้วัดความเสี่ยง 4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 4 บทที่ ๒ วิธีดำเนินการ ประชากร 5 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 5 การวิเคราะห์ข้อมูล 5 บทที่ ๓ ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่จ่ายจริงตามโครงการ 19 ปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงาน 19 ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานโครงการครั้งต่อไป 19 บรรณานุกรม ภาคผนวก


สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 1 จำนวนนักเรียนแต่ละระดับชั้นที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ 6 ตารางที่ 2 แบบสรุปผลการประเมินการอ่านเสริมความรู้(ภาษาอังกฤษ) 7 ตารางที่ 3 แบบสรุปผลการประเมินการอ่านเสริมความรู้(ภาษาไทย) 8 ตารางที่ 4 แบบสรุปคะแนนเขียนตามคำบอก 9 ตารางที่ 5 แบบสรุปผลการประเมินการเขียนบรรยายภาพ 10 ตารางที่ 6 แบบสรุปผลการประเมินคำประพันธ์ 11 ตารางที่ 7 แบบสรุปผลการประเมินประโยคปริศนา 12 ตารางที่ 8 แบบสรุปผลการประเมินการเขียน (Dictation and sentence building) 13 ตารางที่ 9 แบบสรุปผลการประเมินการพูด 14 ตารางที่ 10 แบบสรุปผลการประเมินการพูด (Information speech) 15 ตารางที่ 9 แบบสรุปผลการประเมินการพูด 14 ตารางที่ 10 แบบสรุปผลการประเมินการพูด (Information speech) 17 ตารางที่ 13 ผลการดำเนิน โครงการพัฒนาความก้าวหน้าการอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ 18


บทที่ ๑ บทนำ ๑. หลักการและเหตุผล การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการฝึกทักษะ กระบวนการ คิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา และมาตรา ๒๔(๓) ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง และจากแผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๐-๒๕๗๙ (หน้า ๑๕-๑๖) ได้กำหนดเป้าหมายด้านผู้เรียน โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีลักษณะและทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑ การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ (ที่มาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๔) พุทธศักราช ๒๕๖๒ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๔(๒) ทางโรงเรียนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนดังกล่าว จึงได้จัดทำ โครงการ “พัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ” ในปีการศึกษา 2565 เพื่อให้ ผู้เรียนเกิดทักษะจากกระบวนการเรียนรู้ พร้อมทั้งสามารถสื่อสาร กล้าคิด กล้าแสดงออกและใช้ภาษาในการ สื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างมีประสิทธิภาพ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการอ่านในแต่ละระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 2.2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการเขียนในแต่ละระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนด 2.3 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการสื่อสารในแต่ละระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนด 2.4 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดคำนวณในแต่ละระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนด ๓. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1,414 คน ร้อยละ 92 มีความสามารถในการอ่าน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 3.1.2 ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1,414 คน ร้อยละ 92 มีความสามารถในการเขียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 3.1.3 ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1,414 คน ร้อยละ 92 มีความสามารถในการสื่อสาร ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด


3.1.4 ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1,414 คน ร้อยละ 92 ผู้ความสามารถในการคิดคำนวณ ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 3.2 เชิงคุณภาพ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน สื่อสารและคิดคำนวณได้มีประสิทธิภาพ 4. วิธีดำเนินการ ๑. ขั้นเตรียมการ (Plan) ๑.๑ จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๑.๒ เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 1.3 ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินงาน ๒. ขั้นดำเนินการ (DO) ๒.๑ กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน 2.1.1 จัดทำใบงานในแต่ละระดับชั้น 2.1.2 ให้ผู้เรียนทำใบงาน 2.1.3 ตรวจใบงานและบันทึกผลคะแนน ๒.๒ กิจกรรมนานางานเขียน 2.2.1 จัดทำแบบฝึกทักษะการเขียน(ภาษาไทย สะกดคำ,บรรยายภาพ,คำประพันธ์,ประโยค ปริศนา) 2.2.2 จัดทำแบบฝึกทักษะการเขียน(ภาษาอังกฤษ สะกดคำศัพท์, แต่งประโยค) 2.2.3 ให้ผู้เรียนเขียนฝึกทักษะ ภาษาไทย ๒ ครั้ง/เดือน 2.2.4 ให้ผู้เรียนเขียนฝึกทักษะ ภาษาอังกฤษ 4 ครั้ง/เดือน 2.2.5 ตรวจใบงานและบันทึกผลคะแนน ๒.๓ กิจกรรมพาทีสร้างสรรค์ 2.3.1 ฝึกทักษะการพูด สนทนา ถามตอบ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2.3.2 บันทึกคะแนน 2.4 กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ 2.4.1 จัดทำแบบฝึกทักษะคิดเลขเร็ว,เกม 24 2.4.2 ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกทักษะคิดเลขเร็ว ,เกม 24 10 ครั้ง /ภาคเรียน 2.4.3 ตรวจและบันทึกคะแนนผลการทำแบบฝึกทักษะ ๓. ขั้นสรุปและประเมินผล (Check) ๓.๑ ประชุมคณะกรรมการเพื่อประเมินผลการดำเนินงานและจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนิน โครงการ


๔. ขั้นปรับปรุงและติดตามประเมินผล (Action) ๔.๑ รายงานผลการดำเนินโครงการต่อฝ่ายบริหารของโรงเรียน 4.2 ประชุมเพื่อนำผลมาปรับปรุงพัฒนา ในปีการศึกษาต่อไป ๕. สถานที่ดำเนินงาน 5.1 โรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ จันทบุรี 6. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - 7. งบประมาณ ได้รับการจัดสรรจากโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์จำนวนเงิน 36,500 บาท (สามหมื่นหกห้าร้อยบาทถ้วน) จำแนกรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้ 7.1 กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน -ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 1,200 บาท -ค่าของขวัญขนาดเล็ก 200 ชิ้น x ชิ้นละ 20 บาท จำนวนเงิน 4,000 บาท -ค่าของขวัญปลอบใจ 400 ชิ้น x ชิ้นละ 10 บาท จำนวนเงิน 4,000 บาท 7.2 กิจกรรมนานางานเขียน -ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 1,200 บาท -ค่าของขวัญขนาดเล็ก 200 ชิ้น x ชิ้นละ 20 บาท จำนวนเงิน 4,000 บาท -ค่าของขวัญปลอบใจ 400 ชิ้น x ชิ้นละ 10 บาท จำนวนเงิน 4,000 บาท 7.3 กิจกรรมพาทีสร้างสรรค์ -ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 1,000 บาท -ค่าเกียรติบัตร 400 ฉบับ x ฉบับละ 20 บาท จำนวนเงิน 8,000 บาท 7.4 กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ -ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 1,100 บาท -ค่าเกียรติบัตร 400 ฉบับ x ฉบับละ 20 บาท จำนวนเงิน 8,000 บาท * ขอถัวจ่ายทุกรายการตามที่จ่ายจริง


8. การติดตามและประเมินผล ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ วิธีการวัด และประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด และประเมินผล 8.๑ ผู้เรียนร้อยละ 92 มีความสามารถในการ อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8.2 ผู้เรียนร้อยละ 92 มีความสามารถในการ เขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8.3 ผู้เรียนร้อยละ 92 มีความสามารถในการ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8.4 ผู้เรียนร้อยละ 92 มีความสามารถในการ คิดคำนวณได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การตรวจผลงาน/ ใบงาน - แบบประเมินผลงาน/ ใบงาน 9. ปัจจัยชี้วัดความเสี่ยง 9.๑ ข้อจำกัดด้านเวลาที่ใช้ในการดำเนินงาน 9.2 ข้อจำกัดด้านตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ 9.3 ข้อจำกัดด้านความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคน 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 10.๑ ผู้เรียนระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถอ่าน เขียน สื่อสาร และคิดคำนวณได้สูงกว่าเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด 10.๒ ผู้เรียนระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีทักษะ กระบวนการคิด ในการทำงานและการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในชีวิตประจำวัน 10.๓ ผู้เรียนระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 10.4 ผู้เรียนระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เกิดความภาคภูมิใจใน ผลงานของตน และเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์แก่บุคคลอื่น 10.5 ผู้เรียนระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีความกล้าแสดงออก มีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และสามารถนำเสนอแนวคิดร่วมกับผู้อื่นในที่สาธารณะชน 10.6 ผู้เรียนระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างสร้างสรรค์และมีความสุข


บทที่ ๒ วิธีดำเนินการ ในการดำเนินโครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ ปีการศึกษา ๒๕๖5 มีรายละเอียดของการดำเนินงาน ดังนี้ ๑. ประชากร ประชากร หมายถึง ผู้เรียนโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ๒. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล จากการดำเนินกิจกรรมในโครงการ 4 กิจกรรม ดังนี้ 2.1 กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน ใช้แบบประเมินใบงาน 2.2 กิจกรรมนานางานเขียน ใช้แบบประเมินใบงาน 2.3 กิจกรรมพาทีสร้างสรรค์ใช้แบบประเมินผลงาน 2.4 กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ ใช้แบบประเมินใบงาน โดยแบบประเมิน มีการให้คะแนนแบบรูบริค (scoring rubric) 4 ระดับ ดังนี้ ระดับ 4 หมายถึง ดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง ๓. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้ค่าทางสถิติ ทำโดยการคำนวณค่าร้อยละ ของข้อมูล 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน เขียน สื่อสาร คิดคำนวณ ได้ระดับ ดีขึ้นไป ส่วนที่ 2 เชิงคุณภาพ - ค่าเฉลี่ยผลการประเมินความสามารถในการ อ่าน เขียน สื่อสาร คิดคำนวณ โดยแปลค่าเฉลี่ยดังนี้ ค่าเฉลี่ย เทียบค่าร้อยละ หมายถึง ความหมายระดับปฏิบัติ 3.51 – 4.00 87.51 – 100.00 หมายถึง ดีเยี่ยม 2.51 – 3.51 62.51 – 87.50 หมายถึง ดี 1.51 – 2.50 37.51 – 62.50 หมายถึง พอใช้ 1.00 – 1.50 00.00 – 37.50 หมายถึง ปรับปรุง


บทที่ ๓ ผลการดำเนินงาน ในการสรุปผลการดำเนินโครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ ปีการศึกษา ๒๕๖5 มีรายละเอียดผลของการดำเนินงาน ดังนี้ ๑. เชิงปริมาณ ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ คือ ผู้เรียนโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1,414 คน คิดเป็นร้อยละ 100 แยกรายละเอียดตามระดับชั้น ดังนี้ ตารางที่ 1 จำนวนผู้เรียนแต่ละระดับชั้นที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสาร และคิดพิชิตคำนวณ ระดับชั้น จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 21.23 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 19.86 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 19.01 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 14.48 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 11.87 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 13.56 รวม 3139 100.00 จากตารางที่ 1 พบว่าผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 21.23เป็นอันดับแรกรองลงมาเป็นผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 19.86 และผู้เรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 19.01 ตามลำดับโดยมีผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คิดเป็นร้อยละ 13.56 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 2 แบบสรุปผลการประเมินการอ่านเสริมความรู้ (ภาษาอังกฤษ) กิจกรรม ส่งเสริมรักการอ่าน ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวนนักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็นร้อยละ 4 3 2 1 มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 185 104 10 3.59 89.63 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 148 89 44 3.37 84.25 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 159 107 3 3.58 89.50 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 205 4.00 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 152 16 3.90 97.62 มัธยมศึกษาปีที่ 6 193 146 47 3.76 93.91 รวม 1415 995 363 57 0 ร้อยละ 100.00 70.32 25.65 4.03 0.00 สรุปร้อยละกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน อ่านเสริมความรู้ (ภาษาอังกฤษ) ในระดับดีขึ้น ไป 95.97 จากตารางที่ 2 ผลการประเมินกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน อ่านเสริมความรู้ (ภาษาอังกฤษ) ในระดับดีขึ้นไป ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยมคิดเป็นร้อยละ 95.97 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับดีเยี่ยมคิดเป็นร้อยละ 100 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 97.62 และระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 93.91 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 84.25 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 3 แบบสรุปผลการประเมินอ่านเสริมความรู้ กิจกรรม ส่งเสริมรักการอ่าน ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวนนักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็น 4 3 2 1 ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 262 37 3.88 97.00 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 252 29 3.90 97.50 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 247 22 3.92 98.00 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 183 22 3.89 97.25 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 157 11 3.93 98.25 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 190 2 3.99 99.75 รวม 1414 1291 123 0 0 ร้อยละ 100.00 91.30 8.70 0.00 0.00 สรุปร้อยละกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน อ่านเสริมความรู้ ในระดับดีขึ้นไป 100.00 จากตารางที่ 3 ผลการประเมินกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน อ่านเสริมความรู้ ในระดับดีขึ้นไป ในภาพรวม อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 100 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยมคิดเป็น ร้อยละ 99.75 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 98.25 และระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 98.00 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 97.00 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 4 แบบสรุปคะแนนเขียนตามคำบอก กิจกรรมนานางานเขียน ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด (คน) รวมคะแนน ระดับคุณภาพ ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 30.23 3.03 75.57 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 31.2 3.12 77.99 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 31.75 3.18 79.38 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 34.75 3.48 86.86 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 35.36 3.54 88.39 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 35.31 3.53 88.26 รวม 1414 198.6 ร้อยละ 100.00 16.55 สรุปร้อยละกิจกรรมนานางานเขียน เขียนตามคำบอก ในระดับดีขึ้นไป 82.91 จากตารางที่ 4 ผลการประเมินกิจกรรมนานางานเขียน เขียนตามคำบอก ในระดับดีขึ้นไปในภาพรวม อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 82.91 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 88.39 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 88.26 และระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 86.86 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 75.57 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 5 แบบสรุปผลการประเมินการเขียนบรรยายภาพ กิจกรรม นานางานเขียน ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวน นักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็น ร้อยละ 4 3 2 1 มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 80 141 78 3.01 75.25 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 148 133 3.53 88.25 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 140 129 3.52 88.00 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 188 17 3.92 98.00 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 152 16 3.90 97.50 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 143 49 3.74 93.50 รวม 1414 851 485 78 0 ร้อยละ 100.00 60.18 34.30 5.52 0.00 สรุปร้อยละกิจกรรมนานางานเขียน การเขียนบรรยายภาพ ในระดับดีขึ้นไป 94.48 จากตารางที่ 5 ผลการประเมินกิจกรรมนานางานเขียน การเขียนบรรยายภาพ ในระดับดีขึ้นไปในภาพรวม อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 94.48 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 98.00 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 97.50 และระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 93.50 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 75.25 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 6 แบบสรุปผลการประเมินคำประพันธ์ กิจกรรมนานางานเขียน ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวน นักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็น ร้อยละ 4 3 2 1 มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 85 187 27 3.19 79.75 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 135 146 3.48 87.00 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 124 145 3.46 86.50 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 185 20 3.90 97.50 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 153 15 3.91 97.75 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 139 53 3.72 93.00 รวม 1414 821 566 27 0 ร้อยละ 100.00 58.06 40.03 1.91 0.00 สรุปร้อยละกิจกรรมนานางานเขียน การประเมินคำประพันธ์ ในระดับดีขึ้น ไป 93.09 จากตารางที่ 6 ผลการประเมินกิจกรรมนานางานเขียน การประเมินคำประพันธ์ ในระดับดีขึ้นไป ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยมคิดเป็นร้อยละ 93.09 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็น ร้อยละ 97.75 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 97.50 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 93.00 ตามลำดับ โดยมี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 79.75 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 7 แบบสรุปผลการประเมินประโยคปริศนา กิจกรรมนานางานเขียน ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวน นักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็น 4 3 2 1 ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 137 162 3.46 86.50 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 157 124 3.56 89.00 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 142 127 3.53 88.25 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 189 16 3.92 98.00 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 152 16 3.90 97.50 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 149 43 3.78 94.50 รวม 1414 926 488 0 0 ร้อยละ 100.00 65.49 34.51 0.00 0.00 สรุปร้อยละกิจกรรมนานางานเขียน ประโยคปริศนา ในระดับดีขึ้นไป 100 จากตารางที่ 7 ผลการประเมินกิจกรรมนานางานเขียน ประโยคปริศนา ในระดับดีขึ้นไปในภาพรวม อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 100 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 98.00 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 97.50 และระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 94.50 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 86.50 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 8 แบบสรุปผลการประเมินการเขียน (Dictation and sentence building) กิจกรรม นานางานเขียน ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวนนักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็นร้อยละ 4 3 2 1 มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 277 22 3.92 98.00 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 274 7 3.98 99.38 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 261 8 3.97 99.25 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 204 1 4.00 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 168 4.00 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 190 2 3.99 99.74 รวม 1414 1374 40 0 0 ร้อยละ 100.00 97.17 2.83 0.00 0.00 สรุปร้อยละกิจกรรมนานางานเขียน การเขียน (Dictation and sentence building) ใน ระดับดีขึ้นไป 100 จากตารางที่ 8 ผลการประเมินกิจกรรมการเขียน (Dictation and sentence building) ในระดับดีขึ้นไป ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 100 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4,5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อย ละ 100 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 99.74 และ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 99.38 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 98.00 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 9 แบบสรุปผลการประเมินการพูด กิจกรรม พาที สร้างสรรค์ ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวนนักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็นร้อย 4 3 2 1 ละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 91 203 5 3.29 82.25 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 148 133 3.53 88.25 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 143 126 3.53 88.25 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 184 21 3.90 97.50 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 150 18 3.89 97.25 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 187 5 3.97 99.25 รวม 1414 903 506 5 - ร้อยละ 100.00 63.86 35.79 0.35 - สรุปร้อยละกิจกรรมพาทีสร้างสรรค์ ประเมินการพูด ในระดับดีขึ้นไป 99.65 จากตารางที่ 9 ผลการประเมินกิจกรรมพาที สร้างสรรค์ ประเมินการพูด ในระดับดีขึ้นไป ในภาพรวม อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 99.65 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 99.25 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 97.50 และระดับอยู่ใน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 97.25 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 82.25 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 10 แบบสรุปผลการประเมินการพูด (Informative speech) กิจกรรม พาทีสร้างสรรค์ ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวนนักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็นร้อยละ 4 3 2 1 มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 227 72 3.76 94.00 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 116 165 3.41 85.25 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 118 151 3.44 86.00 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 205 4.00 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 168 4.00 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 149 43 3.78 94.50 รวม 1414 983 431 0 0 ร้อยละ 100.00 69.52 30.48 0.00 0.00 สรุปร้อยละกิจกรรมพาทีสร้างสรรค์ ประเมิน การพูด (Informative speech) ในระดับดี ขึ้นไป 100.00 จากตารางที่ 10 ผลการประเมินกิจกรรมพาที สร้างสรรค์ ประเมินการพูด (Informative speech) ในระดับดีขึ้นไป ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 100 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4,5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 100 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 94.50 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 94.00 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็น ร้อยละ 85.25 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 11 แบบสรุปผลการประเมินคิดเลขเร็ว กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวน นักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็น ร้อยละ 4 3 2 1 มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 35 153 111 2.75 68.75 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 166 115 3.59 89.75 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 196 73 3.73 93.25 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 114 91 3.56 89.00 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 162 6 3.96 99.00 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 145 47 3.76 94.00 รวม 1414 818 485 111 0 ร้อยละ 100.00 57.85 34.30 7.85 0.00 สรุปร้อยละกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิด คำนวณ การคิดเลขเร็ว ในระดับดีขึ้นไป 92.15 จากตารางที่ 11 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ การคิดเลขเร็ว ในระดับดีขึ้นไป ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 92.15 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็น ร้อยละ 99.00 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 94.00 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในระดับดีเยี่ยมคิดเป็นร้อยละ 93.25 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 68.75 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 12 แบบสรุปผลการประเมินเกม 24 กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด (คน) เกณฑ์การประเมิน (จำนวนนักเรียน) ระดับ คุณภาพ คิดเป็นร้อย 4 3 2 1 ละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 299 37 151 111 2.75 68.75 มัธยมศึกษาปีที่ 2 281 281 4.00 100.00 มัธยมศึกษาปีที่ 3 269 35 175 59 2.91 72.75 มัธยมศึกษาปีที่ 4 205 126 79 3.61 90.25 มัธยมศึกษาปีที่ 5 168 162 6 3.96 99.00 มัธยมศึกษาปีที่ 6 192 35 115 42 2.96 74.00 รวม 1414 676 526 212 0 ร้อยละ 100.00 47.81 37.20 14.99 0.00 สรุปร้อยละกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิด คำนวณ เกม 24 ในระดับดีขึ้นไป 85.01 จากตารางที่ 12 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ เกม 24 ในระดับดีขึ้นไป ในภาพรวมอยู่ใน ระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 85.01 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 100 เป็นอันดับแรก รองลงมาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 99.00 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ใน ระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 90.25 ตามลำดับ โดยมีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 68.75 เป็นลำดับสุดท้าย


ตารางที่ 13 ผลการดำเนิน โครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่านเขียน สื่อสาร และคิดพิชิตคำนวณ ตัว บ่งชี้ ชื่อกิจกรรม ระดับประถม ระดับ มัธยม สรุป คิดเป็น ร้อยละ ระดับ คุณภาพ 1 1.กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน -อ่านสริมความรู้ภาษาไทย 100 100 100 98.63 ดีเยี่ยม -อ่านภาษาอังกฤษ 98.55 95.97 97.26 2 2.กิจกรรมนานางานเขียน 94.77 ดีเยี่ยม ภาษาไทย -เขียนตามคำบอก 93.34 82.74 85.65 -เขียนบรรยายภาพ 94.21 94.48 94.55 -เขียนคำประพันธ์ 92.24 98.49 96.24 -เขียนประโยคปริศนา 94.96 100 97.52 ภาษาอังกฤษ Dictation and Sentence building 99.83 100 99.9 3 3.กิจกรรมพาทีสร้างสรรค์ ภาษาไทย -ทักษะการพูด 100 99.65 99.84 99.54 ดีเยี่ยม ภาษาอังกฤษ -Informative speech 98.61 100 99.24 4 4.กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ -คิดเลขเร็ว 99.94 92.50 96.43 94.63 ดีเยี่ยม -เกม 24 99.25 85.01 92.83 เฉลี่ยรวม 96.89 ดีเยี่ยม จากตารางที่ 13 ผลการประเมินความสามารถในการอ่าน เขียน สื่อสาร คิดคำนวณของการจัดกิจกรรม โครงการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่าน เขียน สื่อสารและคิดพิชิตคำนวณ ในภาพรวมได้ระดับคุณภาพดีเยี่ยม ร้อยละ 99.54 กิจกรรมพาที สร้างสรรค์อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 99.54 เป็นอันดับแรก รองลงมา กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 98.63 และกิจกรรมนานางานเขียน อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 94.77 ตามลำดับ และกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ อยู่ในระดับดีเยี่ยม คิดเป็น ร้อยละ 94.63 เป็นลำดับสุดท้าย ดังนั้นผลสรุปภาพรวมของโครงการการพัฒนาความก้าวหน้า การอ่าน เขียน สื่อสารและคิดพิชิต คำนวณ ตามตัวบ่งชี้ความสำเร็จ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้


งบประมาณที่จ่ายจริงตามโครงการ ได้รับงบประมาณ 36,500 บาท ใช้จริง 36,500 บาท ปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงาน 1. ผู้เรียนบางส่วนขาดความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคิดของเทคนิคการคิดเลขเร็ว 2. ผู้เรียนขาดความตั้งใจ และสมาธิในการทำกิจกรรม โดยเฉพาะการอ่านข้อความหรือบทความที่ ค่อนข้างยาว จึงทำให้ตีความได้ไม่ถูกต้อง 3. ช่วงระยะเวลาในการจัดกิจกรรมบางกิจกรรมมีค่อนข้างจำกัด ทำให้การดำเนินการไม่เป็นตามแผน ที่กำหนดไว้ 4. เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ปีการศึกษา 2563-2564 ส่งผล ให้ผู้เรียนบางส่วนไม่สามารถเรียนรู้ได้ตามมาตราฐานที่กำหนด ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานโครงการครั้งต่อไป 1. ให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการคิดของเทคนิคการคิดเลขเร็ว ก่อนเริ่มดำเนินการฝึกทักษะ 2. ควรเสริมแรงในการทำงาน ฝึกให้ผู้เรียนทำงานด้วยความตั้งใจ มีสมาธิในการทำงานมากขึ้น


บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2545).แนวทางการพัฒนาและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. เทียนฉาย กีระนันท์. (2544). รวมบทความทางการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. เยาวดีรางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2542). การประเมินโครงการแนวคิดและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รัตนะ บัวศนธ์. (2546). การประเมินโครงการการวิจัยเชิงประเมิน. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั้นส์.


ภาคผนวก โครงการ กิจกรรม กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน แบบสรุปผลการประเมินการอ่านเสริมความรู้(ภาษาอังกฤษ) แบบสรุปผลการประเมินการอ่านเสริมความรู้(ภาษาไทย) กิจกรรมนานางานเขียน แบบสรุปคะแนนเขียนตามคำบอก แบบสรุปผลการประเมินการเขียนบรรยายภาพ แบบสรุปผลการประเมินคำประพันธ์ แบบสรุปผลการประเมินประโยคปริศนา แบบสรุปผลการประเมินการเขียน (Dictation กิจกรรมพาที สร้างสรรค์ แบบสรุปผลการประเมินการพูด แบบสรุปผลการประเมินการพูด (Information speech) กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ แบบสรุปผลการประเมินการพูด แบบสรุปผลการประเมินการพูด (Information speech)


Click to View FlipBook Version